Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore japan education complete

japan education complete

Published by yingja96, 2020-03-27 03:58:34

Description: japan education complete

Keywords: edu

Search

Read the Text Version

การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ประเทศญี่ปุน

ระบบการศึกษาและการบริหารทางการศึกษา เสริมสรางความใฝรู ความมวี ฒั นธรรม รจู ักแสวงหา พฒั นาความสามารถทุกดา น ใหเ หน็ คณุ คาของคนแตละคน ปลูกฝง ความคดิ ความจรงิ มคี วามรูสกึ ไวตอส่ิงตา ง ๆ มจี ริยธรรม และมี 1. 2. ริเริ่มสรา งสรรค เสริมสรา ง ความเปน ตวั ของ สขุ ภาพแขง็ แรงสมบูรณ ตวั เองและความสามารถพง่ึ ตนเอง เสริมสรางคานยิ มเร่อื งความยุตธิ รรม 4. เสรมิ สรางความรกั ชีวิต การเอา ความรับผดิ ชอบ ความเสมอภาค ระหวางเพศ ใจใสธรรมชาติ และการคมุ ครอง 5. สิ่งแวดลอม 3.ชายหญิง ความเคารพและรว มมอื กนั มงุ ม่ัน เสรมิ สรางความ เคารพรักประเพณวี ัฒนธรรม ทาํ งานและมจี ติ สาธารณะ เพอื่ สรา งสรรคแ ละ ญ่ปี ุน รักชาตแิ ละถ่ินกาํ เนิด เคารพประเพณี วัฒนธรรม พัฒนาสังคม ของประเทศอนื่ ๆ

จุดมุงหมายของการศกึ ษาประเทศญป่ี นุ 1) เพอ่ื พัฒนาคนใหม คี วามเฉลยี วฉลาด มีคุณธรรม และมสี ุขภาพ กายสขุ ภาพจติ ทแี่ ขง็ แรงอยางสมดลุ สามารถ พ่งึ ตนเอง และรจู กั แสวงหาสัจการแหงตนไดต ลอดชีวิต 2) เพอ่ื พัฒนา พลเมืองทเี่ คารพและรบั ผดิ ชอบตอหนา ท่ที างสงั คม และมจี ิตอาสาทจี่ ะ รว มสรา งสรรคส ังคมและประเทศชาติ 3) เพื่อพฒั นาคนญป่ี นุ ทม่ี สี ว น รวมในสังคมนานาชาติ มีความ เคารพ รกั ประเพณี และวฒั นธรรมญีป่ นุ เชน เดยี วกบั ประเพณี และวัฒนธรรมของประเทศอ่ืน ๆ

1ระดบั การศกึ ษาในประเทศญ่ปี ุน ระดับอนุบาล 2 (Yochien) ระดับประถม 3 (shogakkou) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน 4 ( chugakkou) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 5 (koutougakkou) ระดับมหาวิทยาลยั

ระบบการบริหารการศึกษา สว นทองถน่ิ สว นกลาง ระดบั จงั หวัด ระดับเทศบาล

1. ระบบบรหิ ารการศึกษาโดยสว นกลาง กระทรวงการศกึ ษา วัฒนธรรม 1) ดา นการบรหิ ารการศึกษาโดยภาพรวม กฬี า 2) ดานการศึกษาในระบบโรงเรยี นวางแผน สง เสริม และใหค าํ แนะนาํ ปรกึ ษา 3) ดานการบรหิ าร การศกึ ษาในระดบั ทอ งถนิ่ วทิ ยาศาสตร 4) ดานการบรหิ ารการศึกษานานาชาตกิ ารแลกเปล่ยี นการศกึ ษา เทคโนโลยี ระหวางประเทศ 5) ดา นการจดั องคก ารภายในของกระทรวงการศกึ ษาฯ (Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology (MEXT)

2. ระบบบริหารการศึกษาโดยสว นทองถนิ่ (1) ในระดับจงั หวัดมีผวู าราชการและคณะกรรมการการศึกษา บทบาทและอาํ นาจหนาที่ จงั หวดั เปน ผรู บั ผดิ ชอบการบริหารการศึกษา 1. บริหารโรงเรียนในสังกัด ในเร่ืองการจัดตั้ง ดูแล และยุบเลิกโรงเรียน (2) ระดบั เทศบาลมีนายกเทศมนตรี และ ตลอดจนดูแลสถาบันอืน่ ๆ ทางการศกึ ษา เชน พิพิธภณั ฑ หองสมุด คณะกรรมการการศึกษาเทศบาลรบั ผดิ ชอบ 2. จัดทํา และทบทวนหลักสตู ร ใหส อดคลองกบั Course of Study ทกี่ ําหนด โดยกระทรวง เลอื กตาํ ราเรยี นที่จะใชในโรงเรียนกาํ หนดขนาดชัน้ เรียน และกระบวนการรับเขา เรยี น 3. จดั ใหมกี ารฝกอบรมประจํา การของครูและบคุ ลากรอ่นื ๆ 4. จดั และสง เสริมการศึกษานอกโรงเรียน พลศกึ ษาและกฬี า 5. สงเสรมิ และพิทักษรักษาสมบตั ิทางวัฒนธรรม

งบประมาณ รฐั บาลกลาง จงั หวดั และเทศบาล ผเู รียนและผูป กครอง ตามกฎหมาย The School Education Law หนว ยงานทเี่ ปนผูจ ัดต้งั โรงเรียนจะตอ งรบั ผิดชอบคา ใชจ า ยเพ่อื การศึกษาของโรงเรียน น้นั ๆ ฉะนน้ั ทองถน่ิ ซง่ึ มีรายไดจ ากการจดั เก็บภาษีภายในทองถิน่ จะตอ งรบั ผดิ ชอบคา ใชจา ยของสถานศกึ ษาทีอ่ ยู ในสังกัด แตใ นสภาพ ความเปน จรงิ จะมีความแตกตา งกันใน 3 มิติคอื ปญ หา การแกไ ข 1. ความแตกตางในแนวต้ังระหวางระดับชาติและระดบั 1. เงนิ อุดหนุนจากรฐั บาลกลางใหกับรฐั บาลทองถิ่น (National ทองถิ่น ในลักษณะทท่ี องถ่ินมีงบประมาณไมเพยี งพอเมอื่ เทียบกับ Subsidies) สวนกลาง 2. เงินชวยชดเชยภาษที องถิน่ (Local Allocation Tax Grant) จากรฐั บาลกลางใหกบั รฐั บาลทอ งถนิ่ 2. ความแตกตางในแนวราบระหวา งทอ งถ่ินดว ยกัน เน่อื งจาก 3. เงนิ อุดหนุนโรงเรียนเอกชน จากรฐั บาลกลางใหกับรฐั บาลทอ งถิน่ ความสามารถทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมระหวางแตละ และโรงเรียนเอกชน ทองถน่ิ ไมเทากัน 3. ความแตกตา งระหวา งโรงเรยี นของรฐั กบั โรงเรียนเอกชน

มาตรฐานการศึกษาของชาติ

มาตรฐานการเรยี นรกู ารศึกษาภาคบังคบั ประเทศญป่ี นุ ใหความสาํ คญั กบั มาตรฐานการเรยี นรูข องการศกึ ษา ภาคบงั คับมาตลอดเพราะ ตระหนกั วา เปน การศึกษาสําหรบั ปวงชน พอ แม ตอ งสงลูกเขา เรยี นเม่ือถงึ เกณฑท่ีกฎหมายบงั คับและหลัง สงครามโลก ครง้ั ทสี่ องจนปจ จุบนั การศกึ ษาภาคบังคบั เปน สิทธขิ นั้ พ้ืนฐานของ ประชาชนตามรัฐธรรมนญู หลักสตู รแกนกลาง (Course of Study) ของ ประเทศญ่ีปนุ ฉบับป ค.ศ.2008 แสดงวา มกี ารกําหนด มาตรฐานไวใ น หลักสูตรหลายรปู แบบ เม่ือพิจารณาหลักสูตรประถมศึกษาและมธั ยมศกึ ษา ตอนตน พบวา มี รายละเอยี ดที่สะทอนมาตรฐานการศึกษาของชาติ สําหรบั การศกึ ษาภาคบงั คบั ดังนี้

1) วิสยั ทศั น คือ มุงความสมบรู ณทุกดา นของแตล ะบคุ คล มคี วามรู คคู ณุ ธรรม และมี สุขภาพแขง็ แรง ดํารงชวี ติ อยา งเปนสขุ ในสงั คมประชาธปิ ไตย ท่ีมี สนั ตภิ าพ คอื ความยตุ ิธรรมและรับผดิ ชอบ ความเสมอภาคระหวา งชายหญิง รักบา นเกดิ 2) คานิยมทพี่ งึ ประสงค รว มมอื กับชุมชน มีจติ สาธารณะ รักชีวิต รกั ธรรมชาติอนรุ กั ษส ่งิ แวดลอมเคารพ ประเพณีดั้งเดมิ รกั ชาตแิ ละ ถ่ินเกิด ยอมรับประเทศอื่น อาสาสรางสันติภาพและความ เจริญใหสงั คม โลก 3) สมรรถนะหลัก คือ มีความรกู วา งขวาง พึ่งตนเองไดและสามารถ พัฒนาตนเอง มีสวนรวมสรา งสรรคช ุมชน มี สมรรถนะพนื้ ฐานในการแสวงหา ความรู มีความถนัดเฉพาะทาง มีความสามารถในการตดั สินใจ ใฝร ใู ฝเรียน มีสขุ ภาพดที ้งั ใจและกายมีความสามารถในการดแู ลตนเอง

โครงสรา งหลักสูตรและโครงสรา งเวลาเรียน ระดับประถมศึกษา ภาษาญ่ีปุน เลขคณติ สังคมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร การดาํ รงชีวติ ดนตรี วาดเขียนและงานประดิษฐ คหกรรม สุขศึกษาและพลศกึ ษา และไมใ ชรายวิชา (non-subjects) ไดแก กจิ กรรม พิเศษจริยธรรม - ศกึ ษา และชวั่ โมงการเรียนรูแบบบรู ณาการ ใชเ วลาเรยี นโดยรวม ดังนี้ ประถม 1 = 850 คาบ กจิ กรรมพิเศษ ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนตน ใหจดั ปละ 35 คาบ ประถม 2 = 910 คาบ ประถม 3 = 945 คาบ ประกอบดว ย กิจกรรมชั้นเรียน กจิ กรรม สภานักเรยี น กจิ กรรมชมรม (เฉพาะ ป.4-5) ประถม 4 = 980 คาบ กิจกรรม/งาน/โครงการของ โรงเรยี น (School Events) ซ่งึ มี 5 ลกั ษณะ คือ ประถม 5 = 980 คาบ 1) งานพิธกี าร 2) งานวฒั นธรรม 3) งานเสรมิ สขุ ภาพ ความปลอดภัย และการกีฬา และประถม 6 = 980 คาบ 4) การเดิน ทางไกลและเขา คายพกั แรม 5) งานผลติ และบริการ ตามลาํ ดบั คาบละ 45 นาที

มาตรฐานการเรยี นรูร ายวชิ าในระดับประถมศกึ ษา และมัธยมศึกษาตอนตน กาํ หนดจุดมงุ หมาย 6 ประการ ไดแก 1) พัฒนา ความสามารถในการแสดงความคดิ และการเขาใจ วิชาภาษาญปี่ ุน ความคดิ ของผอู ื่นอยา ง ละเอียดโดยใชภ าษาญี่ปุน วชิ าสังคมศกึ ษา วิชาคณิตศาสตร 2) พัฒนาความสามารถในการสื่อสาร 3) พฒั นา ความสามารถในการคิดและจินตนาการ 4) ปรบั ปรงุ ความรูสึกดา นภาษา 5) เพ่ิมความสนใจภาษาญีป่ นุ ใหล ึกซ้งึ มากข้นึ 6) ปลกู ฝงใหเคารพภาษา ญ่ปี นุ เนอ้ื หามี 3 ดาน คือ ดานการพูดและฟง ดานการเขียน ระดบั ประถมศึกษา เรียน 1,461 คาบ ระดบั มัธยมตอนตน เรยี น 385 คาบ มีจุดมุง หมายเพือ่ ใหเ ขา ใจชีวิตสังคมญี่ปุน และโลก เปน พลเมืองดี เปนประชาชนทีส่ รา งประเทศและสงั คม ที่มีสนั ตภิ าพและ เปน ประชาธิปไตย ใชเ วลาเรยี น ระดับประถมศึกษา 375 คาบ สว นในระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน เรยี นปละ 105 มีจดุ มุงหมายเพือ่ ใหม ีความรูความเขา ใจและ มเี จตคตทิ ดี่ ีดา นคณิตศาสตรส ามารถใชประโยชนจาก คณติ ศาสตร ท้ังในชวี ติ ประจําวนั การคดิ และการตัดสินใจ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ 1 ไมนอ ยกวา 136 คาบ ประถมศึกษาปท ่ี 2-6 ปละ 175 คาบ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 1, 2, 3 ปล ะ 140, 105 และ 140 คาบ ตามลาํ ดับ รวมเวลาเรยี นเลขคณิต/คณติ ศาสตร ในการศกึ ษาภาค บังคับ อยางนอ ย 1,396 คาบ

มาตรฐานการเรียนรรู ายวิชาในระดบั ประถมศึกษา และมธั ยมศึกษาตอนตน วิชาวิทยาศาสตร มจี ุดมุงหมายเพอ่ื ใหผูเรียนเกดิ ความใกลช ดิ ธรรมชาติ รจู ักสงั เกตธรรมชาติ มีความสามารถในการ วิชาการดํารงชวี ติ แกปญหา มีวิธีคิดสงั เกตและ ทดลองอยา งเปนวทิ ยศาสตร ในชนั้ ประถมศึกษาปที่ 3, 4, 5 และ 6 คือ 90, 105, 105 และ 105 คาบ ตามลําดับและ ในชั้น มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1, 2, 3 ปละ 105, 140 และ 140 คาบ ตามลําดับ รวมเวลาเรยี นวชิ าวทิ ยาศาสตร ใน หลกั สูตรการศึกษาภาคบังคบั อยางนอ ย 790 คาบ เพื่อพฒั นาคณุ ลักษณะ ทีพ่ ึงประสงค คอื ความคิดและการกระทาํ ที่ไมแ ยกกันของเดก็ ช่ือวชิ านี้ ใน ภาษาญปี่ นุ คือ Seikatsu แปลวา “ชวี ิต” ชอ่ื ภาษาองั กฤษ คอื Life Environment เร่ิมทดลองนาํ เขา มาในหลักสตู รเม่ือป พ.ศ. 2532 และ เริม่ สอนวิชานมี้ าตัง้ แตปรับปรุงหลักสูตรเมื่อป พ.ศ. 2535 มีมาตรฐานเวลาเรียน 207 คาบ ใหเ รียนในช้ันประถมศึกษาปท ่ี 1 และ 2 จํานวน 102 และ 105 คาบ วิชาดนตรี มจี ุดมงุ หมายเพ่ือใหม ีสุนทรียภาพ รกั ดนตรี ยอมรบั วา การเรยี นรดู นตรีเปน ส่ิงท่ีควรจะทําตลอดชีวติ เขาใจวฒั นธรรมของดนตรี และใหเ นน ดนตรีแบบดัง้ เดิมของญ่ปี ุนและของชนชาตติ า ง ๆ มากขน้ึ เรยี นวิชาดนตรี รวม 358 คาบ ปล ะ 68, 70, 60, 60, 50 และ 50 คาบ ตามลําดบั สว นระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนตน ใหเรยี นรวม 105 คาบ ปล ะ 45, 35 และ 35 คาบ ตามลาํ ดบั

มาตรฐานการเรียนรรู ายวชิ าในระดับประถมศึกษา และมธั ยมศกึ ษาตอนตน วิชาสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา วชิ าสขุ ศึกษามงุ ใหเขาใจความสําคัญของชีวิต ทมี่ สี ุขภาพ วธิ ใี ชช ีวติ ที่มสี ุขภาพ พัฒนาการของรา งกาย วชิ าภาษาตางประเทศ การปอ งกันไมใ ห เกิ ดบาดแผล การรักษาแผล วิธีดแู ลตนเองเมอ่ื กงั วลและเครียด การปองกั นโรคในมี มาตรฐานดา นเวลาเรียนในชน้ั ประถม ศกึ ษาปท่ี 1-6 คือ 102, 105, 105, 105, 90 และ 90 คาบ ตามลําดับ และในชนั้ มัธยมศึกษาตอนตน คือ ปล ะ 105 คาบ รวมเวลาเรยี นในภาค บงั คับ อยางนอย 902 คาบ เพ่อื พัฒนาความสามารถในการส่ือสารดวยภาษา ตางประเทศ (ภาษาองั กฤษ) คือ ฟง พูด อาน และ เขียน และเพอื่ เพม่ิ พูน ความเขา ใจภาษาและวัฒนธรรมของเจาของภาษา เสริมสรา งเจตคตทิ ่ีดี ตอการ ใชภ าษาตา งประเทศในการสอื่ สาร ระดับประถมศกึ ษาทาํ กจิ กรรมภาษาตางประเทศ ปละ 35 คาบ รวม 70 คาบ ในประถมศกึ ษาปที่ 5-6 ช้ัน มธั ยมศึกษาตอนตน ใหเรียน ปล ะ 140 คาบ รวม 420 คาบ

ระดบั มัธยมปลาย การศึกษาในระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายเปนภาคการศกึ ษาไมบงั คับในประเทศญ่ปี ุน แตอ ยา งไรก็ตามรอ ยละ 94 ของ ผูเรียนทจี่ บการศึกษาในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน จะเขาเรียนตอ โดยการเรยี นในระดบั นน้ี ้นั จะตอ งมกี ารสอบเขา เชน เดยี วกบั การสอบเขา มหาวิทยาลัยในประเทศตาง ๆ และนักเรยี นท่จี บจากโรงเรยี นบางโรงเรียนจะสามารถเขามหาวิทยาลัยระดับประเทศได โดยตรง อาทเิ ชน University of Tokyo แตสําหรับนกั เรยี นที่ไมอ ยากเรยี นตอ ระดบั มหาวทิ ยาลัยสวนใหญก ็จะเขา วิทยาลยั เทคนิคเชน เดียวกับระบบการศึกษาในประเทศไทย

มาตรฐานสาํ หรับการวัดและประเมินผลการจัดการศึกษา โยคุโอะ มุระตะ ไดอ ธบิ ายวา ประเทศ ญ่ปี ุนรกั ษามาตรฐานการศึกษาโดยมีระบบประเมินหลายระดบั คอื 1) การประเมนิ โรงเรยี น (School evaluation) เปนการตรวจสอบ ตนเองแบบ Selfinspection และ Self-evaluation ของโรงเรียน เพ่ือ ประเมินการบรรลผุ ลสมั ฤทธทิ์ างการ เรยี นของนักเรยี นและประสิทธผิ ล ของการบริหารจดั การโรงเรยี น 2) การประเมนิ ครู (Teacher evaluation) เปนการประเมินความ สาํ เร็จของครูในการจดั กิจกรรมทางการศึกษา รวมทงั้ คณุ สมบัติและความ สามารถของครู 3) การประเมินหลกั สตู ร (Curriculum evaluation) เปน การ ประเมินหลักสตู รหลกั สูตรสถานศกึ ษา และการวางแผนการเรยี นการสอน ประจําป 4) การประเมินชน้ั เรยี น (Class evaluation) เปนการศึกษาและ ประเมนิ โดยสังเกตการจัดการเรยี นการสอนในชน้ั เรยี น นยิ มใชเ ทคนคิ ทเ่ี รยี กวา “การศกึ ษาช้นั เรยี น” (Lesson Study) ซง่ึ ในภาษาญ่ีปุน เรยี กวา JukyouKenkyuu 5) การประเมินการแนะแนวนักเรยี น (Student Guidance evaluation) เปน การประเมนิ สภาพชวี ติ นักเรียนและผลสมั ฤทธข์ิ องการแนะแนวขอ มลู จากการประเมินน้ี ตองเก็บไวไ มน อยกวา 5 ป 6) การประเมนิ สภาพการเรยี นรแู ละความสามารถทางวิชาการ (Evaluation of learning situation and scholastic ability) เปน การ ประเมินสภาพการเรียนรแู ละความสามารถทางวิชาการของนกั เรยี น ซง่ึ เม่อื ประเมินแลว จะตอ งรักษาขอมลู ไวไมน อ ยกวา 20 ป การประเมนิ ความสามารถทางวิชาการเพอ่ื ตัดสินผลการเรยี นมีทงั้ แบบอิงเกณฑ การตัดเกรด การบนั ทกึ ผลกิจกรรมในช่ัวโมงการเรียนรู แบบบูรณาการ กจิ กรรมพเิ ศษ จริยธรรมและพฤติกรรมทั่วไป โดยประเมนิ พฤติกรรมการเรียนรตู ามแนวคิด Bloom’s Taxonomy

มาตรฐานตําราเรยี น ตาํ ราเรียนเปน แนวการจัดกจิ กรรมการเรยี นรสู ําหรับครู ชวยทาํ ใหมาตรฐานคุณภาพการศึกษาในญปี่ นุ ใกลเคียงกันมาก โดยเฉพาะในระดับ การศกึ ษาภาคบงั คับ เนอ่ื งจากมกี ารเปด โอกาสใหเ อกชนจดั ทําตาํ ราเรยี น โดย การอนมุ ัติของสภา ช่อื วา The Council for Textbook Approval and Research เนอื้ หาของตาํ ราเรียนเนน การปฏิบตั มิ ากกวา ทฤษฎี แตล ะ โรงเรียนมีอิสระในการบริหารจดั การหลกั สูตรและเลอื กตาํ ราเรยี น ซ่งึ เด็ก ทุกคน ไดร บั การแจกฟรใี นภาคบงั คับ ท้ังในโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียน เอกชน

การทดสอบความรูคณิตศาสตรและภาษาญี่ปนุ ระดบั ชาติ ขอ มลู จาก Center on International Benchmarking. Learning from the World’s High Performing Education Systems แสดงวา ประเทศญ่ีปนุ ลงทุนเพ่อื การศกึ ษาในระบบโรงเรยี น นอยกวาประเทศอื่น ๆ อีกหลายประเทศ แตไดผลดกี วา ตําราเรียนของ ญี่ปนุ เลม ไมใหญแ ตใชรูปแบบทง่ี ายมากและไมแ พง อาคารเรียนไมหรหู รา แตใ ชประโยชนไดดี มาก การบริหารโรงเรียนไมสน้ิ เปลอื ง ไมมโี รงอาหาร นกั เรยี นเสริ ฟอาหารกนั เอง ทําความสะอาดชั้นเรยี นเองนักเรียนทเี่ กง กวา จะชว ยสอนเพอ่ื นที่เรยี นออ นกวา และตั้งแตเดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ.2547 มีแผนพัฒนาการศกึ ษา ตามนโยบาย “Japan Rise Again” ตามดวยการ พฒั นาระบบประเมนิ ความสามารถทางวิชาการระดับชาติ ดานคณิตศาสตร และภาษาญี่ปุนซ่ึง เร่ิมดาํ เนินการนํารองในปพ.ศ. 2551-2552 ในชั้นประถม ศกึ ษาปที่ 6 และมธั ยมศึกษาปท ี่ 3

การสอบมาตรฐานโดยสว นกลางเพือ่ รบั เขามหาวทิ ยาลยั นกั เรยี นทจ่ี บมธั ยมศึกษาตอนตน ซึง่ เปนการศึกษาภาคบงั คบั จะเขา เรยี นตอมัธยมศึกษาตอนปลายโดยการ สอบแขงขนั หรือสอบคัดเลือก ท่จี ัดสอบโดยโรงเรยี นนนั้ ๆ แตเมื่อจะเขา เรียนตอ มหาวทิ ยาลัยจะมีศนู ย การสอบ ระดบั ชาติ ช่อื The National Center Test for University Admission ชือ่ ยอ ในภาษาญปี่ ุน คอื Daigaku Nyuushi Sentaa Shiken เพื่อนาํ ผลการสอบไปสมัครเขาเรียนตอมหาวทิ ยาลยั ของรัฐหรือของเอกชน บางแหง สถิติเมอ่ื ป พ.ศ. 2557 แสดงวา มศี ูนยสอบทวั่ ประเทศ 693

มาตรฐานคณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร การอา นและเขียน เทยี บกับนานาชาติ ฉนั ทนา จันทรบรรจง (2554) ไดวิเคราะหจดุ เนนหลักสูตรของญ่ีปุน และประเมินความสาํ เรจ็ ทางการศกึ ษา พบวา ญี่ปนุ อยใู น กลุมประเทศที่ มีคะแนนสงู สุดดานวทิ ยาศาสตรแ ละคณิตศาสตร เมอ่ื เปรียบเทยี บโดย ขอสอบวัดแนวโนม การศึกษาคณติ ศาสตร และวิทยาศาสตร (TIMSS) ของ International Education Assessment (IEA) และการวัดความรู ความสามารถทางวชิ าการ โดยโปรแกรมการประเมนิ นกั เรยี นของนานา ประเทศ ของกลุม ประเทศที่พฒั นาแลว (PISA) สวนดา นการอา น เดก็ ญปี่ ุน มีคะแนน ตา่ํ กวาคาเฉลีย่ ของกลุมประเทศ OECD เล็กนอย ทัง้ น้ี เดก็ ญ่ีปุน ใชเวลาเรยี นในโรงเรยี นนอ ยกวาเดก็ ในอังกฤษ ฝร่งั เศส และ เยอรมนั แตใกลเคยี งกับเวลาเรียนของเดก็ ในเกาหลใี ตแ ละฟนแลนด

การประกันการศึกษาประเทศญป่ี นุ ซจากการศึกษาพบวา ระบบการจัดการศกึ ษาของประเทศญ่ปี ุน แบงได ๓ ระดบั ไดแก ระดับท่ี ๑ คอื การศึกษาปฐมวยั ประถมศึกษา และมธั ยมศึกษา ซ่งึ ไดก าํ หนดใหสถานศกึ ษาทกุ แหง ตองจัดทํารายงานประเมินตนเองเสนอตอ กระทรวง การศึกษา วฒั นธรรม กีฬา วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี (Ministry of Education,Culture, Sports, Science and Technology หรือ MEXT) โดยพิจารณาจาก เอกสารรายงานของสถานศกึ ษา และการเขา ตรวจประเมินเพ่ือยืนยนั ผลการประเมนิ ตนเอง

จัดทําโดย 1.นางสาวสุภัทรา ขุนแสน 61131114061 2. นางสาวอญั ธิกา สุวรรณคาม 61131114062 3. นางสาวจฑุ าทิพย ขนั แกว 61131114063 4. นางสาวบัวชมภู บุตรศรี 61131114063 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทา คณะครศุ าสตร สาขาเทคโนโลยีการศกึ ษาและคอมพวิ เตอร

อา งอิง https://www.educatepark.com https://www.parentsone.com/10-things-make-japan-education-good/ http://www.thaitribune.org/contents/detail/305?content_id=22734&rand=1510227480 https://www.slideshare.net/goodee015/ss-14041411 https://www.scribd.com/document/ https://th.wikipedia.org/wiki https://www.facebook.com/misterjapan/ จุลสาร.สมศ ฉบับท่ีฉบบั ที่ ๑ >> ตลุ าคม - พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา นท.หญงิ ประจร สุนทรวิภาต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook