Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore water!

water!

Published by saritchitakk, 2022-01-25 11:09:38

Description: water e-book

Search

Read the Text Version

water สารเคมีในสิ่ งมีชีวิต



CONTENTS 1 โครงสร้างโมเลกุลของน้ำ (structure of water) 2 ประเภทของน้ำ Water is one of the most important (types of water) factors for the survival of all living things! 3 ส ม บั ติ ข อ ง น้ำ (properties of water) 4 ความสำคัญของน้ำต่อสิ่ งมีชี วิต (the importance of water to living organisms) - มนุ ษย์ (humans) - พืช (plants)

H-bond ภายในโมเลกุล อะตอมจะยึดเหนี่ ยวกันด้วย covelent bond พันธะโคเวเลนต์ น้ำประกอบด้ วย ออกซิเจน (ขั้วลบ) 1 อะตอม and ไฮโดรเจน (ขั้วบวก) 2 อะตอม น้ำ 1 โมเลกุลสามารถสร้าง พันธะไฮโดรเจนกับ น้ำโมเลกุลอื่นได้ถึง 4 โมเลกุล

ประเภทของน้ำ น้ำฝน น้ าใต้ดิน น้ำ ผิ ว พื้ น / น้ำ ท่ า น้ำที่ เกิ ดจาก น้ำใต้ดิน เกิดจากน้ำฝน/หิมะ/น้ำ น้ำที่ เกิ ดจากน้ำฝนและขั ง การกลั่นตัวของไอน้ำ แข็ง/น้ำที่อยู่บนดินซึ มลงไปในดิน อยู่ตามผิวดิน ห้วย หนอง และตามช่ องว่ างระหว่ างชั้ นหิ น น้ำในดิ นมี ระดั บไม่ ลึ ก คลอง บึง น้ำในแม่น้ำ หรือตามที่ อื่ นๆ น้ำในชั้ นดิน(น้ำบาดาล) เกิดจากน้ำ ฝนและน้ำบนดินซึ มลึกลงไปตามชั้น หินประเภทต่างๆ พบมากในแอ่งที่ ลุ่มที่มีแนวชั้นหินทรายต่อเนื่ องไปถึง น้ำใต้ดิน น้ำบาดาล

ส ม บั ติ ข อ ง น้ำ (properties of water) 1 23 แรงโคฮี ชั น H2O +H+ OH- แรงแอดฮี ชั น การมีขั้ว แรงโคฮี ชัน แอดฮี ชัน ความเป็ นกรดและเบส น้ำนั้ นมีโครงสร้างโมเลกุลคือ การลำเลียงน้ำในพืชนั้ นต้อง น้ำมีคุณสมบัติกรดและเบส H และ O ซึ่ งเชื่อมกันด้วย อาศั ยแรงเหล่านี้ ลำเลียง โดย ในตั วเดี ยวกั น พันธะโคเวเลนต์ แรงโคฮี ชัน : แรงยึดเหนี่ ยว เนื่ องจากหากแตกโมเลกุลน้ำจะได้ โดย O นั้ นมีค่า EN. ที่สู งกว่า พันธะ H ระหว่างโมเลกุลของน้ำ ไอออน H+ ที่เป็ นกรด และสามารถดึง e- จาก H ได้ แรงแอดฮี ชัน : แรงยึดเหนี่ ยว และ OH- เป็ นเบส ทำให้ได้ O- และ H+ โมเลกุลน้ำกับพื้นผิว โมเลกุลน้ำมีขั้ว

ส ม บั ติ ข อ ง น้ำ 6 (properties of water) 45 Hydrophilic head Hydrophobic tails การทำให้น้ำ 1 กรัม มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส จะต้องใช้พลังงานความร้อน 4.184 จูล/1แคลอรี สารไฮโดรโฟบิก การดูดพลังงานความร้อน การเป็ นตัวทำละลาย สารไฮโดรฟิ ลิก เนื่ องจากระหว่างโมเลกุลมี เนื่ องจากการเกิดพันธะ H – Bond สารไฮโดรฟิ ลิก H–Bond ยึดเหนี่ ยว และสมบัติการมีขั้วของน้ำ ละลายในน้ำได้ ดี มีขั้ว การทำลายพันธะระหว่างโมเลกุล --> น้ำสามารถละลายสารมีขั้วได้ดี แตกเป็ น Ion ได้ดี และเป็ นตัวทำละลายที่ดี จึงต้องใช้ สารไฮโดรโฟบิก ความร้อนที่สู ง(เทียบกับสารอื่น) ละลายน้ำไม่ ได้ ดี หรือไม่ ได้ เลย -->ความจุความร้อนจำเพาะสู ง ไม่มีขั้ว แตกเป็ น Ion ไม่ได้

ความสำคัญของน้ำต่อสิ่ งมีชี วิต HUMANS 1 เป็ นส่วนประกอบที่มีมากที่สุดในร่างกาย มีอยู่ 2 ใน 3 ของน้ำหนั กตัว 2 ช่วยควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ 3 เป็ นสารที่ช่วยให้กระบวนการทางเคมีในร่างกาย ดำเนิ นไปอย่างต่อเนื่ อง เช่น การย่อยอาหาร 4 ช่วยในการลำเลียงสารต่างๆ ในร่างกาย เช่น การไหลเวียนของเลือด 5 ช่วยหล่อลื่นให้อวัยวะต่าง ๆ มีการเคลื่อนไหวได้ดี และทำงานได้ตามปกติ เช่น น้ำในข้อต่อ

ความสำคัญของน้ำต่อสิ่ งมีชี วิต PLANTS 1 เป็ นโมเลกุลที่มีมากที่สุดภายในต้นพืช 2 การเกิดปฏิกิริยาต่าง ๆ ต้องอาศั ยน้ำ (85-90% ของพืช) 4 ควบคุมอุณหภูมิให้คงที่ 3 เป็ นส่วนประกอบของเมล็ดแห้งและ เนื่ องจากความสามารถรับความร้อน สปอร์ประมาณ 10% 5 เป็ นตัวทำละลายสำหรับสารต่าง ๆ 6 เป็ นตัวพยุงให้พืชตั้งตัวอยู่ได้ เพื่อทำให้เกิดปฏิกิริยากันได้ 7 เป็ นแหล่งของก๊าซออกซิเจนและไฮโดรเจน 8 เป็ นแหล่งที่ใช้ในการผลิต ATP จากกระบวนการสั งเคราะห์ แสง - O2 จะถูกนำไปใช้ในการหายใจ - H2 ก็ถูกนำไปใช้ในการสังเคราะห์แสง

member ฉัตรรพี สุวรรณเจริญ เลขที่ 5 ดวงกมล นาวิบูลวงศ์ เลขที่ 9 นวภัทร เสนาคำ เลขที่ 15 ปฏิภาณ ลอยขามป้ อม เลขที่ 16 พรชนก อนุกูลประเสริฐ เลขที่ 24 ภานุกร เหลืองมงคลเลิศ เลขที่ 28 สาริชฌิตา ปทุมนากุล เลขที่ 34 มัธยมศึ กษาปี ที่ 4/2


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook