Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กันสมองเสื่อม

กันสมองเสื่อม

Published by Chalermkiat Deesom, 2020-04-23 01:51:09

Description: กันสมองเสื่อม

Search

Read the Text Version

กนั สมอง เสอ่ื ม ?

รา่ งกายเมอื่ ถกู ใชง้ านเปน็ ระยะเวลานาน ย่อมต้องมีการเส่ือมสภาพลงเป็นเรื่อง ปกติ เช่นเดียวกับการท�ำงานของสมอง ทอ่ี าจมกี ารเสอ่ื มลงตามอายทุ เ่ี พมิ่ มากขน้ึ หลายคนจึงคิดว่าเป็นเรื่องธรรมดาท่ี คนชราจะขห้ี ลงขล้ี มื ซง่ึ เปน็ ความเชอ่ื ทผี่ ดิ ความจริงแล้วไม่ใช่ผู้สูงอายุทุกคนต้อง เปน็ ภาวะสมองเสอ่ื ม เพราะสมองไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเสอ่ื มสภาพตามอายุ หากเรามกี ารดแู ล และบรหิ ารสมองอยา่ งสม�่ำเสมอ

CHECK! คุณมภี าวะสมองเสอื่ มหรอื เปลา่ คนทมี่ ภี าวะสมองเสอ่ื มจะมอี าการเดน่ ทส่ี งั เกตไดช้ ดั คอื อาการหลงลมื งา่ ย เช่น จ�ำสิ่งทเี่ พิ่งท�ำไปไมไ่ ด้ จึงมกั ถูกมองว่ามภี าวะสมองเส่อื ม แตแ่ ทจ้ ริงแลว้ อาจเป็นอาการหลงลืมธรรมดาในชีวิตประจ�ำวันที่เกิดข้ึนได้จากการขาดสมาธิ ความเครยี ด การทานยาหลายขนานพรอ้ มกนั อาการของโรคตอ่ มไทรอยดห์ รอื การไดร้ บั อบุ ตั เิ หตกุ ระทบกระเทอื น เปน็ ตน้ ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ อาการคลา้ ยสมองเสอ่ื ม

แลว้ ต้องมอี าการอย่างไรบ้าง จงึ เขา้ ข่าย ภาวะสมองเสื่อม? จดจำ� สิ่งทีเ่ พิ่งเกดิ ข้ึนไมไ่ ด้ เชน่ การพูดเรือ่ งเดิมซ้ำ� ๆ ภายในเวลาทห่ี ่างกนั ไมม่ าก หรอื ทานขา้ วแลว้ แตจ่ ำ� ไมไ่ ดว้ า่ ทานแลว้ ไปขา้ งนอกมาแลว้ แตจ่ ำ� ไมไ่ ดว้ า่ ไป มาแล้ว เป็นตน้ ทำ� กจิ วัตรประจำ� วนั ทคี่ นุ้ เคยไดไ้ มค่ ลอ่ งเหมือนเดิม มีปัญหาในการใช้ภาษา เช่น ลมื คำ� ศัพท์ง่ายๆ หรอื ใชศ้ พั ทผ์ ดิ ความหมาย เป็นต้น สบั สนวัน เวลา และสถานท่ี มกี ารตดั สนิ ใจทไ่ี มเ่ หมาะสม เชน่ เปดิ พดั ลมแรงทงั้ ทอ่ี ากาศเยน็ มาก เปน็ ตน้ มปี ญั หาเกยี่ วกับความคิดรวบยอด เชน่ บวกลบคูณหารไมไ่ ดเ้ หมอื นก่อน เป็นตน้ เกบ็ ส่งิ ของผิดท่ี เชน่ เกบ็ เตารดี ในตเู้ ยน็ เปน็ ตน้ อารมณแ์ ปรปรวนง่าย บุคลกิ ภาพเปล่ยี นไปจากเดิม เชน่ หวาดระแวงง่าย เปน็ ต้น ชอบเก็บตัว ซึมเศรา้ ไมก่ ระตือรือรน้ ท่จี ะทำ� สิ่งใดๆ หรือเลอื กท่ีจะนั่งหรือ นอนทง้ั วัน

หากเรม่ิ มีภาวะสมองเสือ่ ม คณุ อยู่ในระยะใด ระยะที่ 1 ภาวะสมองเสอ่ื มระดบั เล็กนอ้ ย ผปู้ ว่ ยจะมอี าการหลงลมื โดยเฉพาะเรอื่ งทเี่ พงิ่ เกดิ ขน้ึ แตจ่ ดจำ� อดตี ไดแ้ มน่ ยำ� เริม่ มคี วามบกพร่องในการทำ� กิจกรรมตา่ งๆ และการใชช้ ีวติ ในสังคม แตส่ ามารถ อยคู่ นเดียวได้ ชว่ ยเหลอื ตนเองได้ และมีการตัดสินใจท่คี ่อนข้างดี ระยะท่ี 2 ภาวะสมองเสอ่ื มระดับปานกลาง ผปู้ ว่ ยจะมคี วามจำ� เสอื่ มลงมากขน้ึ มคี วามบกพรอ่ งในเรอ่ื งความเขา้ ใจ ความ สามารถในการเรียนรู้และแก้ปัญหา รวมถึงการตัดสินใจ เช่น ความสามารถใน การคำ� นวณ ไมส่ ามารถใชเ้ ครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ บางชนดิ ได้ ทง้ั ทเ่ี คยทำ� ไดม้ ากอ่ น ลมื ชอ่ื สมาชกิ ในครอบครวั ชว่ งทา้ ยของระยะนี้ อาจมอี าการประสาทหลอนแทรกซอ้ นขนึ้ จงึ ควรไดร้ บั การดแู ลอยา่ งใกล้ชดิ ระยะที่ 3 ภาวะสมองเสอ่ื มขัน้ รุนแรง ผปู้ ว่ ยจำ� สงิ่ ทเ่ี พงิ่ เกดิ ขนึ้ ไมไ่ ดเ้ ลยและสญู เสยี ความจำ� อยา่ งรนุ แรง จำ� ครอบครวั หรือแมแ้ ตต่ วั เองไมไ่ ดว้ า่ เป็นใคร บุคลกิ ภาพเปลยี่ นไป เคลื่อนไหวชา้ เดนิ ช้าลง และอาจเกดิ อาการแทรกซ้อนท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายถงึ ชีวติ ได้ ซงึ่ ภาวะสมองเสอื่ มเกดิ ขนึ้ ไดจ้ ากหลายสาเหตุ แตโ่ ดยปกตแิ ลว้ เซลลส์ มองจะมโี อกาสเสอื่ มลงได้ เมอื่ คนเราเริ่มมีอายุ 40 ปีขนึ้ ไป และจะมอี าการเดน่ ชดั ขึน้ ในวยั สงู อายุ 65 ปขี น้ึ ไป น่ันจงึ เป็น สาเหตุวา่ ทำ� ไมภาวะสมองเสือ่ มจึงมักเกดิ กับผสู้ ูงอายุ

สาเหตขุ องภาวะสมองเสื่อม 1. เกดิ จากการเสอื่ มสลายของสมอง เนอ่ื งจากเนอื้ สมองมกี ารเสอ่ื มสลายหรอื ตาย 2. เกิดจากหลอดเลือดสมองที่ไปเลี้ยงสมองแข็งตัวหรือมีการตีบตัวผิดปกติ สง่ ผลใหป้ รมิ าณเลอื ดทไ่ี ปเลย้ี งสมองลดลง ถา้ ลดลงในระดบั ทไี่ มเ่ พยี งพอตอ่ การใช้ งานของสมองก็จะท�ำใหเ้ นอ้ื สมองตายไป 3. เกดิ จากการตดิ เชอื้ ในสมอง ปจั จบุ นั มเี ชอ้ื ไวรสั หลายชนดิ ทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ การอกั เสบ ในสมองได้ เช่น เช้ือไวรสั HIV เปน็ ต้น 4. เกดิ จากขาดสารอาหารบางชนิด เชน่ วิตามนิ บี 1 หรอื วติ ามินบี 12 เป็นตน้ 5. เกดิ จากการเปลี่ยนแปลงของระบบเมตาบอลกิ ในร่างกาย การทำ� งานผดิ ปกติ ของต่อมไร้ท่อบางชนดิ การท�ำงานผดิ ปกตขิ องตบั และไต 6. เกดิ จากศรี ษะถกู กระเทอื นเปน็ เวลานาน ภาวะนอี้ าจเกดิ ขน้ึ ไดก้ บั นกั มวยหรอื ผู้เลน่ กีฬาทีต่ อ้ งใชศ้ ีรษะกระแทกสิ่งตา่ งๆ เป็นประจำ� 7. เกดิ จากเน้ืองอกในสมอง โดยเฉพาะเนื้องอกทีเ่ กิดขึน้ ด้านหน้าของสมอง และแม้ภาวะสมองเสื่อมจะไม่ถือว่าเป็นโรค แต่ก็เป็นสาเหตุส�ำคัญท่ีท�ำให้เกิดโรคอัลไซเมอร์ ตามมา ซง่ึ เปน็ โรคเกยี่ วกบั การเสอ่ื มของสมองในอกี รปู แบบหนง่ึ ทเี่ กดิ ขนึ้ กบั ผสู้ งู อายมุ ากถงึ ร้อยละ 60-80 และอัลไซเมอร์สามารถพบได้ในวัยกลางคนข้ึนไป รวมถึงยังเป็นโรคทาง กรรมพันธไ์ุ ดด้ ว้ ย

ภาวะสมองเส่อื ม รกั ษาได้หรือไม่ อาการภาวะสมองเส่ือมในผู้สูงวัยที่เกิดจากความเสื่อมถอยของเซลล์ สมองนนั้ ยังไมพ่ บวิธีการรักษา มเี พียงการใหย้ าเพ่ือชะลออาการเสือ่ มของ สมองไม่ให้เข้าสู่ระดับรุนแรง เช่น ยา Denepezil, Rivastigmine หรือ Galantamine แต่ยาเหล่าน้ีต้องใช้ตามแพทย์ส่ังเท่านั้น เน่ืองจากอาจมี ผลข้างเคียงตามมา จึงควรน�ำผู้ที่เข้าข่ายว่าอาจมีภาวะสมองเส่ือมไปพบ แพทยจ์ งึ เปน็ วธิ ที ด่ี ที ส่ี ุด FACT FACT อยา่ หลงเชอ่ื ผลติ ภณั ฑท์ มี่ สี รรพคณุ วา่ ปอ้ งกนั ภาวะ สมองเสื่อมซึง่ มักมรี าคาสูง เชน่ ผลิตภณั ฑจ์ ากสารสกดั ใบแปะกว๊ ย, ยาลดไขมันกลุ่ม Statin, ฮอรโ์ มนทดแทน หรือวิตามินเสริมต่างๆ ที่แท้จริงแล้วไม่มีคุณสมบัติใน การปอ้ งกนั รกั ษาภาวะสมองเสอื่ มแตอ่ ยา่ งใด แล้วบาง ชนิดยังอาจส่งผลเสยี ตอ่ สุขภาพอีกด้วย

ท�ำอย่างไร ให้ห่างไกลภาวะสมองเสื่อม ออกก�ำลงั กาย การออกกำ� ลงั กายมีสว่ นชว่ ยอย่างมากในการชะลอภาวะสมองเสื่อม และยงั เพม่ิ ประสิทธิภาพการท�ำงานของสมองด้วย ควรออกก�ำลังกายต่อเนื่องอย่างน้อย 30 นาทตี อ่ ครง้ั สัปดาห์ละ 3 ครั้ง เลอื กทานอาหารท่มี ีประโยชน์ต่อสมอง ไดแ้ ก่ ทานอาหารใหค้ รบ 5 หมู่ หลกี เลย่ี งอาหารทมี่ ไี ขมนั อมิ่ ตวั และคอเลสเตอรอลสงู ให้เนน้ รับประทานเน้ือปลา ผัก และผลไม้ อยา่ ใหร้ า่ งกายขาดวติ ามนิ โดยเฉพาะวติ ามนิ บี 1 และบี 12 ทท่ี ำ� หนา้ ทช่ี ว่ ยให้ การท�ำงานของเซลล์สมองเป็นไปอย่างปกติ โดยวิตามินบี 1 พบในข้าวซ้อมมือ เมล็ดถั่วแห้ง เครื่องในสัตว์ ตับ ไข่แดง และผักใบเขียว (ผู้ป่วยที่ขาดวิตามินบี 1 มกั เปน็ ผปู้ ว่ ยตดิ สรุ าเรอ้ื รงั ) สว่ นวติ ามนิ บี 12 พบในอาหารจากเนอื้ สตั ว์ (ผปู้ ว่ ยท่ี ขาดวติ ามนิ บี 12 มกั พบในผ้ทู ่ที านมงั สวิรัติเคร่งครัดเป็นเวลานานหลายๆ ปี หลีกเล่ียงยาหรือสารทีท่ �ำอันตรายสมอง เชน่ การด่ืมสรุ าหรือการใช้ยาโดยไมจ่ �ำเป็น เปน็ ต้น หม่ันเขา้ สงั คมหรือหากจิ กรรมท�ำ โดยเฉพาะผู้สูงอายุวยั เกษียณ แทนการจบั เจ่าอยู่กับบ้าน ระมัดระวงั อุบัตเิ หตุ โดยเฉพาะการล่ืนล้มท่ีจะมผี ลกระทบกระเทือนตอ่ สมองโดยตรง

ตรวจสขุ ภาพเปน็ ประจำ� ทกุ ปี โดยเฉพาะหากมโี รคประจ�ำตัว เช่น โรคเบาหวาน โรคไขมนั ในเลอื ดสงู ควรต้องตดิ ตามการรกั ษาและปฏบิ ตั ติ ามแพทย์สง่ั อยา่ งเครง่ ครดั บรหิ ารสมอง ด้วยการฝกึ ท�ำกจิ กรรมทต่ี อ้ งใชค้ วามคิดและเพมิ่ การทำ� งานของสมอง เช่น บวกลบคูณหารตวั เลข วาดรูป เล่นเกมเพอี่ ใหฝ้ กึ ใช้ความคิด ตวั อย่างเกมลบั สมอง ประลองเชาว์ เกมซโู ดกุ กู้สมอง วธิ ีเลน่ : ให้ผเู้ ลน่ ใสเ่ ลข 1 ถึง 6 โดยมเี งือ่ นไขว่า ในแต่ละแถวทง้ั แนวตัง้ แนวนอน และภายในกรอบสี่เหล่ยี มเลก็ ตัวเลขต้องไมซ่ �ำ้ กัน (ท่านสามารถเลน่ เกมซูโดกไุ ดจ้ ากหนังสือรวมเล่มซโู ดกุ เว็บไซต์ หรอื แอปพลเิ คชันเกมในโทรศพั ท์มอื ถือ) (ทม่ี า : หนังสือยากันลืม มลู นิธสิ ถาบนั วจิ ัยและพฒั นาผสู้ งู อายไุ ทย (มส.ผส.)

เรยี บเรยี งข้อมูลบางสว่ นจาก หนังสือยากันลืม โดยมูลนิธิสถาบันวิจัย และพฒั นาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) บทความ ทำ� อย่างไรห่างไกลสมองเส่ือม ของผศ.นพ.รงุ่ นริ นั ดร ์ ประดษิ ฐสวุ รรณ ภาค วิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราช พยาบาล จาก www.si.mahidol.ac.th บทความสมองเส่ือม รู้ได้อย่างไร? จากนิตยสารหมอชาวบ้าน เล่มที่ 250 กุมภาพันธ์ 2543 คอลัมน์เร่ืองเด่นจากปก โดย www.doctor.or.th สามารถสืบคน้ ข้อมลู และหนังสือเพิม่ เตมิ ได้ทีห่ อ้ งสรา้ งปญั ญา ศนู ย์เรยี นร้สู ุขภาวะ สำ� นักงานกองทนุ สนบั สนุนการสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.) หรือดาวน์โหลดได้ท่ีแอปพลิเคชัน SOOK Library และ resource.thaihealth.or.th โทร. 02-343-1500 กด 3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook