Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้งานปรับอากาศรถยนต์

แผนการจัดการเรียนรู้งานปรับอากาศรถยนต์

Published by บุญฐี วิชัยยา, 2023-05-09 07:20:37

Description: E book 3 แผนการจัดการเรียนรู้งานปรับอากาศรถยนต์

Search

Read the Text Version

แผนจดั การเรียนรูมุงเนน สมรรถนะ วชิ า ปรบั อากาศรถยนต รหัสวชิ า 20101-2105 ทฤษฎี 1 ปฏบิ ัติ 3 ช่ัวโมง/สัปดาห จํานวน 2 หนว ยกติ หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2562 ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าชา งยนต จัดทําโดย นายบญุ ฐี วชิ ยั ยา วิทยาลยั เทคนคิ เชียงคํา สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

โครงการจัดการเรยี นรูมุง เนน สมรรถนะ วิชา ปรบั อากาศรถยนต รหัสวชิ า 20101-2105 ทฤษฎี 1 ปฏบิ ัติ 3 ช่ัวโมง/สปั ดาห จํานวน 2 หนวยกติ หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2562 ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าชา งยนต จัดทําโดย นายบญุ ฐี วิชยั ยา วิทยาลัยเทคนคิ เชยี งคํา สํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

รายการตรวจสอบและอนญุ าตใหใช แผนการจดั การเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะบูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลกั ธรรมาภบิ าล จติ อาสา และคา นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ประจาํ ภาคเรียนท่ี 2 ปการศกึ ษา 2565 ชื่อวิชา ปรบั อากาศรถยนต รหสั วิชา 20101-2105 จาํ นวน 2 หนว ยกติ 4 ชว่ั โมง/สปั ดาห หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชพี พุทธศกั ราช ๒๕62 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวชิ าชางยนต สาขางานยานยนต ครผู สู อน นายบญุ ฐี วชิ ัยยา  ควรอนญุ าตใหใ ชส อนได  เหน็ ควรอนุญาตใหใ ชส อนได  ควรปรับปรงุ เกย่ี วกับ  ควรปรบั ปรุงดังเสนอ  อนื่ ๆ.................................................................... …………………………………............................... ……………………………………………………………. …………………………………………….......................... ………………………..…….……….…………………… …………………………………….…………………………… ลงชอ่ื .................................................. ลงชื่อ ........................................................... (นายสิทธิชยั เวียงคาํ ) (นางอาภัสราภรณ กอนสลี า) หวั หนาสาขาวิชาชางยนต รองผูอํานวยการฝายวชิ าการ ............../..................../............... ............../............./...............  อนุญาตใหใชสอนได อ่นื ๆ........................................................................................ ................................................................................................ ลงชื่อ........................................................... (นายสมปอง พลู เพิม่ ) ผูอ าํ นวยการวิทยาลัยเทคนิคเชียงคํา ............../.................../...............

คาํ นาํ แผนการจดั การเรยี นรู ฉบบั นี้เปนเอกสารประกอบ การเรยี น-การสอน วชิ า ปรบั อากาศรถยนต รหสั 20101–2105 ตามหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2562 ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าชา ง ยนต ผูจ ัดทําไดเรียบเรยี งขึน้ เพอ่ื ใชในการดําเนนิ การเรยี น-การสอน การจัดกจิ กรรมการเรยี น-การสอน ในชั้นเรียน และเพือ่ ใชเปน เอกสารประกอบการสอนของ ครู อาจารย ผูสอนรายวิชา ปรบั อากาศรถยนต โดยเน้ือหาในแผนการ จัดการเรยี นรู ประกอบดวย จุดประสงคร ายวิชา มาตรฐานรายวิชา คําอธบิ ายรายวิชา ช่อื เรอ่ื ง และ งาน สมรรถนะท่ี พงึ ประสงค หนว ยการสอน เนอื้ หาสาระ กิจกรรมการเรียน-การสอน งานทมี่ อบหมาย ส่ือการเรียน-การสอน การ ประเมนิ ผล ผูจ ัดทําหวังเปนอยา งยิ่งวา แผนการสอนฉบบั นจี้ ะเปน ประโยชนต อ ครู อาจารย ทีท่ าํ การสอนวิชางานปรับ อากาศรถยนต และผทู ี่สนใจไดน าํ ไปใชเปนคมู อื หรือเปนแนวทางในการประกอบการ จัดกจิ กรรมการเรียน-การสอน ใหตรงตามจดุ ประสงคข องหลกั สูตรในโอกาสตอไป นายบุญฐี วิชยั ยา ครูผูสอน

วชิ า ปรบั อากาศรถยนต รหสั วิชา 20101-2105 ทฤษฎี 1 ปฏบิ ัติ 3 ชวั่ โมง/สัปดาห จาํ นวน 2 หนว ยกติ จุดประสงครายวิชา เพอื่ ให 1. เขาใจหลกั การเกยี่ วกับระบบปรับอากาศรถยนต 2. สามารถติดตงั้ ตรวจสอบ วเิ คราะห แกไ ขปญ หาขอ ขดั ขอ งและซอม ระบบปรับอากาศรถยนต 3. มีกจิ นิสยั ทด่ี ี ในการสบื เสาะหาความรู ในการทํางานปฏิบัติงานดว ยความประณีต รอบคอบประหยัด มีวินยั ตรงตอ เวลา ตระหนักถงึ ความปลอดภยั ในการทาํ งานและรักษาส่งิ แวดลอม สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู ก่ียวกบั ระบบปรบั อากาศรถยนต 2. ตดิ ตั้ง ตรวจสอบ วเิ คราะห แกไ ขปญ หาขอ ขัดของและซอม ระบบปรับอากาศรถยนตต ามคมู อื 3. บาํ รงุ รกั ษาและประมาณราคาการบรกิ าร คําอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏบิ ัติเก่ยี วกับ วฏั จกั รระบบปรับอากาศรถยนต ระบบควบคมุ ปรับอากาศรถยนต การตดิ ต้ังระบบ ปรบั อากาศ ตรวจสอบ วิเคราะหปญหา และ แกไขขอ ขดั ขอ ง การบริการบํารงุ รักษาระบบปรับอากาศรถยนต และ ประมาณราคาการบริการ บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. การพอประมาณ 2. การมีเหตุผล สามหวง 3. การมีภมู คิ ุมกันทีด่ ี 4. ความรู 5. คุณธรรม สองเง่อื นไข 6. มติ ิดานเศรษฐกิจ 6.1 ใชทรพั ยากรอยางคมุ คา และอยา งพอประมาณเทา ที่จาํ เปน 6.2 รจู ักประหยดั และไมฟ ุมเฟอย 7. มติ ดิ านสังคม 7.1 รจู กั ชวยเหลือเก้ือกลู สงั คมในกลุมหรอื ชมุ ชน 7.2 มคี วามเปน ระเบียบเรยี บรอ ย 7.3 ปลูกฝง ความสามัคคีในหมูคณะ 8. มิติดานสงิ่ แวดลอม 8.1 รจู กั รักษาสภาพแวดลอม 8.2 ทาํ งานดว ยความประณตี รอบคอบ และปลอดภัย 9. มติ ดิ านวัฒนธรรม 9.1 รจู ักสาํ นกึ และเหน็ คุณคาของการทาํ งาน 9.2 ตระหนกั ถงึ วฒั นธรรมอนั ดงี าม บดิ า มารดา และครอู าจารย 9.3 มคี วามภมู ใิ จในความเปนไทย

การบรู ณาการกับหลักธรรมาภบิ าล 1. หลกั นติ ธิ รรม มีความตระหนกั ใหความสําคญั กบั กฎ ระเบยี บขอบงั คับ และกตกิ าตาง ๆ ใหท นั สมัย และ เปน ธรรม โดยมีการยินยอมพรอ มใจและถือปฏิบัติรวมกันอยา งเสมอภาคและเปน ธรรม 2. หลกั คุณธรรม ยึดถอื และเช่อื ม่นั ในความถูกตองดงี าม ไดแ กค วามซ่อื สัตยสุจริตความเสยี สละ ความอดทน ขยันหม่ันเพยี ร ความมรี ะเบยี บวนิ ยั เปนตน 3. หลักความโปรงใส มกี ารเปด เผยขอมูลขาวสารอยางตรงไปตรงมา และ สามารถตรวจสอบความถกู ตองได โดยการปรบั ปรงุ ระบบและกลไกการทํางานใหมคี วามโปรง ใส 4. หลกั ความมีสวนรวม มีสว นรวมรับรู และรว มเสนอความเหน็ ในการตัดสนิ ใจสําคญั ๆ โดยเปดโอกาสใหมี ชองทางในการเขา มามีสว นรวม 5. หลกั ความรบั ผิดชอบ ตอ งตั้งใจปฏิบัตภิ ารกจิ ตามหนา ทอี่ ยา งดีย่งิ มคี วามรับผิดชอบ ตอความบกพรอ งใน หนา ทก่ี ารงานทีต่ นรบั ผดิ ชอบอยูและพรอมที่จะปรบั ปรุงแกไ ขไดท ันทว งที 6. หลักความคุมคา ตองตระหนักวามที รัพยากรคอนขา งจาํ กัด ดังนน้ั ในการบริหารจัดการ จําเปน จะตอ งยดึ หลกั ความประหยดั และความคุม คา การบูรณาการคา นยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ 1. มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย 2. ซื่อสตั ย เสียสละ อดทน มีอุดมการณในสงิ่ ท่ีดีงามเพ่อื สวนรวม 3. กตัญูตอพอแม ผปู กครอง ครบู าอาจารย 4. ใฝหาความรู หม่นั ศึกษาเลา เรยี นทงั้ ทางตรง และทางออ ม 5. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณไี ทยอันงดงาม 6. มีศลี ธรรม รกั ษาความสัตย หวงั ดีตอ ผูอ่นื เผือ่ แผแ ละแบงปน 7. เขาใจเรยี นรกู ารเปนประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษตั ริยทรงเปน ประมขุ ท่ถี ูกตอง 8. มีระเบียบวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผูนอยรูจ ักการเคารพผูใหญ 9. มีสตริ ูตวั รูคิด รูท าํ รูป ฏิบตั ิตามพระราชดาํ รัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัว 10. รจู ักดาํ รงตนอยโู ดยใชห ลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงตามพระราชดํารัสของ พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู วั รจู กั อดออมไวใชเ มือ่ ยามจาํ เปน มีไวพ อกินพอใช ถาเหลือกแ็ จกจายจําหนา ย และพรอมทีจ่ ะขยายกิจการเมอ่ื มคี วาม พรอมเมื่อมีภมู ิคุม กนั ท่ีดี 11. มคี วามเขมแขง็ ท้ังรางกาย และ จติ ใจ ไมย อมแพต ออํานาจฝา ยตา ง ๆ หรอื กเิ ลส มีความละอายเกรงกลวั ตอ บาปตามหลกั ของศาสนา 12. คํานึงถึงผลประโยชนของสวนรวม และของชาตมิ ากกวาผลประโยชนข องตนเอง

แผนการจัดการเรยี นรูเพื่อประเมินพฤตกิ รรมผเู รียนอาชีวศกึ ษา ตามคา นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ วทิ ยาลยั เทคนิคเชยี งคํา ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2565 รายการประเมนิ พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออก ประจําหนวยที่ 1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ๑.๑ รวมกจิ กรรมเขาแถวยนื ตรง เคารพธงชาติรอ งเพลงชาติ 1-8 ๒. ซ่ือสตั ย เสยี สละ อดทน ๑.๒ รวมกิจกรรมวันสําคัญทางศาสนาทต่ี นนบั ถอื 1-8 ๑.๓ รว มกจิ กรรมวนั สาํ คัญ ท่ีเก่ียวกบั การเทดิ ทูนสถาบัน พระมหากษัตริย ๒..๑ ประพฤติ ปฏิบัติตน ตามความเปนจริงท่ีแสดงถึงการยดึ มั่นในความถกู ตองยอมรับผลการกระทาํ ของตนเองและผอู ืน่ ๒.๒ เสียสละกาํ ลังกาย ทรพั ยส ติปญ ญา ในการชวยเหลือ ผอู ่นื และสังคม ๒.๓ ควบคมุ ตนเองเมอ่ื ประสบความยากลาํ บาก และไมกอ ใหเ กดิ ความเสยี หาย ๓. กตัญูตอ พอ แม ผูปกครอง ครูบาอาจารย ๓.๑ รูจ กั บุญคณุ พอ แม ผปู กครอง ครบู าอาจารย และผู 1-8 มีพระคณุ ๓.๒ เอาใจใส ดแู ลชวยเหลอื ภารกจิ การงาน ปฏิบตั ิตนตาม คาํ สัง่ สอนที่ถกู ตองและเหมาะสม ๓.๓ ตอบแทนบญุ คณุ ของพอ แมผ ปู กครอง ครูบาอาจารย และผมู พี ระคณุ ๔. ใฝหาความรูหมนั่ ศึกษาเลาเรยี น ทั้งทางตรง ๔.๑ แสวงหาความรทู ั้งทางตรงและทางออ ม 1-8 และทางออม ๔.๒ มุง มั่นต้ังใจเพียรพยายามในการศึกษาและปฏบิ ัตงิ าน ๔.๓ แกปญหา และพัฒนาส่ิงใหมๆ จนบรรลผุ ลสําเรจ็ ๕. รกั ษาวัฒนธรรม ประเพณีไทย อันงดงาม ๕.๑ เขา รว มโครงการหรือกจิ กรรมทเี่ ปนไทย 1-8 ๕.๒ ภาคภมู ใิ จในความเปน ไทย ๕.๓ อนุรกั ษส บื ทอดวัฒนธรรมและประเพณไี ทยอนั งดงาม ๖. มีศลี ธรรม รักษาความสตั ย หวังดีตอผอู นื่ ๖.๑ ประพฤติตนตามหลกั ศีลธรรมอันดงี าม 1-8 เผือ่ แผและแบง ปน ๖.๒ ปฏิบัตโิ ดยยดึ ตามกติกา ขอตกลง/กฎ/ระเบียบของ สถานศกึ ษา ๖.๓ หวงั ดี โอบออ มอารีชวยเหลือผอู ่นื ตามโอกาส ๖.๔ ให แบง ปน เอ้อื เฟอ และชว ยเหลือผอู ื่น ๗. เขาใจเรียนรกู ารเปน ประชาธปิ ไตยอนั มี ๗.๑ เขา รว มกิจกรรมเกยี่ วกับประชาธิปไตย อันมี 1-8 พระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมขุ ทถี่ กู ตอ ง พระมหากษัตริยท รงเปนประมขุ ๗.๒ เคารพสทิ ธขิ องผอู ื่น ๗.๓ ปฏิบัติตนตามระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษตั ริยทรงเปน ประมุข

รายการประเมิน พฤติกรรมทีแ่ สดงออก ประจําหนว ยท่ี ๘. มีระเบียบ วินัย เคารพกฎหมาย ผนู อยรูจัก ๘.๑ ตรงตอ เวลา 1-8 ๘.๒ ประพฤติตรงตามคําสง่ั หรือขอ บังคบั ของสถานศกึ ษา เคารพผใู หญ ๘.๓ เคารพและนอบนอมตอผใู หญ ๙. มีสติ รตู ัว รคู ิด รูทํา รูปฏิบัติ ตามพระราช ๙.๑ คิดดี พูดดี ทําดี 1-8 ดาํ รัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัวฯ ๙.๒ สภุ าพ เรยี บรอย ออนนอมถอ มตนตามสถานภาพและ กาลเทศะ ๙.๓ รอบคอบเหมาะสมกบั วัย สถานการณและบทบาทของ ตนเองตามแนวพระราชดาํ รัสฯ ๑๐. รูจักดาํ รงตนอยโู ดยใชห ลักปรัชญาของ ๑๐.๑ ใชวสั ดุถูกตองพอเพียงและเหมาะสมกบั งาน 1-8 เศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดาํ รัสของพระ ๑๐.๒ เกบ็ ออมถนอมใชทรพั ยสินส่งิ ของใหเกดิ ประโยชน บาท สมเด็จพระเจา อยหู ัวฯ รจู ักอดออมไวใช คมุ คา เมือ่ ยามจําเปน มีไวพอกินพอใช ถาเหลอื ก็ ๑๐.๓ปฏิบตั งิ านตามที่ไดรับมอบหมายสาํ เร็จตามกาํ หนดโดย แจกจายจาํ หนา ยและพรอมทจี่ ะขยายกจิ การ คํานึงถงึ ความปลอดภยั ของตนเองและผูอ่นื เมื่อมคี วามพรอ มเม่ือมภี ูมิคมุ กันทด่ี ี ๑๑. มคี วามเขมแขง็ ท้งั รา งกาย และจติ ใจ ไม ๑๑.๑ ดูแล รักษาสุขภาพรา งกายตามสขุ อนามัย 1-8 ยอมแพตอ อาํ นาจฝา ยตํ่าหรือกิเลส มีความ ๑๑.๒ ไมเ กี่ยวของกบั อบายมขุ ละอายเกรงกลวั ตอบาปตามหลกั ของศาสนา ๑๑.๓ ไมนําทรัพยสนิ ของผูอื่นเปนของตนเอง ๑๑.๔ หลีกเลี่ยงแหลง มว่ั สมุ ๑๒. คาํ นึงถึงผลประโยชนข องสว นรวมและของ ๑๒.๑ มีจติ อาสาอุทิศตนเพ่ือประโยชนต อ สงั คมและสว นรวม 1-8 ชาตมิ ากกวาผลประโยชนของตนเอง ๑๒.๒ เสียสละความสขุ สวนตน เพอ่ื ทําประโยชนแกผ อู ื่น

โครงการสอน วิชา ปรบั อากาศรถยนต 20101 - 2105 ลําดบั ที่ ชื่อหนว ย พฤตกิ รรมท่ตี อ งการ 1. ความรู ทกั ษะ จิตพสิ ยั รวมช่ัวโมง 2. 3. อณุ หภูมิและความดนั ในระบบปรับอากาศรถยนต 24 1 4 4. หลกั การทํางานของอปุ กรณระบบปรบั อากาศรถยนต 2 4 1 4 5. การถอดประกอบ การคน หาสาเหตขุ อ บกพรอ งของ 10 20 5 20 6. คอมเพรสเซอร 2 12 7. การซอ มบํารงุ ระบบปรับอากาศรถยนต 4 15 2 12 8. การบรรจสุ ารทําความเย็นในระบบปรบั อากาศรถยนต 4 15 1 8 การติดตัง้ ระบบปรับอากาศรถยนต 3 10 1 4 การหาประสิทธภิ าพระบบปรบั อากาศรถยนต 24 1 4 การคิดราคางานปรบั อากาศรถยนต 24 4 วัดผลและประเมินผล รวม 72 หนวยการสอน วิชา ปรบั อากาศรถยนต 20101 - 2105 หนวยที่ ชือ่ หนว ย จํานวนคาบ สอนครง้ั ที่ 1 อณุ หภมู ิและความดันในระบบปรบั อากาศรถยนต 4 1 2 หลักการทาํ งานของอุปกรณระบบปรับอากาศรถยนต 4 2 3 การถอดประกอบ การคนหาสาเหตุขอ บกพรอ งของคอมเพรสเซอร 20 4 การซอ มบาํ รงุ ระบบปรับอากาศรถยนต 12 3-4-5-6-7 5 การบรรจสุ ารทาํ ความเยน็ ในระบบปรบั อากาศรถยนต 12 8-9-10 6 การตดิ ตง้ั ระบบปรับอากาศรถยนต 8 11-12-13 7 การหาประสิทธิภาพระบบปรับอากาศรถยนต 4 14-15 8 การคดิ ราคางานปรับอากาศรถยนต 4 วดั ผลและประเมนิ ผล 4 16 รวม 72 17 18 18

ตารางวเิ คราะหห นวยการเรียน เวลาเรยี น (ชว่ั โมง) ทฤษฎี ปฏิบตั ิ รวม หนว ยที่ ช่ือหนวย/หัวขอ การเรยี น 1 34 1 อณุ หภูมแิ ละความดนั ในระบบปรบั อากาศรถยนต 1.1 ปจจยั ของความสขุ สบาย 1.2 อณุ หภมู ิ 1.3 ความดนั หรอื แรงดนั (Pressure) 1.4 การแปลงหนวยความดัน Psia และ Psig 1.5 เทอรโ มมิเตอร (Thermometer) 1.6 แมนนิโฟลดเ กจ (Manifolds gauge) 2 หลกั การทาํ งานของอุปกรณระบบปรบั อากาศรถยนต 1 34 2.1 หลักการทาํ งานของคอมเพรสเซอร 2.2 หลกั การทาํ งานของคอนเดนเซอร 2.3 หลักการทาํ งานของรีซฟี เวอรด รายเออร 2.4 หลักการทาํ งานของเอก็ ซแ พนชน่ั วาลว 2.5 หลกั การทาํ งานของอีวาปอเรเตอร 3 การถอดประกอบ การคน หาสาเหตุขอบกพรอ งของ คอมเพรสเซอร 5 15 20 3.1 ความรูเ บ้อื งตน เกย่ี วกบั คอมเพรสเซอร 3.2 การคนหาสาเหตุขอ บกพรองคอมเพรสเซอร 3.3 การถอดประกอบคอมเพรสเซอรแบบลกู สูบ (Reciprocating) 3.4 การถอดประกอบคอมเพรสเซอรแบบสวอชเพลต (Swash plate) 3.5 การถอดประกอบคอมเพรสเซอรแ บบเวนโรตารี่ (Vane rotary) 4 การซอมบาํ รงุ ระบบปรบั อากาศรถยนต 3 9 12 4.1 การวเิ คราะหส าเหตุและปญ หาในวงจรทางกล 4.2 การวเิ คราะหส าเหตุและปญ หาในวงจรไฟฟา 4.3 การตรวจสอบคลัตชแ มเหล็ก 4.4 การตรวจสอบเทอรมอสแตต 4.5 การตรวจสอบสวิตชควบคมุ ความเร็วพัดลม 4.6 การตรวจสอบสวิตชควบคุมความดนั 5 การบรรจุสารทําความเย็นในระบบปรบั อากาศรถยนต 3 9 12 5.1 วธิ ีการทําสุญญากาศในระบบปรบั อากาศยานยนต 5.2 วิธบี รรจุสารทาํ ความเย็นในระบบปรบั อากาศยานยนต 5.3 การตรวจหารอยร่วั โดยใชฟองสบู 5.4 การตรวจหารอยรว่ั ใชตะเกยี งตรวจรอยรัว่ 5.5 การตรวจหารอยรวั่ ใชเ ครอ่ื งตรวจรอยรัว่ อิเลก็ ทรอนิกส

ตารางวิเคราะหห นวยการเรียน เวลาเรียน (ช่วั โมง) ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ รวม หนว ยท่ี ช่อื หนวย/หวั ขอการเรยี น 2 68 6 การตดิ ตงั้ ระบบปรับอากาศรถยนต 6.1 การติดต้ังคอมเพรสเซอร 1 34 6.2 การติดต้งั คอนเดนเซอร 1 34 6.3 การติดต้งั อีวาปอเรเตอร 44 6.4 การติดตั้งรซี ฟี เวอรดรายเออร 6.5 การเดินวงจรไฟฟา 72 7 การหาประสิทธภิ าพระบบปรบั อากาศรถยนต 7.1 ความช้นื ในอากาศ 7.2 อุณหภูมทิ ่ีเหมาะสมกับรา งกายมนษุ ย 7.3 การอานคา ตารางความชน้ื สัมพัทธ 8 การคิดราคางานปรับอากาศยานยนต 8.1 การประมาณราคาคาบรกิ ารงานปรบั อากาศรถยนต 8.2 การหาราคาคาแรง 8.3 การหาราคาทุน 8.4 การหาคาบรกิ าร วดั ผลและประเมินผล รวม

ตารางวเิ คราะหจุดประสงคก ารเรียนรู ระดบั พฤติกรรมทตี่ อ งการ ดานพุทธพสิ ยั ดานทักษะพสิ ยั ดานจิตพสิ ยั หนวย ่ีท ความ ํจา ความเขาใจ การ ํนาไปใช การ ิวเคราะห การสังเคราะห การประเ ิมนคา การเลียนแบบ การทําตามแบบ การทําถูก ตองแ มนยํา การทําอยางผสมผสาน การทําอยาง ัอตโน ัม ิต การ ัรบ ูร การตอบสนอง การเห็นคุณคา การ ัจดระเบียบการคิด การ ีมลักษณะเฉพาะตน ชือ่ หนว ย หวั ขอ การสอน 1 อุณหภูมิและความดันในระบบปรับอากาศรถยนต X XX 1.1 ปจจัยของความสุขสบาย X XX 1.2 อณุ หภมู ิ X XX 1.3 ความดันหรอื แรงดัน (Pressure) XX 1.4 การแปลงหนวยความดัน Psia และ Psig X XX 1.5 เทอรโมมเิ ตอร (Thermometer) X XX 1.6 แมนนิโฟลดเ กจ (Manifolds gauge) X XX X XX 2 หลักการทาํ งานของอปุ กรณระบบปรับอากาศรถยนต X XX 2.1 หลกั การทํางานของคอมเพรสเซอร X XX 2.2 หลักการทํางานของคอนเดนเซอร X XX 2.3 หลักการทํางานของรซี ฟี เวอรด รายเออร X 2.4 หลกั การทาํ งานของเอก็ ซแพนชน่ั วาลว XX 2.5 หลกั การทาํ งานของอีวาปอเรเตอร X XX X XX 3 การถอดประกอบ การคนหาสาเหตุขอ บกพรอ งของ XX คอมเพรสเซอร X XX 3.1 ความรเู บื้องตน เกย่ี วกบั คอมเพรสเซอร X 3.2 การคนหาสาเหตุขอบกพรองคอมเพรสเซอร X XX 3.3 การถอดประกอบคอมเพรสเซอรแบบลกู สบู XX (Reciprocating) X XX 3.4 การถอดประกอบคอมเพรสเซอรแ บบสวอชเพลต X XX (Swash plate) X XX 3.5 การถอดประกอบคอมเพรสเซอรแ บบเวนโรตารี่ X XX (Vane rotary) X X 4 การซอมบํารุงระบบปรบั อากาศรถยนต 4.1 การวเิ คราะหสาเหตุและปญหาในวงจรทางกล 4.2 การวเิ คราะหส าเหตุและปญ หาในวงจรไฟฟา 4.3 การตรวจสอบคลตั ชแมเ หลก็ 4.4 การตรวจสอบเทอรโมสแตท 4.5 การตรวจสอบสวิตชควบคมุ ความเรว็ พัดลม 4.6 การตรวจสอบสวติ ชควบคุมความดนั

ตารางวิเคราะหจ ดุ ประสงคการเรยี นรู ระดบั พฤตกิ รรมที่ตองการ ดานพุทธพิสยั ดา นทกั ษะพสิ ัย ดา นจิตพสิ ยั หนวย ่ีท ความ ํจา ความเขาใจ การ ํนาไปใช การ ิวเคราะห การสังเคราะห การประเ ิมนคา การเลียนแบบ การทําตามแบบ การทําถูก ตองแ มนยํา การทําอยางผสมผสาน การทําอยาง ัอตโน ัม ิต การ ัรบ ูร การตอบสนอง การเห็นคุณคา การ ัจดระเบียบการคิด การ ีมลักษณะเฉพาะตน ชอ่ื หนวย หัวขอการสอน 5 การบรรจสุ ารทําความเยน็ ในระบบปรับอากาศรถยนต X XX 5.1 วธิ กี ารทาํ สญุ ญากาศในระบบปรบั อากาศรถยนต X XX 5.2 วธิ บี รรจุสารทําความเยน็ ในระบบปรบั อากาศ X XX รถยนต X XX 5.3 การตรวจหารอยร่ัว โดยใชฟองสบู X XX 5.4 การตรวจหารอยรัว่ ใชตะเกยี งตรวจรอยร่วั 5.5 การตรวจหารอยรวั่ ใชเคร่ืองตรวจรอยรว่ั X XX อิเลก็ ทรอนกิ ส X XX X XX 6 การติดตงั้ ระบบปรบั อากาศรถยนต X XX 6.1 การติดต้ังคอมเพรสเซอร X XX 6.2 การตดิ ต้ังคอนเดนเซอร X XX 6.3 การติดตงั้ อวี าปอเรเตอร X XX 6.4 การตดิ ตง้ั รีซีฟเวอรด รายเออร X XX 6.5 การเดนิ วงจรไฟฟา X XX X XX 7 การหาประสทิ ธิภาพระบบปรบั อากาศรถยนต X XX 7.1 ความชืน้ ในอากาศ X XX 7.2 อุณหภูมทิ ่เี หมาะสมกับรา งกายมนุษย 7.3 การอา นคาตารางความชนื้ สมั พทั ธ 8 การคิดราคางานปรับอากาศรถยนต 8.1 การประมาณราคาคาบริการงานปรับอากาศรถยนต 8.2 การหาราคาคา แรง 8.3 การหาราคาทุน 8.4 การหาคาบริการ

หนว ยการเรียนรูและสมรรถนะประจําหนว ย ช่อื หนวย สมรรถนะ หนวยที่ 1 ความรู ทักษะ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค อณุ หภูมแิ ละความดันใน 1.ปจจัยของความสุข 1.แปลงหนวยอณุ หภูมิ มวี นิ ัย มีความรับผิดชอบ ระบบปรบั อากาศรถยนต 2.อุณหภูมิ C°เปนF°และ F°เปน C°ได มคี วามสนใจใฝร ู มีความ 3.ความดันหรอื แรงดนั 2.อธิบายคุณสมบตั ิของ ซอื่ สัตยส ุจรติ มคี วาม 4.การแปลงหนวยความ ความดนั ได ประหยดั กตัญูกตเวที ดัน psia และ psig 3.แปลงหนว ยความดัน ตามคา นยิ มหลกั ของคน 5.เทอรโมมิเตอร ระหวา ง psia ได psig ได ไทย ๑๒ ประการ 6.แมนนโิ ฟลดเกจ 4.อา นคาเทอรโ มมเิ ตอร และแมนนโิ ฟลดเกจได หนว ยที่ 2 1.หลกั การทาํ งานของ 1.อธบิ ายหลกั การทํางาน มีวินัย มคี วามรับผิดชอบ หลกั การทํางานของ คอมเพรสเซอร ของคอมเพรสเซอรไ ด มีความสนใจใฝรู มีความ อปุ กรณร ะบบปรับอากาศ 2.หลักการทํางานของ 2.อธบิ ายหลกั การทาํ งาน ซื่อสัตยสจุ ริต มีความ รถยนต คอนเดนเซอร ของคอนเดนเซอรไ ด ประหยัด กตัญกู ตเวที 3.หลักการทํางานของรี 3.อธบิ ายหลกั การทาํ งาน ตามคานยิ มหลักของคน ซฟี เวอรด รายเออร รซี ฟี เวอรดรายเออรได ไทย ๑๒ ประการ 4.หลกั การทาํ งานของ 4.อธิบายหลกั การทาํ งาน เอก็ ซแ พนชนั่ วาลว ของเอก็ ซแ พนชัน่ วาลวได 5.หลักการทาํ งานของอีวา 5.อธบิ ายหลักการทํางาน ปอเรเตอร ของอวี าปอเรเตอรไ ด หนวยที่ 3 1.ความรเู บอ้ื งตนเกยี่ วกับ 1.อธิบายหลกั การทาํ งาน มวี ินยั มคี วามรับผิดชอบ การถอดประกอบ การ คอมเพรสเซอร ของคอมเพรสเซอรแ บบ มคี วามสนใจใฝรู มีความ คนหาสาเหตขุ อ บกพรอง 2.การคน หาสาเหตุขอ ตาง ๆ ได ซ่อื สตั ยสจุ รติ มคี วาม ของคอมเพรสเซอร บกพรองคอมเพรสเซอร 2.ตรวจสอบสภาพ คน หา ประหยัด กตญั ูกตเวที 3.การถอดประกอบ สาเหตุ และถอดประกอบ ตามคานิยมหลกั ของคน คอมเพรสเซอรแ บบลูกสบู คอมเพรสเซอรแบบลกู สูบ ไทย ๑๒ ประการ 4.การถอดประกอบ ได คอมเพรสเซอรแบบสวอช 3.ตรวจสอบสภาพ คน หา เพลต สาเหตุและถอดประกอบ 5.การถอดประกอบคอม คอมเพรสเซอรแบบสวอช เพรสเซอรแ บบเวนโรตารี่ เพลต ได 4.ตรวจสอบสภาพ คน หา สาเหตุ และถอดประกอบ คอมเพรสเซอรแบบเวนโรตา ร่ี

หนว ยท่ี 4 1.การวิเคราะหส าเหตุ 1.หาสาเหตขุ อขดั ของของ มีวนิ ยั มีความรบั ผิดชอบ การซอมบาํ รงุ ระบบปรับ และปญ หาในวงจรทางกล ระบบปรบั อากาศรถยนต มคี วามสนใจใฝรู มีความ อากาศรถยนต 2.การวิเคราะหสาเหตุ ได ซอ่ื สัตยสุจริต มีความ และปญ หาในวงจรไฟฟา 2.แกไ ขขอขัดขอ งของ ประหยัด กตัญกู ตเวที ระบบปรบั อากาศรถยนต ตามคานยิ มหลักของคน ได ไทย ๑๒ ประการ หนวยที่ 5 1.วธิ กี ารทาํ สญุ ญากาศใน 1.ทาํ สุญญากาศในระบบ มวี ินัย มคี วามรบั ผดิ ชอบ การบรรจสุ ารทําความเย็น ระบบปรับอากาศรถยนต ปรับอากาศรถยนตได มีความสนใจใฝรู มีความ ในระบบปรับอากาศ 2.วิธกี ารบรรจุสารทํา 2.บรรจสุ ารทาํ ความเยน็ ซอื่ สัตยสุจริต มีความ รถยนต ความเย็น ในระบบปรบั R-12 และ R-134a ได ประหยัด กตญั กู ตเวที อากาศรถยนต 3.ตรวจหารอยร่วั ในระบบ ตามคา นิยมหลกั ของคน 3.ขอ แตกตา งของระบบ ปรบั อากาศรถยนตไ ด ไทย ๑๒ ประการ ปรบั อากาศรถยนตท ่ีใช สารทาํ ความเย็น R-12 กบั R-134a 4.วธิ ีการตรวจหารอยรวั่ ในระบบปรบั อากาศ รถยนต หนว ยท่ี 6 1.การตดิ ตง้ั ระบบปรบั 1. ติดตั้งระบบปรบั มวี ินยั มีความรบั ผิดชอบ การติดตงั้ ระบบปรับ อากาศรถยนต อากาศรถยนตไ ด มีความสนใจใฝรู มีความ อากาศรถยนต ซ่ือสัตยสุจรติ มีความ ประหยดั กตญั กู ตเวที หนว ยที่ 7 1.ความชืน้ ในอากาศ 1.ทดสอบหาความช้ืนใน มวี นิ ัย มีความรับผดิ ชอบ การหาประสทิ ธิภาพระบบ 2.อณุ หภูมิที่เหมาะสมกบั ระบบปรบั อากาศรถยนต มีความสนใจใฝรู มีความ ปรบั อากาศรถยนต รา งกายมนษุ ย ได ซ่อื สตั ยส จุ ริต มคี วาม 3.การอานคา ตาราง 2.ทดสอบหาอณุ หภูมิใน ประหยัด กตญั ูกตเวที ความช้ืนสมั พทั ธ ระบบปรับอากาศรถยนต ได 3.อานคาตารางความชนื้ สมั พัทธได หนว ยที่ 8 1.การประมาณราคา 1.อธิบายการประมาณ มีวนิ ยั มคี วามรับผิดชอบ การคดิ ราคางานปรับ คาบริการงานปรับอากาศ ราคาคาบริการงานปรบั มคี วามสนใจใฝร ู มีความ อากาศรถยนต รถยนต อากาศรถยนตไ ด ซื่อสัตยส ุจรติ มีความ 2.การหาราคาคาแรง 2.คํานวณหาราคาคาแรง ประหยัด กตญั กู ตเวที 3.การหาราคาทนุ ได ตามคา นิยมหลกั ของคน 4.การหาคา บรกิ าร 3.คาํ นวณการหาราคาทุน ไทย ๑๒ ประการ ได 4.คาํ นวณราคาคาบรกิ าร ได

…… แผนการสอนท่ี 1 หน่วยท่ี 1 ชื่อวชิ า งานปรบั อากาศรถยนต์ รหสั 20101-2105 สอนคร้ังที่ 1 ช่ือหน่วย อุณหภูมิและความดนั ในระบบปรับอากาศยานยนต์ เวลา 4 ชม. สาระสําคญั ในระบบปรบั อากาศรถยนต์ ส่ิงที่มีความสาํ คญั อีกอยา่ งหน่ึงคอื ความดนั และอุณหภูมิ จะตอ้ งมีความ เหมาะสมตอ่ ระดบั การใชง้ าน อุณหภูมิทเ่ี หมาะสมตอ่ ร่างกาย ประมาณ 23-25 C° ดงั น้นั การควบคุมอุณหภมู ิ และความดนั สารทาํ ความเยน็ ในระบบปรบั อากาศรถยนต์ ควรใหม้ ีความเหมาะสม จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ท่ัวไป เพอื่ ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจความสมั พนั ธ์ และคณุ สมบตั ขิ องอุณหภูมิ กบั ความดนั จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เม่ือนกั เรียนเรียนจบ แผนการเรียนท่ี 1 แลว้ สามารถ 1. แปลงหน่วยอุณหภมู ิ C° เป็ น F° และ F° เป็ น C° ได้ 2. อธิบายคุณสมบตั ิของความดนั ได้ 3. แปลงหน่วยความดนั ระหวา่ ง psia ได้ psig ได้ 4. อ่านคา่ จากเทอร์โมมิเตอร์และแมนนิโฟลดเ์ กจได้ เนือ้ หา 1. ปัจจยั ของความสุขสบาย 2. อุณหภมู ิ 3. ความดนั หรือแรงดนั (Pressure) 4. การแปลงหน่วยความดนั psia และ psig 5. เทอร์โมมิเตอร์ (Thermometer) 6. แมนนิโฟลดเ์ กจ (Manifolds gauge) …………..

กจิ กรรมการเรียนการสอน กจิ กรรมการเรียนการสอน 1. ข้นั นาํ เขา้ สู่บทเรียน 1.1 นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 1.2 นาํ เขา้ สู่บทเรียน กล่าวถึงสภาพภูมิอากาศทวั่ ไป 2. ข้นั สาธิตหรือยกตวั อยา่ ง 2.1 ผสู้ อน สอนตามใบความรู้ 2.2 อธิบายรายละเอียดและยกตวั อยา่ ง 2.3 ดูวดี ีโอ เร่ืองอุณหภูมิและความดนั 3. ข้นั ฝึกปฏิบตั ิ 3.1 ทดลองทาํ แบบฝึกหดั และใบงาน 3.2 ทดลองอ่านคา่ จากเทอร์โมมิเตอร์และแมนนิโฟลดเ์ กจ 4. ข้นั สรุปและตรวจสอบ 4.1 ตรวจสอบการทาํ แบบฝึกหดั และใบงาน และทดสอบอ่านคา่ 4.2 ทบทวนข้นั ตอน และวธิ ีการใหถ้ ูกตอ้ งครบถว้ น 5. ข้นั ฝึกใหเ้ กิดความชาํ นาญ 5.1 ทาํ แบบฝึกหดั เพมิ่ เติม 5.2 ฝึกอ่านค่าจากอุปกรณ์เพมิ่ เติม 6. ข้นั ประเมินผล 6.1 ซกั ถาม 6.2 สงั เกต 6.3 ตรวจสอบผลการปฏบิ ตั ิตามใบงาน ส่ือการเรียนการสอน 1.วดี ีโอ 2. ใบความรู ้ 3.ส่ือประกอบการสอนอุปกรณ์ เทอร์โมมิเตอร์ แมนนิโฟลดเ์ กจ ซ่ึงเป็ นของจริง 4.แบบทดสอบก่อน/หลงั เรียน 5. แบบฝึ กหดั 6. ใบงาน .....

การวัดผล / ประเมินผล การวดั ผล วดั ผลโดยวธิ ีการดงั น้ี 1. การทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 2. การซกั ถามระหวา่ งเรียน 3. ความสนใจระหวา่ งเรียน 4. บนั ทึกการปฏิบตั งิ าน 5. สงั เกตจากการทดลองอ่านคา่ ตา่ ง ๆ 6. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน 7. คะแนนจากการทาํ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน การประเมินผล ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ กาํ หนดจากระดบั คะแนนการวดั ผลดงั น้ี คะแนนร้อยละ 0 ถึง 49 ระดบั คะแนน(เกรด) 0 ผลการเรียนต่าํ กวา่ เกณฑข์ ้นั ต่าํ คะแนนร้อยละ 50 ถึง 54 ระดบั คะแนน(เกรด) 1 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อนมาก คะแนนร้อยละ 55 ถึง 59 ระดบั คะแนน(เกรด) 1.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อน คะแนนร้อยละ 60 ถึง 64 ระดบั คะแนน(เกรด) 2 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ คะแนนร้อยละ 65 ถึง 69 ระดบั คะแนน(เกรด) 2.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ คะแนนร้อยละ 70 ถึง 74 ระดบั คะแนน(เกรด) 3 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ี คะแนนร้อยละ 75 ถึง 79 ระดบั คะแนน(เกรด) 3.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีมาก คะแนนร้อยละ 80 ถึง 100 ระดบั คะแนน(เกรด) 4 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีเยยี่ ม หมายเหตุ น้าํ หนกั ของคะแนนในการประเมินผลคะแนนจากการตรวจผลงาน 80 % จากการทดสอบหลงั เรียน 20 %

แผนการสอนท่ี 2 หน่วยท่ี 2 ชื่อวชิ า งานปรบั อากาศยานยนต์ รหสั 20101-2105 สอนคร้ังท่ี 2 ชื่อหน่วย หลกั การทาํ งานของอปุ กรณ์ระบบปรับอากาศยานยนต์ เวลา 4 คาบ สาระสําคญั อุปกรณ์ในระบบปรบั อากาศทส่ี าํ คญั และการศึกษาใหเ้ ขา้ ใจหลกั การทาํ งานก่อนการปฏิบตั ิงาน ประกอบไปดว้ ย คอมเพรสเซอร์(Compressor), คอนเดนเซอร์ (Condenser), รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ (Receiver Drier), เอ็กซแ์ พนชนั่ วาลว์ (Expension Valve), อีวาปอเรเตอร์ (Evaporator) อุปกรณ์เหล่าน้ีจะตดิ ต้งั อยใู่ น รถยนต์ จุดประสงค์การเรียนรู้ จดุ ประสงค์ท่ัวไป เพอ่ื ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจหลกั การทาํ งานของอุปกรณ์ระบบปรับอากาศในรถยนต์ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เม่ือนกั เรียนเรียนชุดการสอนท่ี 2 แลว้ นกั เรียนสามารถ 1. อธิบายหลกั การทาํ งานของคอมเพรสเซอร์ได้ 2. อธิบายหลกั การทาํ งานของคอนเดนเซอร์ได้ 3. อธิบายหลกั การทาํ งานของรีซีฟเวอร์ดรายเออร์ได้ 4. อธิบายหลกั การทาํ งานของเอก็ ซ์แพนชน่ั วาลว์ ได้ 5. อธิบายหลกั การทาํ งานของอีวาปอเรเตอร์ได้ เนือ้ หา 1. หลกั การทาํ งานของคอมเพรสเซอร์ 2. หลกั การทาํ งานของคอนเดนเซอร์ 3. หลกั การทาํ งานของรีซีฟเวอร์ดรายเออร์ 4. หลกั การทาํ งานของเอ็กซ์แพนชนั่ วาลว์ 5. หลกั การทาํ งานของอีวาปอเรเตอร์

…………………..กจิ กรรมการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนการสอน 1. ข้นั นาํ เขา้ สู่บทเรียน 1.1 นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 1.2 ซกั ถามเร่ืองอุปกรณ์ในรถยนต์ 2. ข้นั สาธิตหรือยกตวั อยา่ ง 2.1 สาธิตการทาํ งานหลกั การของอุปกรณ์ 5 ชนิด จากของจริง 2.2 นกั เรียนยกตวั อยา่ งอุปกรณ์ท่ีเคยพบเห็น 3. ข้นั ฝึกปฏบิ ตั ิ แบ่งกลุ่มเขยี นหลกั การทาํ งาน 4. ข้นั สรุปและตรวจสอบ 4.1 ซกั ถามหลกั การทาํ งานเป็นรายบุคคล 4.2 อภปิ รายเป็นกลุ่ม 5. ข้นั ฝึกใหเ้ กิดความชาํ นาญ วาดภาพช้ินส่วนประกอบพร้อมอธิบายการทาํ งานในสมุดจดบนั ทกึ ทกุ คน 6. ข้นั ประเมินผล 6.1 ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน 6.2 ซกั ถาม 6.3 สงั เกต 6.4 ตรวจบนั ทึกการปฏิบตั ิงาน ส่ือการเรียนการสอน 7. ใบความรู ้ 8.ส่ือประกอบการสอนอุปกรณ์ 5 ชนิด ซ่ึงเป็ นของจริง 9.แบบทดสอบก่อน/หลงั เรียน 10. แบบฝึกหดั 11. ใบงาน

การวดั ผล / ประเมนิ ผล การวัดผล วดั ผลโดยวธิ ีการดงั น้ี 8. การทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 9. การซกั ถามระหวา่ งเรียน 10. ความสนใจระหวา่ งเรียน 11. บนั ทกึ การปฏบิ ตั ิงาน 12. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน 13. คะแนนจากการทาํ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน การประเมินผล ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ กาํ หนดจากระดบั คะแนนการวดั ผลดงั น้ี คะแนนร้อยละ 0 ถึง 49 ระดบั คะแนน(เกรด) 0 ผลการเรียนต่าํ กวา่ เกณฑข์ ้นั ต่าํ คะแนนร้อยละ 50 ถึง 54 ระดบั คะแนน(เกรด) 1 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อนมาก คะแนนร้อยละ 55 ถึง 59 ระดบั คะแนน(เกรด) 1.5 ผลการเรียนต่าํ กวา่ เกณฑอ์ ่อน คะแนนร้อยละ 60 ถึง 64 ระดบั คะแนน(เกรด) 2 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ คะแนนร้อยละ 65 ถึง 69 ระดบั คะแนน(เกรด) 2.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ คะแนนร้อยละ 70 ถึง 74 ระดบั คะแนน(เกรด) 3 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ี คะแนนร้อยละ 75 ถึง 79 ระดบั คะแนน(เกรด) 3.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีมาก คะแนนร้อยละ 80 ถึง 100 ระดบั คะแนน(เกรด) 4 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีเยย่ี ม หมายเหตุ น้าํ หนกั ของคะแนนในการประเมินผลคะแนนจากการตรวจผลงาน 80 % จากการทดสอบหลงั เรียน 20 %

….. แผนการสอนที่ 3 หน่วยท่ี 3 ช่ือวชิ า งานปรบั อากาศยานยนต์ รหสั 20101-2105 สอนคร้ังท่ี 3-7 ชื่อหน่วย การถอดประกอบการคน้ หาสาเหตขุ อ้ บกพร่องของคอมเพรสเซอร์ เวลา 20 ชม. สาระสําคญั คอมเพรสเซอร์ ที่ใชก้ นั อยทู่ กุ วนั น้ีสามารถแบง่ ออกได้ 3 ประเภท คอื แบบลูกสูบ(Reciprocating) แบบสว อชเพลต (Swash plate) และแบบเวนโรตาร่ีหรือใบพดั หมุน (Vane rotary) เม่ือใชไ้ ปนาน ๆ ก็จะเกิดการชาํ รุด เช่น ผขู้ บั รถรูส้ ึกวา่ ระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ม่เยน็ หรือระบบปรับอากาศไม่ทาํ งาน ฉะน้นั จึงมีการซ่อมบาํ รุงใหส้ ามารถ ใชง้ านไดด้ ีอยเู่ สมอ ในการท่ีจะถอดชิ้นส่วน ส่วนใดบา้ งในคอมเพรสเซอร์ จะตอ้ งรูส้ าเหตุของการเกิดปัญหาก่อน จึงจะทาํ ใหไ้ ม่เสียเวลา หรือเสียเงินโดยเปล่าประโยชนน์ อกจากน้ีจะตอ้ งใชเ้ ครื่องมือใหถ้ ูกตอ้ งกบั งานดว้ ย จุดประสงค์การเรียนรู้ จดุ ประสงค์ท่ัวไป เพอื่ ใหน้ กั เรียน สามารถตรวจสภาพ คน้ หาสาเหตขุ องขอ้ บกพร่อง และการถอด ประกอบคอมเพรสเซอร์ 3 ชนิด คอื แบบลูกสูบ (Reciprocating) แบบสวอชเพลต (Swash Plate) และแบบเวนโร ตาร่ีหรือใบพดั หมุน (Vane Rotary ) จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม เมื่อนกั เรียนเรียนชุดการสอนท่ี 3 แลว้ นกั เรียนสามารถ 1. อธิบายหลกั การทาํ งานของคอมเพรสเซอร์แบบต่าง ๆ ได้ 2.ตรวจสอบสภาพคน้ หาสาเหตุ และถอดประกอบคอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ (Reciprocating)ได้ 3.ตรวจสอบสภาพคน้ หาสาเหตุและถอดประกอบคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต (Swashplate)ได้ 4.ตรวจสอบสภาพคน้ หาสาเหตุ และถอดประกอบ คอมเพรสเซอร์แบบเวนโรตาร่ี(Vanerotary)ได้ เนือ้ หา 1. ความรู้เบ้อื งตน้ เก่ียวกบั คอมเพรสเซอร์ 2. การคน้ หาสาเหตขุ อ้ บกพร่องคอมเพรสเซอร์ 3. การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ (Reciprocating) 4. การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต (Swash plate) 5. การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์แบบเวนโรตารี่ (Vane rotary) …………………..

กจิ กรรมการเรียนการสอน กจิ กรรมการเรียนการสอน 1.ข้นั นาํ เขา้ สู่บทเรียน 1.1 นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 1.2 ทบทวนเรื่องเคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นงานปรบั อากาศรถยนต์ 1.3 นาํ เขา้ สู่บทเรียนโดยใชว้ ธิ ีซกั ถาม 2. ข้นั สาธิตและยกตวั อยา่ ง 2.1 สอนเตรียมเคร่ืองมือและอุปกรณ์ รวมท้งั ใบงานและใบความรู้ 2.2 สาธิตยกตวั อยา่ งสาเหตขุ อ้ บกพร่องและแสดงวธิ ีการถอดประกอบ คอมเพรสเซอร์ ตามใบงานเป็ นข้นั ตอน 2.3 อธิบายรายละเอียดการตรวจสภาวะระบบปรบั อากาศรถยนตพ์ ร้อม ยกตวั อยา่ งประกอบ 3. ข้นั ฝึกปฏิบตั ิ 3.1 จดั ลาํ ดบั การตรวจสภาพคอมเพรสเซอร์ 3.2 จดั ลาํ ดบั การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์ 4. ข้นั สรุปและตรวจสอบ 4.1 สรุปสาเหตขุ อ้ บกพร่องของคอมเพรสเซอร์วิธีการถอดประกอบที่ รวดเร็วและถูกตอ้ ง 4.2 ตรวจสอบความถูกตอ้ งในการถอดประกอบ 5. ข้นั ฝึกใหเ้ กิดความชาํ นาญฝึกการคน้ หาสาเหตุขอ้ บกพร่อง และการถอดประกอบ คอมเพรสเซอร์ ซ้าํ อีกใหท้ กุ คนท่เี รียนไดฝ้ ึกปฏบิ ตั ิทุกคน 6. ข้นั ประเมินผล 6.2 การซกั ถามระหวา่ งเรียน 6.3 การอภปิ รายกลุ่ม 6.4 การตรวจสอบการปฏบิ ตั ิงานตามใบงาน 6.5 การตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน ………

ส่ือการเรียนการสอน 1. ใบความรู้ หน่วยที่ 3 เรื่องการถอดประกอบการคน้ หาสาเหตุขอ้ บกพร่องของคอมเพรสเซอร์ 2. สื่อประกอบการสอนอุปกรณ์ 3 ชนิด คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ (Reciprocating), แบบสวอช เพลต (Swash plate) และแบบเวนโรตาร่ี (Vane Rotary) ซ่ึงเป็ นของจริง 3. แบบทดสอบก่อน/หลงั เรียน 4. แบบฝึกหดั 5. ใบงาน การวัดผล / ประเมนิ ผล การวดั ผล วดั ผลโดยวธิ ีการดงั น้ี 14. การทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 15. การซกั ถามระหวา่ งเรียน 16. ความสนใจระหวา่ งเรียน 17. บนั ทกึ การปฏบิ ตั งิ าน 18. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน 19. คะแนนจากการทาํ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน การประเมินผล ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ กาํ หนดจากระดบั คะแนนการวดั ผลดงั น้ี คะแนนร้อยละ 0 ถึง 49 ระดบั คะแนน(เกรด) 0 ผลการเรียนต่าํ กวา่ เกณฑข์ ้นั ต่าํ คะแนนร้อยละ 50 ถึง 54 ระดบั คะแนน(เกรด) 1 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อนมาก คะแนนร้อยละ 55 ถึง 59 ระดบั คะแนน(เกรด) 1.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อน คะแนนร้อยละ 60 ถึง 64 ระดบั คะแนน(เกรด) 2 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ คะแนนร้อยละ 65 ถึง 69 ระดบั คะแนน(เกรด) 2.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ คะแนนร้อยละ 70 ถึง 74 ระดบั คะแนน(เกรด) 3 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ี คะแนนร้อยละ 75 ถึง 79 ระดบั คะแนน(เกรด) 3.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีมาก คะแนนร้อยละ 80 ถึง 100 ระดบั คะแนน(เกรด) 4 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีเยย่ี ม หมายเหตุ น้าํ หนกั ของคะแนนในการประเมินผลคะแนนจากการตรวจผลงาน 80 % จากการทดสอบหลงั เรียน 20 %

…… แผนการสอนท่ี 4 หน่วยท่ี 4 ชื่อวชิ า งานปรบั อากาศยานยนต์ รหสั 20101-2105 ช่ือหน่วย การซ่อมบาํ รุงระบบปรับอากาศยานยนต์ สอนคร้ังที่ 8-10 เวลา 12 ชม. สาระสําคญั ระบบปรับอากาศรถยนต์ เป็นระบบปรบั อากาศท่ี ถูกใชง้ านอยา่ งหนกั เพราะตอ้ งการ ความเยน็ สบายแก่ผูโ้ ดยสารและผขู้ บั ข่ี ตลอดช่วงเวลาที่มีการเดินทาง การใชง้ านอยา่ งต่อเน่ือง ทาํ ใหร้ ะบบปรบั อากาศเกิดขดั ขอ้ ง และเกิดการสกปรกท่อี ุปกรณ์บางอยา่ งในระบบปรบั อากาศ การซ่อมบาํ รุงดูแลรกั ษาระบบ ปรบั อากาศตามระยะเวลาท่กี าํ หนด จงึ มีความสาํ คญั อยา่ งยงิ่ ทจ่ี ะยดื อายกุ ารใชง้ านของระบบปรับอากาศ การมีความรู้ความเขา้ ใจในระบบปรับอากาศ จงึ มีความสาํ คญั และจาํ เป็ นยงิ่ ต่อช่างและนกั เรียนท่ีจะจบ ไปเป็ นช่าง เพอ่ื จะไดซ้ ่อมบาํ รุงและดูแลรักษาเครื่องปรับอากาศรถยนตใ์ หม้ ีอายกุ ารใชง้ านไดย้ นื ยาวข้ึน จดุ ประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป เพอื่ ใหน้ กั เรียน ซ่อมระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้ จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม เมื่อนกั เรียนเรียนชุดการสอนท่ี 4 แลว้ นกั เรียนสามารถ 6. หาสาเหตขุ อ้ ขดั ขอ้ งของระบบปรบั อากาศรถยนตไ์ ด้ 7. แกไ้ ขขอ้ ขดั ขอ้ งของระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้ เนื้อหา 1. การวเิ คราะห์สาเหตุและปัญหาในวงจรทางกล 2. การวเิ คราะหส์ าเหตุและปัญหาในวงจรไฟฟ้ า …………………..

กจิ กรรมการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนการสอน 1. ข้นั นาํ เขา้ สู่บทเรียน 1.1 นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 1.2 ทบทวนอุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบปรับอากาศรถยนต์ 1.3 นาํ เขา้ สู่บทเรียน โดยวธิ ีการซกั ถาม 2. ข้นั สาธิตหรือยกตวั อยา่ ง 2.1 ผสู้ อนยกตวั อยา่ งขอ้ ขดั ขอ้ งระบบปรบั อากาศรถยนต์ 2.2 อธิบาย วธิ ีการวเิ คราะหถ์ ึงสาเหตขุ องปัญหาที่เกิดข้ึน 3. ข้นั ตอนฝึกปฏบิ ตั ิ 3.1 จดั ลาํ ดบั ปัญหาเพอื่ แกไ้ ข 3.2 ดาํ เนินการแกไ้ ขปัญหาตามข้นั ตอนและวธิ ีการ 4. ข้นั สรุปและตรวจสอบ 4.1 สรุปปัญหาทีเ่ กิดข้นึ ร่วมกนั 4.2 ตรวจสอบผลการซ่อมบาํ รุงและแกไ้ ขปัญหา 5. ข้นั ฝึกใหเ้ กิดความชาํ นาญ 5.1 ผสู้ อนสรา้ งสถานการณ์ใหน้ กั เรียน วเิ คราะห์ปัญหาสาเหตุของปัญหา 5.2 ดาํ เนินการฝึกแกไ้ ขปัญหาทเี่ กิดข้ึน ซ่อมบาํ รุงใหเ้ กิดความชาํ นาญ 5.3 ซ่อมบาํ รุง แกไ้ ขปัญหาและป้ องกนั ปัญหาท่อี าจจะเกิดข้ึนอีก 6. ข้นั ประเมินผล 6.1 จากการสงั เกต 6.2 จากการซกั ถาม 6.3 ตรวจสอบการปฏิบตั ิงาน สื่อการเรียนการสอน 12. ใบความรู้ หน่วยท่ี 4 เร่ืองการซ่อมบาํ รุงระบบปรบั อากาศรถยนต์ 13. ส่ือประกอบการสอนอุปกรณ์ 7 ชนิด ซ่ึงเป็ นของจริง 14. แบบทดสอบก่อน/หลงั เรียน 15. แบบฝึกหดั 16. ใบงาน

การวดั ผล / ประเมินผล การวดั ผล วดั ผลโดยวธิ ีการดงั น้ี 20. การทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 21. การซกั ถามระหวา่ งเรียน 22. ความสนใจระหวา่ งเรียน 23. บนั ทึกการปฏิบตั งิ าน 24. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน 25. คะแนนจากการทาํ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน การประเมินผล ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ กาํ หนดจากระดบั คะแนนการวดั ผลดงั น้ี คะแนนร้อยละ 0 ถึง 49 ระดบั คะแนน(เกรด) 0 ผลการเรียนต่าํ กว่าเกณฑข์ ้นั ต่าํ คะแนนร้อยละ 50 ถึง 54 ระดบั คะแนน(เกรด) 1 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อนมาก คะแนนร้อยละ 55 ถึง 59 ระดบั คะแนน(เกรด) 1.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อน คะแนนร้อยละ 60 ถึง 64 ระดบั คะแนน(เกรด) 2 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ คะแนนร้อยละ 65 ถึง 69 ระดบั คะแนน(เกรด) 2.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ คะแนนร้อยละ 70 ถึง 74 ระดบั คะแนน(เกรด) 3 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ี คะแนนร้อยละ 75 ถึง 79 ระดบั คะแนน(เกรด) 3.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีมาก คะแนนร้อยละ 80 ถึง 100 ระดบั คะแนน(เกรด) 4 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีเยยี่ ม หมายเหตุ น้าํ หนกั ของคะแนนในการประเมินผลคะแนนจากการตรวจผลงาน 80 % จากการทดสอบหลงั เรียน 20 %

แผนการสอนที่ 5 หน่วยท่ี 5 ช่ือวิชา งานปรบั อากาศยานยนต์ รหสั 20101-2105 สอนคร้ังท่ี 11-13 ช่ือหน่วย การบรรจุสารทาํ ความเยน็ ในระบบปรับอากาศยานยนต์ เวลา 12 ชม. สาระสําคญั ระบบปรับอากาศรถยนตท์ ุกชนิดไม่วา่ จะเป็ นระบบใหม่หรือเก่า เมื่อทาํ การติดต้งั ใหม่ หรือตรวจซ่อมแกไ้ ข จะตอ้ งปล่อยสารทาํ ความเยน็ ออกจนหมด ก่อนเตมิ สารทาํ ความเยน็ ทุกคร้ัง จะตอ้ ง ดูดอากาศและความช้ืนภายในท่อทางเดินของสารทาํ ความเยน็ ออกใหห้ มดเสียก่อน โดยใชป้ ๊ัมดูดอากาศออก (Vacuum pump) นอกจากน้นั ก่อนเตมิ สารทาํ ความเยน็ จะตอ้ งตรวจสอบระบบใหล้ ะเอียดวา่ มีจดุ รอยรัว่ ตาํ แหน่งใดบา้ งตรวจจนแน่ใจวา่ ไม่มีรอยร่วั จงึ เติมสารทาํ ความเยน็ เขา้ ไปและเม่ือเตมิ เสร็จแลว้ ตอ้ งตรวจสอบ รอยรัว่ อีกคร้ังหน่ึงจึงจะสมบรู ณ์ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ จดุ ประสงค์ทวั่ ไป เพอื่ ใหน้ กั เรียน สามารถบรรจสุ ารทาํ ความเยน็ ในระบบปรบั อากาศรถยนต์ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อนกั ศกึ ษาเรียนชุดการสอนท่ี 5 แลว้ นกั เรียนสามารถ 1. ทาํ สุญญากาศในระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้ 2. บรรจุสารทาํ ความเยน็ R-12 และ R-134a ได้ 3. ตรวจหารอยร่วั ในระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้ เนือ้ หา 6. วธิ ีการทาํ สุญญากาศในระบบปรบั อากาศรถยนต์ 7. วธิ ีการบรรจสุ ารทาํ ความเยน็ ในระบบปรับอากาศรถยนต์ 8. ขอ้ แตกตา่ งของระบบปรับอากาศรถยนตท์ ีใ่ ชส้ ารทาํ ความเยน็ R-12 กบั R-134a 9. วธิ ีการตรวจหารอยรั่วในระบบปรับอากาศรถยนต์

กจิ กรรมการเรียนการสอน กจิ กรรมการเรียนการสอน 1. ข้นั นาํ เขา้ สู่บทเรียน 1.1 นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 1.2 ครูซกั ถามเรื่องการทาํ สุญญากาศในระบบปรับอากาศรถยนต์ 1.3 ครูซกั ถามเรื่องสารทาํ ความเยน็ ในระบบปรบั อากาศรถยนต์ 1.4 ครูซกั ถามเรื่องการตรวจหารอยร่ัวในระบบปรบั อากาศรถยนต์ 2. ข้นั สาธิตหรือยกตวั อยา่ ง 2.1 ครูแสดงวธิ ีการทาํ สุญญากาศในระบบปรบั อากาศรถยนต์ 2.2 ครูอธิบายวธิ ีการบรรจุสารทาํ ความเยน็ ในระบบปรับอากาศรถยนต์ 2.3 ครูแสดงวธิ ีการบรรจุสารทาํ ความเยน็ ในระบบปรบั อากาศรถยนต์ 2.4 ครูแสดงวธิ ีการตรวจหารอยรั่วในระบบปรบั อากาศรถยนต์ 3. ข้นั ฝึกปฏบิ ตั ิ 3.1 แบ่งกลุ่มนกั เรียนฝึกทาํ สุญญากาศในรถยนตท์ ใี่ ชฝ้ ึกปฏบิ ตั ิ 3.2 แบง่ กลุ่มนกั เรียนฝึกบรรจุสารทาํ ความเยน็ ในรถยนตท์ ี่ใชฝ้ ึกปฏบิ ตั ิ 3.3 แบง่ กลุ่มนกั เรียนฝึกตรวจหารอยรว่ั ในรถยนตท์ ใ่ี ชฝ้ ึกปฏิบตั ิ 4. ข้นั สรุปและตรวจสอบ 4.1 ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มช่วยกนั อภปิ รายการปฏิบตั งิ าน 4.2 ตรวจสอบความถูกตอ้ งในการฝึกปฏบิ ตั ิ 5. ข้นั ฝึกใหเ้ กิดความชาํ นาญ ครูผสู้ อนแนะนาํ เพมิ่ เตมิ จากการอภิปรายและตรวจผลงาน ของนกั เรียนแลว้ ใหฝ้ ึก ซ้าํ อีกจนสามารถปฏิบตั ไิ ดเ้ ป็นอยา่ งดี 6. ข้นั ประเมินผล 1. ซกั ถามในระหวา่ งฝึกปฏบิ ตั ิ 2. สงั เกตการปฏิบตั งิ าน 3. ตรวจการปฏิบตั งิ าน 4. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน

ส่ือการเรียนการสอน 17.สื่อประกอบการสอนอุปกรณ์ รถยนตฝ์ ึกปฏิบตั ิแท่นฝึกวชิ าปรบั อากาศรถยนต์ ป๊ัมสุญญากาศ แมนนิโฟลดเ์ กจ สารทาํ ความเยน็ R-12, R-134a อุปกรณ์การตรวจสอบรอยร่วั ซ่ึงเป็นของ จริง 18.ใบความรู้ หน่วยท่ี 5 เรื่องการบรรจุสารทาํ ความเยน็ ในระบบปรับอากาศรถยนต์ 19.แบบทดสอบก่อน/หลงั เรียน 20.แบบฝึ กหดั 21.ใบงาน การวัดผล / ประเมินผล การวัดผล วดั ผลโดยวธิ ีการดงั น้ี 26. การทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 27. การซกั ถามระหวา่ งเรียน 28. ความสนใจระหวา่ งเรียน 29. บนั ทึกการปฏิบตั งิ าน 30. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน 31. คะแนนจากการทาํ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน การประเมนิ ผล ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ กาํ หนดจากระดบั คะแนนการวดั ผลดงั น้ี คะแนนร้อยละ 0 ถึง 49 ระดบั คะแนน(เกรด) 0 ผลการเรียนต่าํ กวา่ เกณฑข์ ้นั ต่าํ คะแนนร้อยละ 50 ถึง 54 ระดบั คะแนน(เกรด) 1 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อนมาก คะแนนร้อยละ 55 ถึง 59 ระดบั คะแนน(เกรด) 1.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อน คะแนนร้อยละ 60 ถึง 64 ระดบั คะแนน(เกรด) 2 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ คะแนนร้อยละ 65 ถึง 69 ระดบั คะแนน(เกรด) 2.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ คะแนนร้อยละ 70 ถึง 74 ระดบั คะแนน(เกรด) 3 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ี คะแนนร้อยละ 75 ถึง 79 ระดบั คะแนน(เกรด) 3.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีมาก คะแนนร้อยละ 80 ถึง 100 ระดบั คะแนน(เกรด) 4 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีเยยี่ ม หมายเหตุ น้าํ หนกั ของคะแนนในการประเมินผลคะแนนจากการตรวจผลงาน 80 % จากการทดสอบหลงั เรียน 20 %

… แผนการสอนท่ี 6 หน่วยท่ี 6 ชื่อวิชา งานปรบั อากาศยานยนต์ รหสั 20101-2105 ช่ือหน่วย การติดต้งั ระบบปรับอากาศยานยนต์ สอนคร้ังท่ี 14-15 เวลา 8 ชม. สาระสําคญั การติดต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนต์ มีข้นั ตอนท่คี อ่ นขา้ งจะยงุ่ ยาก และตอ้ งการความละเอียดพถิ ีพถิ นั เพราะพ้นื ท่ีที่ติดต้งั คอื รถยนต์ การเกิดขอ้ ผดิ พลาดจงึ ไม่ควรเกิดข้ึนเลย เพราะ ฉะน้นั ช่างที่ทาํ การติดต้งั ระบบ ปรับอากาศรถยนต์ ตอ้ งเป็นผทู้ ี่มีความชาํ นาญ มีความรูร้ ะบบปรบั อากาศรถยนตอ์ ยา่ งเดียวไม่พอ ตอ้ งรู้จกั ระบบต่างๆ ภายในรถยนตด์ ว้ ย ความรู้ เขา้ ใจในการตดิ ต้งั อุปกรณ์ปรบั อากาศคอื สิ่งสาํ คญั รถยนตแ์ ต่ละยห่ี อ้ มีตาํ แหน่งติดต้งั อุปกรณ์ทีแ่ ตกต่างกนั มีขนาดต่างกนั การฝึกฝนติดต้งั อุปกรณ์ เช่น คอมเพรสเซอร์ คอนเดนเซอร์ อีวาปอเรเตอร์ รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ และการเดินท่อเช่ือมต่ออุปกรณ์ ตลอดจนข้นั ตอน ทาํ สุญญากาศ ตรวจรอยร่ัว บรรจสุ ารทาํ ความเยน็ คอื ส่ิงท่ีนกั ศกึ ษาจะไดป้ ฏิบตั ิในแผนการสอนน้ี เพอื่ ใหเ้ กิด ความชาํ นาญ และเป็นช่างท่ดี ีในอนาคต จดุ ประสงค์การเรียนรู้ จดุ ประสงค์ท่ัวไป เพอ่ื ใหน้ กั เรียนสามารถตดิ ต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนตไ์ ด้ จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม เม่ือนกั เรียนเรียนชุดการสอนท่ี 6 แลว้ นกั เรียนสามารถ ติดต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนตไ์ ด้ เนือ้ หา การตดิ ต้งั ระบบปรับอากาศรถยนต์

กจิ กรรมการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนการสอน 7. ข้นั นาํ เขา้ สู่บทเรียน 7.1 นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 7.2 นาํ เขา้ สู่บทเรียน ดว้ ยวธิ ีการซกั ถาม 8. ข้นั สาธิตหรือยกตวั อยา่ ง 8.1 ครูผสู้ อนยกตวั อยา่ งการตดิ ต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนต์ 8.2 อธิบายวธิ ีการติดต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนต์ 9. ข้นั ฝึกปฏบิ ตั ิ 9.1 นกั เรียนแบ่งกลุ่มปฏิบตั ิตดิ ต้งั ระบบปรับอากาศรถยนต์ 9.2 ฝึกปฏิบตั ิตามใบงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย 10.ข้นั สรุปและตรวจสอบ 10.1 นกั เรียนส่งงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย 10.2 ครูผสู้ อนตรวจสอบผลการปฏบิ ตั ิงาน 10.3 ครูผสู้ อนเสนอแนะเพม่ิ เตมิ 11.ข้นั ฝึกใหเ้ กิดความชาํ นาญ 11.1 นกั เรียนที่ไดร้ ับการตรวจสอบแลว้ ดาํ เนินการฝึกฝนเพมิ่ เตมิ 11.2 ฝึกปฏิบตั ิปรับปรุงเทคนิคการตดิ ต้งั ใหเ้ กิดความชาํ นาญ 12.ข้นั ประเมินผล 12.1 ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน 12.2 ซกั ถาม - สงั เกต 12.3 ตรวจบนั ทึกการปฏบิ ตั งิ าน ส่ือการเรียนการสอน เคร่ืองมือ 22. ใบความรู้ 23. ส่ือประกอบการสอนอุปกรณ์ 5 ชนิด ชุดสาธิตระบบปรับอากาศรถยนต์ ตดิ ต้งั ปั๊มสุญญากาศ แมนนิโฟลดเ์ กจ สารทาํ ความเยน็ ซ่ึงเป็ นของจริง 24. แบบทดสอบก่อน/หลงั เรียน 25. แบบฝึกหดั 26. ใบงาน

การวัดผล / ประเมนิ ผล การวดั ผล วดั ผลโดยวธิ ีการดงั น้ี 32. การทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 33. การซกั ถามระหวา่ งเรียน 34. ความสนใจระหวา่ งเรียน 35. บนั ทกึ การปฏบิ ตั งิ าน 36. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน 37. คะแนนจากการทาํ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน การประเมนิ ผล ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ กาํ หนดจากระดบั คะแนนการวดั ผลดงั น้ี คะแนนร้อยละ 0 ถึง 49 ระดบั คะแนน(เกรด) 0 ผลการเรียนต่าํ กวา่ เกณฑข์ ้นั ต่าํ คะแนนร้อยละ 50 ถึง 54 ระดบั คะแนน(เกรด) 1 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อนมาก คะแนนร้อยละ 55 ถึง 59 ระดบั คะแนน(เกรด) 1.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อน คะแนนร้อยละ 60 ถึง 64 ระดบั คะแนน(เกรด) 2 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ คะแนนร้อยละ 65 ถึง 69 ระดบั คะแนน(เกรด) 2.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ คะแนนร้อยละ 70 ถึง 74 ระดบั คะแนน(เกรด) 3 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ี คะแนนร้อยละ 75 ถึง 79 ระดบั คะแนน(เกรด) 3.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีมาก คะแนนร้อยละ 80 ถึง 100 ระดบั คะแนน(เกรด) 4 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีเยย่ี ม หมายเหตุ น้าํ หนกั ของคะแนนในการประเมินผลคะแนนจากการตรวจผลงาน 80 % จากการทดสอบหลงั เรียน 20 %

แผนการสอนท่ี 7 หน่วยที่ 7 ชื่อวชิ า งานปรับอากาศยานยนต์ รหสั 20101-2105 ชื่อหน่วย การหาประสิทธิภาพระบบปรบั อากาศยานยนต์ สอนคร้ังที่ 16 เวลา 4 ชม. สาระสําคญั ระบบปรับอากาศรถยนตเ์ ม่ือติดต้งั เสร็จสิ้นสมบูรณ์หรือเม่ือมีการบรรจสุ ารทาํ ความเยน็ เสร็จส้ินควรมีการทดสอบประสิทธิภาพของระบบดว้ ย ซ่ึงถา้ ประสิทธิภาพอยใู่ นเกณฑท์ ี่เหมาะสมก็เป็ นสิ่งท่ดี ี ในการนาํ ไปใชง้ านตอ่ ไป ถา้ ประสิทธิภาพดอ้ ยกวา่ มาตรฐาน ซ่ึงก็ คอื ระบบปรบั อากาศรถยนต์ ไม่คอ่ ยเยน็ นน่ั เองและถา้ ประสิทธิภาพสูงกวา่ มาตรฐาน ซ่ึงก็คอื ระบบปรับอากาศรถยนต์ จะเยน็ เกินไป เกินความจาํ เป็ น อนั อาจจะก่อใหเ้ กิดผลเสียตามมา เช่น มีเกลด็ น้าํ แขง็ เกาะทค่ี รีบอีวาปอเรเตอร์ ลมเยน็ ไม่คอ่ ยออกมีน้าํ กระเดน็ ออกมาจากหนา้ กากชุดอีวาปอเรเตอร์ ขดท่อ อีวาปอเรเตอร์ผกุ ร่อนง่ายและร่ัว การทดสอบ ประสิทธิภาพจะบอกให้เราทราบวา่ ระบบปรับอากาศรถยนตท์ ่ีใชอ้ ยมู่ ีประสิทธิภาพอยใู่ นระดบั ใด เพ่อื ทีจ่ ะได้ ปรับปรุงแกไ้ ขตอ่ ไปกรณีทีไ่ ม่เขา้ มาตรฐาน จดุ ประสงค์การเรียนรู้ จดุ ประสงค์ทั่วไป เพอื่ ใหน้ กั เรียน สามารถหาค่าประสิทธิภาพในระบบปรบั อากาศในรถยนตไ์ ด้ จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม เมื่อนกั เรียนเรียนชุดการสอนที่ 7 แลว้ นกั เรียนสามารถ 1. ทดสอบหาความช้ืนในระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้ 2. ทดสอบหาอุณหภูมิในระบบปรบั อากาศรถยนตไ์ ด้ 3. อ่านค่าตารางความช้ืนสมั พทั ธไ์ ด้ เนื้อหา 1. ความช้ืนในอากาศ 2. อุณหภูมิท่เี หมาะสมกบั ร่างกายมนุษย์ 3. การอ่านค่าตารางความช้ืนสมั พทั ธ์

กจิ กรรมการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนการสอน 13.ข้นั นาํ เขา้ สู่บทเรียน 13.1 นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 13.2 ซกั ถามเรื่องอุณหภูมิทม่ี นุษยต์ อ้ งการ 13.3 เครื่องมือการวดั อุณหภมู ิท่มี ีใชก้ นั อยทู่ ว่ั ไป 14.ข้นั สาธิตหรือยกตวั อยา่ ง 2.1 อธิบายการอ่านค่าอุณหภมู ิในเทอร์โมมิเตอร์ 2.2 อธิบายการอ่านคา่ ความชื่นสมั พทั ธ์ เทียบกบั ตารางไซโครเมตริชาร์ท 2.3 อธิบายกราฟหาค่าประสิทธิภาพระบบปรับอากาศรถยนต์ 15.ข้นั ฝึกปฏบิ ตั ิ 15.1 ใหน้ กั เรียนหาประสิทธิภาพตามข้นั ตอนท่กี าํ หนดให้ 15.2 แบง่ กลุ่มนกั เรียนหาประสิทธิภาพระบบปรบั อากาศรถยนต์ 15.3 แบง่ กลุ่มอภิปรายงานท่ไี ดป้ ฏบิ ตั ิ งานมีปัญหาหรือุปสรรคอะไร เพอ่ื นาํ มาปรับปรุง แกไ้ ข 16.ข้นั สรุปและตรวจสอบ 16.1 สรุปการฝึกปฏิบตั ิงานร่วมกนั 16.2 ตรวจสอบความถูกตอ้ งการหาประสิทธิภาพระบบปรับอากาศรถยนต์ 17.ข้นั ฝึกใหเ้ กิดความชาํ นาญ ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่มใหฝ้ ึกปฏบิ ตั ิกบั ระบบปรับอากาศรถยนตข์ องจริงจนเกิดความชาํ นาญ และ หดั อ่านค่าตารางไซโครเมตริชาร์ทจนคล่องและชาํ นาญดว้ ย 18.ข้นั ประเมินผล 18.1 จากการซกั ถาม 18.2 จากการสงั เกต 18.3 ตรวจบนั ทกึ การปฏิบตั ิงาน 18.4 แบบทดสอบก่อน - หลงั เรียน

….……… สื่อการเรียนการสอน 27. ใบความรู้ หน่วยท่ี 7 เร่ืองการหาประสิทธิภาพระบบปรับอากาศรถยนต์ 28. ส่ือประกอบการสอนอุปกรณ์ 3 ชนิด เทอร์โมมิเตอร์แบบกระเปาะเปี ยก แบบกระเปาะแหง้ ตารางไซโครเมตริชาร์ท ซ่ึงเป็ นของจริง 29. แบบทดสอบก่อน/หลงั เรียน 30. แบบฝึกหดั 31. ใบงาน การวัดผล / ประเมนิ ผล การวดั ผล วดั ผลโดยวธิ ีการดงั น้ี 38. การทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 39. การซกั ถามระหวา่ งเรียน 40. ความสนใจระหวา่ งเรียน 41. บนั ทึกการปฏบิ ตั งิ าน 42. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน 43. คะแนนจากการทาํ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน การประเมนิ ผล ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ กาํ หนดจากระดบั คะแนนการวดั ผลดงั น้ี คะแนนร้อยละ 0 ถึง 49 ระดบั คะแนน(เกรด) 0 ผลการเรียนต่าํ กวา่ เกณฑข์ ้นั ต่าํ คะแนนร้อยละ 50 ถึง 54 ระดบั คะแนน(เกรด) 1 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อนมาก คะแนนร้อยละ 55 ถึง 59 ระดบั คะแนน(เกรด) 1.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อน คะแนนร้อยละ 60 ถึง 64 ระดบั คะแนน(เกรด) 2 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ คะแนนร้อยละ 65 ถึง 69 ระดบั คะแนน(เกรด) 2.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ คะแนนร้อยละ 70 ถึง 74 ระดบั คะแนน(เกรด) 3 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ี คะแนนร้อยละ 75 ถึง 79 ระดบั คะแนน(เกรด) 3.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีมาก คะแนนร้อยละ 80 ถึง 100 ระดบั คะแนน(เกรด) 4 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีเยย่ี ม หมายเหตุ น้าํ หนกั ของคะแนนในการประเมินผลคะแนนจากการตรวจผลงาน 80 % จากการทดสอบหลงั เรียน 20 %

แผนการสอนท่ี 8 หน่วยท่ี 8 ชื่อวชิ า งานปรับอากาศยานยนต์ รหสั 20101-2105 ช่ือหน่วย การคิดราคางานปรบั อากาศยานยนต์ สอนคร้ังท่ี 17 เวลา 4 ชม. สาระสําคญั การคดิ ราคาค่าบริการงานปรบั อากาศรถยนตน์ ้นั ผปู้ ระกอบการหรือช่างผใู้ หบ้ ริการจะตอ้ งคดิ ออกมา เพอ่ื คดิ ราคากบั ลูกคา้ หรือผเู้ ขา้ รบั บริการ การประมาณราคา กค็ ือ แยกงานเป็ นงานยอ่ ย ๆ จากน้นั จะนาํ เอา งานยอ่ ย ๆ น้นั มาคิดแยกเป็นคา่ แรง ค่าวสั ดุอุปกรณ์และกาํ ไรท่ีตอ้ งการ ก็จะไดป้ ระมาณราคาในงานน้นั เพอื่ แจง้ แก่ลูกคา้ จุดประสงค์การเรียนรู้ จดุ ประสงค์ทวั่ ไป เพอื่ ใหน้ กั เรียนมีหลกั การคดิ ราคาในการบริการงานปรับอากาศรถยนต์ ในลกั ษณะต่าง ๆ จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม เมื่อนกั เรียนเรียนชุดการสอนท่ี 8 แลว้ นกั เรียนสามารถ 8. อธิบายการประมาณราคาคา่ บริการงานปรับอากาศรถยนตไ์ ด้ 9. คาํ นวณหาราคาค่าแรงได้ 10. คาํ นวณการหาราคาทุนได้ 11. คาํ นวณราคาคา่ บริการได้ เนือ้ หา 1. การประมาณราคาคา่ บริการงานปรับอากาศรถยนต์ 2. การหาราคาคา่ แรง 3. การหาราคาทนุ 4. การหาคา่ บริการ

กจิ กรรมการเรียนการสอน กจิ กรรมการเรียนการสอน 19.ข้นั นาํ เขา้ สู่บทเรียน 19.1 นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 19.2 ซกั ถามเร่ืองการคิดราคางานปรบั อากาศรถยนต์ 20.ข้นั สาธิตหรือยกตวั อยา่ ง 2.1 อธิบายหลกั การคิดราคา 2.2 นกั เรียนยกตวั อยา่ งการคดิ ราคาทเ่ี คยพบเห็น 21.ข้นั ฝึกปฏิบตั ิ นกั เรียนทาํ แบบฝึกหดั 22.ข้นั สรุปและตรวจสอบ 22.1 ซกั ถามหลกั การคิดราคาเป็ นรายบคุ คล 22.2 อภิปรายเป็นกลุ่ม 22.3 ตรวจแบบฝึกหดั 23.ข้นั ประเมินผล 23.1 ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน 23.2 ซกั ถาม 23.3 สงั เกต 23.4 ตรวจบนั ทึกการปฏิบตั งิ าน ส่ือการเรียนการสอน 1. ใบความรู้ 2. แบบทดสอบก่อน/หลงั เรียน 3. แบบฝึกหดั ….………

การวัดผล / ประเมนิ ผล การวัดผล วดั ผลโดยวธิ ีการดงั น้ี 44. การทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 45. การซกั ถามระหวา่ งเรียน 46. ความสนใจระหวา่ งเรียน 47. บนั ทกึ การปฏิบตั งิ าน 48. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน 49. คะแนนจากการทาํ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน การประเมนิ ผล ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ กาํ หนดจากระดบั คะแนนการวดั ผลดงั น้ี คะแนนร้อยละ 0 ถึง 49 ระดบั คะแนน(เกรด) 0 ผลการเรียนต่าํ กว่าเกณฑข์ ้นั ต่าํ คะแนนร้อยละ 50 ถึง 54 ระดบั คะแนน(เกรด) 1 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อนมาก คะแนนร้อยละ 55 ถึง 59 ระดบั คะแนน(เกรด) 1.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อน คะแนนร้อยละ 60 ถึง 64 ระดบั คะแนน(เกรด) 2 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ คะแนนร้อยละ 65 ถึง 69 ระดบั คะแนน(เกรด) 2.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ คะแนนร้อยละ 70 ถึง 74 ระดบั คะแนน(เกรด) 3 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ี คะแนนร้อยละ 75 ถึง 79 ระดบั คะแนน(เกรด) 3.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีมาก คะแนนร้อยละ 80 ถึง 100 ระดบั คะแนน(เกรด) 4 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีเยยี่ ม หมายเหตุ น้าํ หนกั ของคะแนนในการประเมินผลคะแนนจากการตรวจผลงาน 80 % จากการทดสอบหลงั เรียน 20 %


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook