หน่วยที่ 8 อบุ ัติภยัสาระสาคญั ปจั จุบนั อบุ ตั ิภัยได้กลายเป็นปัญหาสาคญั ของประเทศ โดยในแตล่ ะปีมผี ู้ท่ไี ดร้ บั บาดเจ็บทพุ พลภาพ เสียชีวติ และทรัพย์สินจานวนมาก ไมว่ ่าจะเป็นอบุ ัตภิ ัยจาก การทางาน หรอื อุบัติภัยท่ีเกดิ ขนึ้ ภายในบา้ นในสถานศึกษา หรือในชุมชน แนวทางในการป้องกันและแก้ไขอุบัตภิ ัยและบทบาทของประชาสังคมกับในการป้องกนั อุบัตภิ ยั ที่เกิด จงึ มีความสาคญั ตอ่ การเรียนรู้1. ความหมายของคาว่า อบุ ัตเิ หตุ คาว่า “อุบัตภิ ัย” ตามพจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑิตสถาน อ่านวา่ อ่านว่า อุ-บัด-ต-ิ พยัเปน็ คาท่ีประกอบดว้ ยคาว่า อุบัติ หมายถงึ เกิดขนึ้ . กบั ภยั หมายถึง สิ่งทีท่ าให้กลวั หรอื อนั ตราย.อุบัติภัย จึงหมายถงึ อันตรายทเ่ี กิดขึ้น เฉลิมชัย ชัยกติ ตภิ รณ์ และชัยยะ พงษพ์ านชิ (2533) ให้ความหมายของคาวา่ อบุ ัติภยั ว่าหมายถงึ เหตุการณ์ทเ่ี กดิ ข้ึนโดยไมม่ ีใครคาดคิด ไมไ่ ด้ต้งั ใจให้เกิดข้ึนไม่มีการวางแผนไวล้ ว่ งหนา้ และไม่สามารถควบคุมได้” อุบัตภิ ยั จงึ หมายถงึ ภยั หรอื อนั ตรายทเ่ี กิดจากอุบัตเิ หตุ เปน็ ส่งิ ทีเ่ กดิ ขน้ึ อย่างกะทันหัน ไม่สามารถคาดการณ์ลว่ งหน้าได้ ไม่มีผใู้ ดจงใจหรือทาให้เกิดขึ้น เชน่ คนไทยเปน็ คนใจบุญ สังเกตไดจ้ ากการบรจิ าคชว่ ยเหลือผูป้ ระสบอบุ ัติภัยต่าง ๆ อย่างเตม็ ที่. รฐั บาลควรมนี โยบายปอ้ งกนั ความเส่ียงดา้ นอบุ ตั ิภยั . ถา้ เราไม่ประมาทและมคี วามรอบคอบก็จะลดอุบตั ิภัยได้ ส่วนคาวา่ “อุบัตเิ หตุ” มีความหมายวา่ เหตกุ ารณ์ที่เกดิ ขนึ้ โดยไม่คาดฝันแลว้ มีผลกระทบกระเทือนต่อการทางาน โดยให้งานหยุดชะงกั เคร่อื งมอื เครื่องจักรชารุดเสียหาย ผลผลติ ตกตา่ ราคาต้นทุนสินค้าเพ่ิมสงู ขนึ้ ผปู้ ระสบอบุ ัติเหตอุ าจจะรอดชีวิตบาดเจบ็ หรือพิการ หรือเสียชวี ติ ได้ อุบัติเหตุเป็นเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนโดยไม่คาดคิด ไม่มีการวางแผนล่วงหน้าและควบคุมไม่ได้เช่น การตกจากที่สูง การหกล้ม ฯลฯ ซ่ึงจะทาให้เกิดความสญู เสียต่อผู้ประสบอุบัติเหตุบุคคลอื่นหรือส่ิงอื่นที่เก่ียวข้องด้วย อุบัติเหตุจากการทางานเป็นเหตุการณ์ไม่คาดคิดที่เกิดขึ้นในขณะทางาน เช่นการบาดเจ็บจากการกระแทกหรอื บดของเครือ่ งจกั ร การถูกสิ่งของหลน่ ทับ ฯลฯ\" (วิวรรธน์กร สวัสดี,2547) ส่วนคาว่า “สถานการณ์เส่ียงต่อการเกิดอุบัติภัย” หมายถึง สถานการณ์ต่าง ๆ ท้ังที่เกิดจากตัวบุคคลหรือจากสภาพแวดล้อมท่ีเป็นปัจจัยส่งผลให้เกิดอุบัติภัยข้ึน เช่น ความประมาทของบุคคลการชารุดของอุปกรณ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้า การเกิดสภาพของทัศนวิสัยที่ไม่เอื้อต่อการจราจร เป็นต้น จากท่ีได้กล่าวผ่านมาพบว่า อุบัติภัยเกิดขึ้นได้หลายลักษณะ หลายกรณี ในระดับช้ันนี้จะกล่าวถึงสถานการณ์เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติภัยในสถานศึกษาและชุมชน เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจและนามาใช้เป็นแนวทางในการป้องกันอบุ ัตภิ ัยได้ต่อไป
2. สถานการณเ์ สี่ยงตอ่ การเกดิ อบุ ตั ิภัยในสถานศึกษา อุบัติภัยต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในสถานศึกษาส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากสถานการณ์เสี่ยงต่อการเกิดอุบตั ิภัยซง่ึ สรุปได้ ดงั นี้ 1. สถานการณ์เส่ียงท่ีเกิดจากสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา เช่น สภาพของอาคารเรียนเก่าทรุดโทรม อยู่ในระหวา่ งการก่อสร้าง โต๊ะเรียน เก้าอี้ อยู่ในสภาพชารดุ บริเวณสถานศึกษามีหญ้าข้ึนรกรงุ รัง เป็นบอ่ บริเวณสระนา้ ไมม่ รี ัว้ กั้น 2. สถานการณ์เส่ยี งที่เกดิ จากตัวนักเรียนทขี่ าดความระมัดระวัง หรือร้เู ท่าไม่ถึงการณ์ เช่นการฝกึ ปฏิบัตงิ าน การเลน่ ตอ่ สู้กัน การหยอกล้อกนั ริมระเบียง รมิ สระนา้ การปนี ปา่ ยไมเ้ ล่น ฯลฯรวมไปถึงการมีสภาพรา่ งกายอยู่ในสภาวะท่ีไมป่ กติก็อาจนามาสู่การเกิดอบุ ัติเหตุได้ เชน่ การเจ็บป่วยมอี าการอ่อนเพลีย หรือมโี รคประจาตัว 3. สถานการณ์เสย่ี งที่เกิดจากกิจกรรมการเรียนการสอน เชน่ การใชเ้ ครื่องจักร การทดลองวทิ ยาศาสตรท์ ี่ใช้สารเคมี ถา้ นักเรียนขาดความรู้เร่อื งสารเคมกี อ็ าจไดร้ ับอันตรายได้ หรืออปุ กรณ์วทิ ยาศาสตรบ์ างอยา่ งถา้ ใช้โดยขาดความระมดั ระวังก็อาจทาใหเ้ กิดอุบตั ภิ ยั รวมไปถงึ การเลน่ กีฬาและกิจกรรมนนั ทนาการ ถ้าไมไ่ ด้เรียนรู้ทักษะที่ถูกต้องก็อาจเกดิ อบุ ัตเิ หตุ และเกดิ การบาดเจบ็ ได้ รปู ท่ี 8-1 อบุ ตั ิภัยในสภาพแวดลอ้ ม ในการฝึกปฏบิ ัติงาน และในการเรยี นการสอน ทีม่ า: http://sameaf.mfa.go.th/th/news/detail.php?ID=3580&SECTION=NEWS 4. สถานการณเ์ สีย่ งท่เี กิดจากภัยอืน่ ๆ เช่น อบุ ัติเหตจุ ากอัคคภี ยั การเกิดอบุ ตั เิ หตจุ ากการใช้ไฟฟ้า อบุ ตั ิเหตจุ ากการจราจรในสถานศกึ ษา หรอื จากสาเหตอุ ืน่ ๆ ทส่ี บื เนอื่ งมาจากการสขุ าภิบาลสงิ่ แวดลอ้ มในสถานศกึ ษาท่ีไม่ดี3. สถานการณเ์ กิดอบุ ัติภยั ในชุมชน สถานการณ์เสีย่ งต่อการเกดิ อุบัตภิ ัยในชุมชน เกดิ จากหลายสาเหตซุ ่ึงอาจสรปุ ได้ ดงั นี้ 1. สถานการณเ์ สีย่ งท่เี กิดจากพฤติกรรมท่ีไมป่ ลอดภยั หรือกระทาการโดยประมาท เช่นทงิ้ กน้ บุหรีโ่ ดยไม่ดบั ไฟก่อน จุดธปู เทียนบูชาพระแล้วไม่ดบั ให้สนิท การใช้เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าท่ีไม่ได้มาตรฐาน ขบั รถดว้ ยความเรว็ สงู ในชมุ ชนเปน็ เหตใุ ห้ผไู้ ดร้ ับบาดเจ็บ เป็นต้น 2. สถานการณ์เสี่ยงท่เี กดิ จากสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย เชน่ การปลกู บ้านเรือนอยอู่ ย่าง
แออัดไม่ถูกสุขลกั ษณะ หรืออยู่ใกล้แหล่งโทรม อุปกรณ์ไฟฟ้าชารุดแลว้ ไมร่ ีบซ่อม เก็บเช้ือเพลิงไวใ้ นท่ีไมป่ ลอดภัย เปน็ ตน้ รูปท่ี 8-2 การสรา้ งเสรมิ สัมพันธภาพเป็นการสร้างมติ รภาพ ทีม่ า: http://www.semclubhouse.com/relationship-building แมอ้ บุ ัติภยั ท้ังในสถานศกึ ษาและในชุมชน เป็นสิง่ ท่ีเกดิ ขึน้ โดยมสี ถานการณต์ ่าง ๆ รอบตัวเป็นปัจจัยสาคัญ แต่อุบัตภิ ัยสามารถทจ่ี ะปอ้ งกนั ไดโ้ ดยเรมิ่ จากการทีเ่ ราตอ้ งรู้จักสร้างความปลอดภัยใหเ้ กดิ ขึน้ กบั ตัวเองก่อน แลว้ ขยายแนวคดิ เพอ่ื สร้างความตระหนักใหเ้ กิดขนึ้ กบั ชุมชน4. ผลกระทบจากพฤติกรรมเสี่ยงของบคุ คลท่สี ง่ ผลตอ่ การเกดิ อุบตั ภิ ยั พฤติกรรมเสีย่ งต่อการเกิดอุบัตภิ ัยของบคุ คลท้งั ทีต่ งั้ ใจและไมไ่ ดต้ ้ังใจ ย่อมนามาสู่ความสญู เสียตอ่ ทรพั ย์สิน รา่ งกายและจติ ใจ อีกทงั้ ยงั สง่ ผลกระทบต่อบคุ คลอื่น ชุมชน และประเทศชาติผลกระทบจากอบุ ัติภัยทเ่ี กดิ จากพฤติกรรมเสีย่ งของบุคคลสรุปได้ ดงั น้ี 1. ผลกระทบทางตรง ผ้ปู ระสบอุบตั ิภยั ไดร้ บั บาดเจ็บ อาจถงึ ขน้ั พิการ หรือเสยี ชีวิตรวมทั้งตอ้ งสูญเสยี เงินค่ารักษาพยาบาล ค่าซ่อมแซมวสั ดุ ยานพาหนะท่ีเสียหายอีกดว้ ย 2. ผลกระทบทางอ้อม ได้แก่ 1) สญู เสยี ทางดา้ นจติ ใจ ท้งั ตัวผู้ประสบอุบตั ภิ ยั เองและญาตพิ ีน่ ้องตอ้ งเสียใจ เศร้าใจรวมท้งั คนในชมุ ชนยอ่ มเสยี ขวัญและวติ กกังวลกับเหตุการณ์ที่เกดิ ขึน้ 2) สูญเสียโอกาสในชวี ติ ผปู้ ระสบอุบตั ภิ ยั บางคนได้รับบาดเจ็บจนถงึ ข้นั พิการ ทาให้เสยีโอกาสในการใชช้ วี ิตอย่างคนปกติ และเสียโอกาสทจ่ี ะกา้ วหนา้ ในการงาน 3) สญู เสียกาลงั สาคัญของครอบครัวและประเทศชาติ การสูญเสียจากอุบตั ิภัยบางคร้ังอาจถึงกับเสยี ชวี ติ หากผ้ปู ระสบภยั เปน็ หัวหนา้ ครอบครวั ทาให้ขาดกาลงั ในการหารายไดม้ าจุนเจอืครอบครวั หากเกิดกับวยั หนมุ่ สาวหรือคนในวัยทางาน ก็จะทาให้สูญเสยี กาลังสาคญั ของชาติ ในการพฒั นาประเทศต่อไป 4) สูญเสียเวลา สมาชิกในครอบครวั หรือญาตพิ ่นี ้องต้องเสียเวลาในการดูแลรกั ษาผปู้ ระสบภัยบางคนอาจชว่ ยเหลือตนเองไม่ได้ทาให้ตกเป็นภาระของคนในครอบครวั ท่ตี ้องมาคอยดูแลในเร่อื งของของการกนิ อยู่หลับนอน การทาความสะอาดร่างกายใหก้ ับผปู้ ระสบภัย เปน็ ต้น
5. แนวทางในการป้องกันและแก้ไขอบุ ัติภยั ในสถานศึกษาและชมุ ชน อบุ ตั ิภยั ในสถานศึกษาและชมุ ชน เมอ่ื เกดิ ขึน้ แลว้ ไม่วา่ จะเป็นอบุ ตั ภิ ยั ทีเ่ กดิ ขึ้นในบริเวณใดลว้ นสง่ ผลกระทบต่อผปู้ ระสบภัยในลกั ษณะตา่ ง ๆ ดงั ท่กี ลา่ วผ่านมาแลว้ และเมือ่ พจิ ารณาถึงลกั ษณะของอบุ ัติภัยทเ่ี กดิ ขนึ้ ในแตล่ ะสถานที่จะพบว่า ลกั ษณะของอบุ ัติภยั ทเ่ี กิดข้นึ บ่อยในสถานศึกษา ไดแ้ ก่การพลัดตกหกล้ม การถกู ของแหลมหรอื ของมคี มทิม่ หรือตา การเกดิ อบุ ัตเิ หตจุ ากการเรียนการสอนการเกดิ อุบตั เิ หตุจากการชารุดทรุดโทรมของอาคารและอุปกรณเ์ คร่ืองใช้ภายในห้องเรียน เป็นตน้สว่ นอุบตั ิภยั ท่มี ักเกดิ ได้บอ่ ยในชมุ ชน ไดแ้ ก่ การเกดิ อบุ ัติภัยจากการจราจร จากอคั คีภัย จากการจมน้า หรือแม้แต่ภยั จากมนุษย์ดว้ ยกันเอง 5.1 แนวทางการป้องกันและแกไ้ ขอุบตั ภิ ัยในสถานศกึ ษา การปอ้ งกันและแก้ไขอุบัติภัยในสถานศกึ ษาใหบ้ รรลุผลหรือประสบผลได้อยา่ งย่ังยืนน้นั ต้องคานงึ ถงึ หลักความปลอดภัย ซง่ึ ต้องเกิดมาจากองคป์ ระกอบทีส่ าคัญ 3 ส่วน ไดแ้ ก่ องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกบั บคุ คล (ผู้ที่อยใู่ นสถานศกึ ษาท้งั หมด) องค์ประกอบของสภาพแวดล้อมทีม่ ีความปลอดภยัและองคป์ ระกอบท่เี กีย่ วข้องกับการดาเนนิ การบรหิ ารงานด้านความปลอดภัยในสถานศึกษา 5.1.1 องค์ประกอบทีเ่ กี่ยวข้องกบั บคุ คล มีแนวทางการป้องกันและแกไ้ ข ดังนี้ 1) ผบู้ รหิ ารและครูในสถานศึกษาต้องรจู้ กั วิธกี ารช่วยเหลือปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ เมื่อนักเรยี นได้รบั อุบตั ิเหตุฉุกเฉนิ ควรมีการปรับปรุงห้องปฐมพยาบาลและสวสั ดิการเกี่ยวกับสขุ ภาพหากจาเป็นควรมีพยาบาลประจาสถานศึกษา ถา้ หากไมส่ ามารถจัดหาพยาบาลประจาสถานศกึ ษาได้ครทู ่ที าหน้าทีด่ ูแลเก่ียวกับสขุ ภาพของนกั เรียนต้องมีความรู้หรอื ผ่านการอบรมเร่ืองน้มี าโดยตรง 2) ทางสถานศกึ ษาควรจัดอบรมเกีย่ วกบั การป้องกันอุบตั ิภยั ให้กับนกั เรียน 3) ครใู นสถานศกึ ษาต้องคอยสอดส่องดูแลในส่วนตา่ ง ๆ ของสถานศึกษาหากเกดิเหตุใด ๆ ขน้ึ จะได้แก้ไขสถานการณ์ไดท้ นั ทว่ งที 4) ทางสถานศึกษาควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เก่ียวขอ้ งกับความปลอดภัยให้กับครู นักเรยี น บุคลากรในสถานศกึ ษา เพื่อสง่ เสริมการคิดอยา่ งปลอดภัย สรา้ งนสิ ยั ระมดั ระวงัและปลูกฝังการปอ้ งกันภัย โดยสามารถบรู ณาการเรอื่ งการป้องกนั อุบตั ิเหตุ อุบัติภัยจากการจราจรอคั คภี ยั และสารพิษต่าง ๆ เข้าไปในกจิ กรรมการเรียนการสอน และมุ่งเนน้ ให้มีการฝึกปฏิบตั ิหรอืกจิ กรรมสง่ เสรมิ ความปลอดภัยในสถานศึกษา 5.1.2. องค์ประกอบเก่ียวกับการจดั สภาพแวดลอ้ มให้มคี วามปลอดภัยภายในสถานศกึ ษา มแี นวทางปฏิบตั ิ ดังน้ี 1) การดแู ลบารงุ รักษา ซ่อมแซมโครงสรา้ งอาคาร ห้องเรียน โต๊ะ เกา้ อ้ี บนั ได และทางเดนิ ให้อยใู่ นสภาพท่ีม่ันคงแข็งแรง ใช้งานไดต้ ามความเหมาะสม 2) เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ ต้องจดั เกบ็ ใหเ้ ปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย และอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน 3) ควรจัดให้มีแสงสวา่ งเพียงพอ และมกี ารระบายอากาศท่ีดใี นหอ้ งเรียนหอ้ งปฏบิ ตั ิการ ห้องพยาบาล และหอ้ งตา่ ง ๆ ในอาคารเรยี น 4) สนามสถานศึกษา ไมว่ ่าจะเป็นสนามเดก็ เล่น สนามกีฬา และสนามหญ้า ต้อง
ดแู ลให้อย่ใู นสภาพไมช่ ารุด ไมเ่ ป็นหลมุ เป็นบอ่ และไม่มเี ศษวสั ดมุ คี ม 5) สนามเดก็ เลน่ ต้องจดั สภาพพืน้ ทส่ี นามให้ปลอดภยั เชน่ บอ่ ทรายควรมีความหนาอย่างน้อย 9-12 นิ้ว อุปกรณเ์ ครื่องเล่นต้องได้มาตรฐาน และติดตั้งได้อย่างถูกตอ้ งและปลอดภัยนอกจากน้ีควรดูแลอุปกรณเ์ คร่อื งเล่นให้ปลอดภัย และตรวจตราอยเู่ สมอ หากชารดุ ต้องรีบซอ่ มแซมแกไ้ ข 6) ตดิ ต้งั ป้ายประกาศเกย่ี วกบั คาเตอื นตามสถานท่ที ี่อาจจะเปน็ อนั ตรายต่อนักเรียนดังตัวอย่างข้อความเตือนในป้ายประกาศ เช่น สนามลืน่ บันไดชนั ลงชา้ ๆ เดนิ ชิดซา้ ย เป็นต้น 5.13. องคป์ ระกอบเกย่ี วข้องกับการดาเนินการดา้ นความปลอดภัยภายในสถานศึกษา มแี นวทางปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1) มีการจดั ระบบไฟฟา้ ทปี่ ลอดภัย โดยจัดวางสายไฟตา่ งๆ ให้เหมาะสม จัดใหม้ ีระบบความปลอดภยั หากเกิดกระแสไฟฟา้ ลดั วงจร โดยเฉพาะบรเิ วณตทู้ านา้ เยน็ ต้องหม่นั ตรวจสอบไม่ให้ชารดุ เสียหาย หากพบต้องดาเนินการแก้ไขทนั ที 2) มีการจดั ใหม้ รี ะบบปอ้ งกันอัคคีภัย มีอปุ กรณ์ดบั เพลิงทม่ี ีประสทิ ธิภาพ และควรมีการจาลองสถานการณ์เพ่ือฝกึ ซ้อมการหนไี ฟ 3) มกี ารจดั บริการความปลอดภยั ในการเดนิ ทางไปกลับสถานศึกษา โดยมหี วั หนา้กลมุ่ นา การข้ามถนนควรมคี รูเวร หรือตารวจจราจรคอยอานวยความสะดวกบรเิ วณหน้าสถานศึกษานอกจากนีใ้ นการให้บรกิ ารรถสถานศึกษา ตอ้ งจัดสถานทีจ่ อดรถรับ-ส่งนักเรียน แยกเป็นสัดส่วนจากท่ีจอดรถของผปู้ กครองนักเรยี น และท่ีสาคัญผู้ขบั รถของสถานศึกษาตอ้ งผ่านการอบรมการขับขีร่ ถยนต์มาเปน็ อยา่ งดี 4) จัดใหม้ ีป้ายเตือนความปลอดภยั ห้องปฐมพยาบาล หรือชุดปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นโดยต้องมีครูทผี่ ่านการอบรมความรู้การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ 5) มีการจัดต้ังชมรมทางด้านการป้องกันอุบตั ภิ ยั ในสถานศึกษา เพื่อเปิดโอกาสให้นกั เรยี นมีส่วนรว่ มในการแก้ปัญหากับบุคคลอืน่ ซ่ึงเป็นประสบการณ์ทีต่ นจะต้องพบในชีวิตประจาวัน 6) มีการจดั ต้ังกจิ กรรมพิเศษท่ีนอกเหนือจากการเรยี นการสอน เช่น การนานักเรยี นออกชว่ ยดูแลการจราจรบนท้องถนน เรียนรวู้ ิธปี ฏบิ ตั ิอยา่ งถูกต้อง 7) มีการจดั อบรมการเรียนการสอนทเี่ นน้ การทากจิ กรรมให้มีความรอบคอบและปลอดภยั เช่น กิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์ ครูต้องมคี วามชานาญ รอบคอบ และแนะนาวิธกี ารทดลองท่ีถกู ต้องและปลอดภัย
รปู ท่ี 8-3 ป้ายเตือนความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านในสถานประกอบการ ทมี่ า: http://www.thailandindustry.com/guru/view.php?id=15807§ion=9 5.2 แนวทางการปอ้ งกันและแกไ้ ขอุบัตภิ ยั ในชมุ ชน ดงั ทไ่ี ดก้ ล่าวมาแล้ววา่ อบุ ัตภิ ยั ทีม่ กั เกิดข้ึนได้บ่อยในชุมชน ไดแ้ ก่ อบุ ตั ิภัยท่ีมาจากการจราจร จากอัคคภี ยั จากการจมน้า และจากภัยมนษุ ยด์ ้วยกัน ซงึ่ ในแตล่ ะอบุ ัตภิ ยั มีแนวทางการป้องกนั และแกไ้ ข ดังน้ี 5.2.1. การปอ้ งกนั อุบัติภัยจากการจราจร 1) ควรเรยี นร้กู ฎจราจร และการใชร้ ถใชถ้ นนทถ่ี กู ตอ้ งปลอดภัย 2) ตอ้ งสวมหมวกนริ ภยั ขณะขับขี่ หรือซ้อนทา้ ยรถจักรยานยนต์ คาดเข็มขดั นิรภัยเมอ่ื ใช้รถยนต์ และรกั ษากฎจราจรอยา่ งเครง่ ครัด 3) ตอ้ งไมด่ ื่มสรุ าหรือของมึนเมาขณะขับขี่ ถา้ เกิดอาการง่วงนอน ควรหยดุ พักผอ่ นอย่าฝืนใจขับต่อไป 4) กอ่ นใช้ยานพาหนะ ควรตรวจดสู ภาพรถใหเ้ รียบรอ้ ย 5) ผู้ทโ่ี ดยสารรถจกั รยานยนต์ รถยนต์สว่ นตวั และรถประจาทาง ไม่ควรย่นื อวยั วะส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกายออกจากรถ ข้ึนหรอื ลงจากรถต้องรอให้รถจอดสนทิ เสยี ก่อน และไมร่ บกวนสมาธขิ องผขู้ ับขี่ 6) การเดนิ ถนน ควรเดนิ บนทางเท้า และเดนิ ชดิ ขวา ถ้าเดินบนถนนท่ีไมม่ ที างเท้าใหเ้ ดินในดา้ นที่มองเห็นรถว่งิ สวนมาทกุ ครัง้ 7) ถ้าจงู เด็ก ให้เดก็ เดนิ ดา้ นในและจับมือเด็กไวใ้ หม้ นั่ 8) การขา้ มถนน ควรใช้สะพานลอยหรอื ขา้ มตรงทางม้าลาย ในกรณที ่ีไมม่ ีสะพานลอยหรอื ทางมา้ ลาย ควรข้ามถนนโดยดทู ั้งทางด้านขวา-ซา้ ย-ขวา กอ่ นขา้ มเสมอ 9) อยา่ ขา้ มถนนโดยออกจากท่ีกาบงั ตัวอย่างกะทันหัน เชน่ ออกจากซอย ออกจากท้ายรถทจี่ อดอยู่ เสาไฟฟ้า ตู้โทรศพั ท์ เพราะอาจจะเกิดอนั ตรายได้ 10) ดูแลรกั ษา แก้ไข ปรับปรุง สภาพถนน สญั ญาณไฟ เคร่ืองหมายจราจร และสิ่งแวดล้อมอน่ื ๆ ใหอ้ ยู่ในสภาพที่มีความปลอดภยั ต่อการจราจร ซ่ึงตอ้ งรว่ มมือกนั ทั้งรฐั บาลและประชาชนผ้ใู ช้รถใช้ถนน 5.2.2. การปอ้ งกันอบุ ตั ภิ ยั จากอคั คีภยั 1) การจัดระเบียบเรียบร้อยของอาคารบา้ นเรือน ทัง้ ภายในและภายนอก เชน่ การจดั เกบ็ ขา้ วของเครือ่ งใชใ้ ห้เป็นหมวดหมู่ การขจดั สงิ่ รกรงุ รังภายในอาคารบา้ นเรอื นให้หมดไป เกบ็รกั ษาสิ่งท่ีอาจเกิดอัคคีภัยได้ง่ายไว้ให้เป็นสัดสว่ น 2) การตรวจตราซ่อมบารุงสง่ิ ทีน่ ามาใช้ในการประกอบกจิ การ เช่นอุปกรณ์ไฟฟ้าสายไฟ เครื่องจกั รกล ใหอ้ ยู่ในสภาพทสี่ มบรู ณ์และปลอดภัย
3) อยา่ ฝา่ ฝืนข้อห้ามที่พงึ ระวัง เช่น อยา่ ปล่อยให้เด็กเลน่ ไฟ ควรเก็บไมข้ ดี ไฟหรอื ไฟแชก็ ใหพ้ น้ มือเด็ก อยา่ จดุ ธปู จุดเทียนทงิ้ ไวโ้ ดยไมม่ ีคนดแุ ล อย่าเสยี บปล๊กั เคร่ืองใช้ไฟฟ้าทง้ิ ไว้ อยา่ ใช้อปุ กรณ์ไฟฟ้าทไี่ มไ่ ด้มาตรฐาน อยา่ จดุ หรือเผาขยะมูลฝอย หญ้าแห้ง โดยไมม่ ีคนดแู ล อย่าสูบบหุ ร่ีขณะเติมน้ามนั รถ ดแู ลการหุงต้มเมื่อเสร็จการหงุ ตม้ แล้วใหด้ บั ไฟ ถ้าใชเ้ ตาแก๊สต้องปดิ ให้สนทิ ทุกครัง้หลงั ใชง้ าน และก่อนเข้านอนควรตรวจตราภายในบา้ นใหเ้ รยี บร้อย 4) การให้ความร่วมมือที่ดี จะต้องปฏบิ ัตติ ามคาแนะนาที่เจ้าหน้าที่ดบั เพลิงใหไ้ ว้และปฏบิ ตั ิตามขอ้ ห้ามทวี่ างไว้เพ่อื ความปลอดภัย นอกจากนภ้ี ายในชมุ ชนควรจดั ให้มกี ารฝึกซอ้ มเพ่ือการหนีไฟไหม้ด้วย 5) เตรยี มอุปกรณส์ าหรบั ใชด้ บั เพลงไว้ให้พร้อม เชน่ ต้องมีนา้ ตมุ่ เตรยี มไวส้ าหรับสาดรด เตรยี มทรายและเคร่ืองดบั เพลงิ เคมีไว้ให้ถกู ท่ีสาหรับดับเพลิงขัน้ ต้น แตถ่ ้าหากเกิดอัคคีภัยขนึ้ผ้ปู ระสบเหตคุ วรปฏิบตั ติ น ดังนี้ (1) ตั้งสติให้ดี รีบแจง้ ข่าวเพลิงไหมก้ ับหนว่ ยดบั เพลิงที่ใกล้ท่ีสุด (2) หากมีความชานาญพอให้ดบั เพลิงดว้ ยเคร่ืองมือดบั เพลิงทอี่ ยูบ่ ริเวณใกล้เคยี งกบั ที่เกิดเหตุ (3) รีบหนใี หเ้ รว็ ท่สี ดุ หากมีควันไฟฟุ้งกระจายหนาทึบใชผ้ ้าชุบน้าปิดจมูกและใหก้ ม้ คลานหนีออกไป หายใจสนั้ ๆ ทางจมูก เพราะอากาศระดบั พ้นื ล่างดีกวา่ อากาศด้านบน และอยา่ หายใจทางปาก (4) หากอยูใ่ นอาคารหา้ มใชล้ ิฟตห์ รอื บันไดเล่อื นในขณะเกิดเหตุ (5) ถ้าติดอยู่ในห้องทม่ี คี วนั ไฟ ให้หมอบคลานตามพนื้ ไปยงั หน้าตา่ ง เพ่ือเปดิแล้วตะโกนขอความช่วยเหลอื และหายใจเอาอากาศบรสิ ทุ ธ์ิ (6) ใหค้ ลาประตูทุกบาน ถ้าร้อนอยา่ เปิด ถ้าเยน็ จึงเปดิ ออกช้าๆ ยืนหลงั พงิประตู ดูทางให้แน่ใจก่อน 5.2.3 การปอ้ งกนั อุบตั ภิ ยั เมื่ออย่ใู นท่ีชมุ ชน 1) เพื่อความไมป่ ระมาท สงั เกตหาทางออกฉุกเฉนิ บันไดหนีไฟ เม่ือเข้าไปอย่ใู นที่ชุมชน เชน่ โรงภาพยนตร์ หอประชุม ศูนย์การคา้ เปน็ ต้น 2) สถานท่ตี า่ ง ๆ เช่น สวนสนกุ เคร่ืองเล่นในหา้ งสรรพสินค้า และร้านอาหารผู้ประกอบการจะต้องมมี าตรการในการดูแลความปลอดภยั การซ่อมบารงุ รักษาอปุ กรณ์ให้ได้มาตรฐาน และมผี ู้ดแู ลเครอื่ งเล่นตลอดการใชบ้ ริการ 3) อบุ ัตเิ หตจุ ากการจมนา้ เป็นอบุ ตั ิเหตุอกี อยา่ งหน่งึ ท่สี ามารถเกดิ ได้ทุกสถานท่ี จงึควรหัดว่ายน้า และใชห้ ว่ งยางหรือเสือ้ ชชู ีพทุกครัง้ เวลาลงเรือ 4) หลกี เลีย่ งการไปอยู่ในทท่ี ่ีเสีย่ งอนั ตรายและมีความรนุ แรง เชน่ ท่ีมัว่ สมุ ของผมู้ ีพฤติกรรมเป็นอันธพาล คนเมาสุรา หรอื ยาเสพติด หรือเดินทางไปในท่เี ปลยี่ วยามวกิ าล6. แนวคดิ และทฤษฎีเกย่ี วกบั สาเหตุและความปลอดภยั ในการทางาน ในการปฏิบัติงานทุกประเภทนั้น ส่ิงสาคัญที่ต้องคานึงถึงเสมอ คือ ความปลอดภัย ในการปฏิบัติ โดยเฉพาะในงานท่ีมีความเสี่ยงสูงในที่จะได้รับอันตรายในการทางาน หากการป้องกันไม่รัดกุมเพียงพอก็จะก่อให้เกิดความเสียหายท้ังผู้ปฏิบัติงาน วัตถุดิบ และเคร่ืองจักรในการผลิต
อบุ ตั ิเหตุ สว่ นใหญเ่ กิดขนึ้ จากเครื่องจักรโดยการรู้เท่าไมถ่ งึ การณ์ และความประมาทของผูป้ ฏิบัติงานเอง ดังนั้นความปลอดภัยในการทางานจงึ เป็นความพอใจอย่างหนึ่งท่ีทุกฝ่ายควรมแี ก่กัน ซึง่ นับว่าเป็นหัวใจของการทางาน เราควรฝึกเสียต้ังแต่เริ่มแรก เม่ือมีความรู้และความเข้าใจแล้วน่ันหมายความว่าตลอดชีวิตของการทางานจะไม่ประสบ ความปลอดภัยในการทางาน คือ สภาพที่ปลอดภัยจากอุบัติเหตุต่าง ๆ เกิดแก่รา่ งกาย ชีวิต หรือทรัพย์สินในขณะที่ปฏิบัติงาน ซ่ึงก็คือสภาพการทางานให้ถกู ต้องโดยปราศจาก \"อบุ ตั ิเหตุ\" ในการทางาน แนวคิดและทฤษฎเี กยี่ วกับสาเหตุของการเกดิ อุบตั เิ หตุ ผรู้ ูห้ ลายทา่ นให้แนวคิดเก่ียวกับสาเหตุของการปฏบิ ัติงานสอดคล้องกนั พอสรปุ ได้ว่าสาเหตทุ ีก่ อ่ ให้เกิดอบุ ัติภัยแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. สาเหตุเกดิ จากคน การเกิดอบุ ัตภิ ัยมกั เกดิ จากความผิดพลาดหรือความบกพร่องของผใู้ ช้แรงงานซงึ่ มีปจั จยั หลายประการ คอื 1.1 บคุ ลิกภาพ บคุ ลิกภาพของผู้ใชแ้ รงงานมีอยู่ 2 ประเภท ประเภทแรก เรียกว่าบุคลกิ ภาพทางบวก ไดแ้ ก่ บคุ คลที่ชอบทาในส่งิ ท่ีถูกต้อง และเปน็ ที่ยอมรบั ของสังคมอยเู่ สมอผู้ใช้แรงงานประเภทนี้มักจะไมเ่ กิดอุบตั ภิ ัย ในทางตรงกันข้ามผู้ใช้แรงงานบางประเภทชอบทาในส่ิงทต่ี รงกันข้ามกับพวกแรก ไดแ้ ก่ ผ้ใู ช้แรงงานท่ีมบี ุคลิกภาพทางลบ 1.2 ความจากดั ของร่างกาย อบุ ัติภัยจานวนมากเกดิ เพราะผใู้ ช้แรงงานบางคนพยายามจะทางานเกินขอบขีดความสามารถของตนเอง อาจจะเนอื่ งจากสุขภาพหรอื ความจากดั ของรา่ งกายของตนเอง เชน่ คนพิการแต่อยากขับรถ เด็กอยากขบั จกั รยานของผู้ใหญ่ 1.3 นสิ ัย ผทู้ ม่ี ีนิสัยเหมาะสมกบั งาน และเลอื กทาในส่งิ ทเี่ หมาะสมกบั ตนเองจะไม่เกดิ อุบัตภิ ัย หรอื คนบางคนมีความจาเป็นตอ้ งปรับนสิ ัยของตนเองให้เข้ากบั งานที่ได้รบั มอบหมาย จงึ สามารถทางานนัน้ ได้ปลอดภัย แต่บางคนมีนิสยั ชอบเส่ยี งภัย 1.4 ทักษะงานบางอย่างผู้ใช้แรงงานจาเป็นต้องมีทักษะจึงจะสามารถหลีกเลีย่ งการบาดเจ็บได้ เชน่ การใชค้ ้อนตตี ะปู จะตอ้ งมที กั ษะจึงจะสามารถตีตะปไู ดเ้ ร็วและมือที่จบั ตะปูไมบ่ าดเจ็บ เป็นตน้ 1.5 ความรู้ การป้องกนั ไม่ให้เกิดอุบัติภัย ผ้ใู ชแ้ รงงานจาเป็นอยา่ งย่งิ ทจ่ี ะต้องมีความรู้เรื่องงานของตนเปน็ อยา่ งดี การมคี วามรู้ในโรงงานจาเปน็ อยา่ งดี จะทาใหผ้ ้ใู ชแ้ รงงานหลีกเลีย่ งอุบัติภยั ได้ 2. สาเหตเุ กดิ จากสภาวะแวดล้อม อุบตั ภิ ยั อาจเกดิ จากสภาวะแวดล้อมที่ไมเ่ หมาะสมประมาณร้อยละ 15-20 ของจานวนอบุ ตั ิภัยที่เกิดข้นึ ทัง้ หมด ปจั จัยทีเ่ ก่ยี วข้องกบั ความผิดพลาดของสภาวะแวดล้อม ไดแ้ ก่ 2.1 เครือ่ งมือหรือเคร่ืองจกั ร เชน่ เครื่องมือ หรือเครื่องจักรท่ขี าดอปุ กรณ์ปอ้ งกันอบุ ัตภิ ัย อาจจะทาใหผ้ ใู้ ช้แรงงานได้รับบาดเจบ็ ได้ รถยนต์ท่ีไม่มอี ปุ กรณค์ วามปลอดภยั ก็อาจทาให้คนขับและผู้โดยสารไดร้ บั บาดเจ็บได้ คนขบั รถจกั รยานยนต์ที่ไม่ได้สวมหมวกนิรภัยอาจทาใหเ้ กดิ การบาดเจบ็ ของสมองได้ เป็นตน้ 2.2 สภาวะต่าง ๆ เปน็ การปรับปรงุ ดา้ นวิศวกรรมการก่อสร้าง จะเพ่ิมความปลอดภัยให้แก่ผ้ใู ช้แรงงานสภาวะอากาศจะสง่ ผลให้เกิดอุบตั ิภัยจากการทางานสูงข้นึ ดว้ ย
2.3 วิธกี ารทางานที่ไมเ่ หมาะสม เชน่ ต้องใช้มือส่งชน้ิ งานเข้าเคร่ืองจกั ร หรือไม่มีการใช้เครอื่ งป้องกนั อันตรายส่วนบุคคล7. วิธปี ฏบิ ตั ิเพ่ือปอ้ งกันอบุ ัตเิ หตใุ นการทางาน จากสาเหตุสาคัญของการเกิดความไมป่ ลอดภัยในการทางานอนั จะทาให้เกิดการสูญเสียต่อทรัพย์สินและคน ดังน้ันเม่อื ทราบสาเหตุทเี่ กิดขึ้น เราควรที่จะระงบั สาเหตุดงั กล่าวเพอ่ื ป้องกนั การเกิดอบุ ัตเิ หตุ ซึ่งมีการปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. การจดั องค์การ และการบรหิ ารความปลอดภยั 1) จัดทานโยบายดา้ นความปลอดภยั 2) การบรรจคุ นทางานให้เหมาะสมกบั ลักษณะงาน 3) การควบคุมอบุ ัตเิ หตุ และความเสยี หายท่เี กิดขึน้ 4) ใหค้ วามสาคัญตอ่ ความปลอดภัย และอุบตั เิ หตุ 5) กาหนดเกณฑ์ และมาตรฐานดา้ นความปลอดภัย 2. การควบคมุ อันตรายท่วั ๆ ไป 1) ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการดูแลรักษาสถานท่ีทางาน 2) ออกแบบ และติดต้ังเคร่ืองมอื โดยมีระบบปอ้ งกนั อันตรายที่จะเกิดกับผ้ใู ช้ 3) จดั สถานทที่ างานให้มีความเหมาะสม 4) จดั หาอปุ กรณ์ป้องกันอนั ตรายส่วนบุคคล 3. การควบคุมอันตรายในกระบวนการผลติ 1) ป้องกนั อันตรายจากสารเคมี 2) การป้องกันอคั คีภยั 4. การฝึกอบรม การส่ือสาร และการจูงใจด้านความปลอดภยั 1) การฝกึ อบรมดา้ นความปลอดภยั ใหแ้ ก่ผู้บรหิ าร และผคู้ วบคุม 2) การปลกู ฝงั จติ สานึก และทัศนคตดิ ้านความปลอดภัยให้แก่พนักงาน 3) การตรวจหาข้อป้องกันแกไ้ ข 4) การจดั ทาคู่มือมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน 5) การจดั ประชมุ ดา้ นความปลอดภัย 6) การแลกเปลยี่ นความคิดเห็นด้านความปลอดภยั ระหว่าง ผูป้ ฏบิ ตั ิงาน และผคู้ วบคุม 5. การสอบสวนการเกดิ อุบัติเหตุ และการวเิ คราะห์สาเหตุ 1) การสอบสวนอบุ ตั ิเหตุและการรายงาน 2) การเก็บรวบรวมข้อมลู และจดั ทาสถิติอบุ ตั เิ หตุ 3) การนาเอาข้อมูลทางอุบัติเหตไุ ปใชป้ ระโยชน์ 6. การปฏิบตั เิ พอ่ื ปอ้ งกนั อุบัติเหตุ 1) การจดั องค์การ และบรหิ ารงานด้านความปลอดภยั 2) การควบคุมอันตรายทั่ว ๆ ไป 3) การสอบสวนอุบตั ิเหตุ และการวเิ คราะห์สาเหตุ
8. ประชาสังคมกบั บทบาทในการป้องกันอุบัติเหตใุ นการทางาน สานักงานกองทุนเงินทดแทน สานักงานประกันสังคม (2554) ได้เห็นความสาคัญที่จะต้องมีแผนแม่บทด้านการส่งเสริมหรือป้องกันเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางาน เพื่อเป็นแนวทางในการพจิ ารณาให้การสนับสนนุ หน่วยงานอื่นๆ โดยกาหนดเป็นแผนงานโครงการ และมาตรการทเ่ี หมาะสมส่งผลให้เกิดประสิทธิผลในการลดปัญหาและป้องกันการประสบอันตรายจากการทางานของลูกจ้างอย่างเป็นรูปธรรม มีเป้าหมายที่ชัดเจนในระยะยาว จึงได้มอบหมายให้คณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดลโดย คณะผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย เป็นผู้ดาเนินการโครงการ การศึกษาประเด็นจัดทาแผนแม่บทด้านการส่งเสริมหรือป้องกันเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางานของสานักงานกองทุนเงินทดแทน สานักงานประกันสังคม ระยะเวลา 5ปี (พ.ศ. 2554 – 2558) โดยไดส้ รุปผลการดาเนินการดังตอ่ ไปน้ี แนวทางท่กี องทนุ ฯควรให้การสนบั สนุนเพ่อื การส่งเสรมิ หรอื ปอ้ งกนั เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางานควรใชห้ ลกั การในการปอ้ งกันให้อัตราการประสบอันตรายในการทางานลดลงดังตอ่ ไปนี้ 1) สนับสนุนใหน้ ายจา้ งสามารถจดั ทาแผนงานด้านความปลอดภัย ตามกฎหมายและมี ผ้รู ับผดิ ชอบเพือ่ ดาเนินการตามทกี่ ฎหมายได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 2) สนับสนนุ ให้นายจา้ งมรี ะบบการจดั การความปลอดภยั ฯ ที่เหมาะสม และดาเนนิ การได้ อยา่ งต่อเนอื่ งและย่งั ยนื 3) สนบั สนนุ ใหน้ ายจ้าง ลูกจา้ ง บคุ ลากรด้านความปลอดภยั ได้รบั การอบรมเพื่อใหเ้ กดิ องค์ ความรู้ ในการปฏิบตั ิงานอย่างปลอดภยั มวี ินัยในการทางาน และยอมรบั วิธกี าร ปฏบิ ตั งิ านตามขน้ั ตอน 4) สนับสนนุ ให้ภาครฐั สามารถดาเนนิ การตรวจสอบ ตักเตือน และบงั คับใชก้ ฎหมายตาม นโยบายกาหนดได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ แผนแมบ่ ทด้านการส่งเสริมหรอื ปอ้ งกันเกย่ี วกบั ความปลอดภยั ในการทางาน จากการที่คณะท่ีปรึกษาและผู้ทรงคณุ วุฒิด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสิ่งแวดล้อมไดศ้ ึกษา วเิ คราะหข์ ้อมูลต่างๆท่มี อี ยู่ และร่วมกนั ระดมความคดิ เหน็ แล้ว จึงได้ข้อสรุปออกมาเปน็แผนแมบ่ ทสาหรับสานกั งานกองทุนเงินทดแทน ในชว่ งระยะเวลาต้งั แตป่ ี 2554 – 2558 สรปุ ได้ดงั ต่อไปน้ี ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ศี ึกษา คอื การส่งเสริมหรอื ป้องกันเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางาน
รูปที่ 8-4 การจัดงานความปลอดภยั แหง่ ชาติ เปน็ ยุทธศาสตรห์ น่งึ ในแผนแมบ่ ทฯ ทมี่ า: http://www.thailandindustry.com/guru/view.php?id=19160§ion=9 จากประเดน็ ยุทธศาสตรน์ ี้ สามารถกาหนดออกเปน็ กลยุทธ์ 4 ด้าน และ13 กจิ กรรม ที่จะช่วยสนับสนุนกลยุทธต์ า่ งๆ ดังน้ี กลยุทธ์ท่ี 1: เสริมสร้างความเข้มแข็งในการบังคบั ใช้กฎหมายความปลอดภัยฯ 1. กิจกรรมที่ 1.1 ส่งเสรมิ การปฏิบตั งิ านของภาครัฐด้านการส่งเสรมิ หรือป้องกัน เก่ยี วกับความปลอดภัยในการทางาน 2. กิจกรรมที่ 1.2: ส่งเสรมิ ใหส้ ถานประกอบกจิ การปฏิบัติตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง (Self Regulation) 3. กจิ กรรมที่ 1.3 ส่งเสริมให้มีระบบการตรวจประเมนิ ความปลอดภยั ฯโดยบคุ คลที่ สาม (Third-party Audit) และ การพัฒนาทป่ี รึกษา มาชว่ ยในการพฒั นาระบบ ความปลอดภยั ฯ 4. กิจกรรมที่ 1.4 ส่งเสริมใหม้ ีการใหบ้ รกิ าร หรอื จัดต้ังหน่วยงานบรกิ ารด้านความ ปลอดภัย และอาชีวอนามัยที่มี มาตรฐาน ตามพื้นทตี่ ่างๆ กลยุทธ์ที่ 2: เสรมิ สร้างขดี ความ สามารถ และสง่ เสริมให้สปก. พัฒนาตนเองดา้ นความปลอดภัย 1. กิจกรรมที่ 2.1 สง่ เสรมิ ใหค้ วามรู้ ความเข้าใจในการจดั การและปฏิบตั งิ านตาม มาตรฐานความปลอดภยั แก่ผู้ประกอบกจิ การและเจ้าหน้าทค่ี วามปลอดภยั ในสถาน ประกอบกิจการขนาดเล็ก และขนาดกลางท่ีมปี ระวตั ิการประสบอนั ตรายสูง 2. กจิ กรรมที่ 2.2 สร้างให้ผู้ประกอบกจิ การมีจติ สานึกด้านความปลอดภยั และ ตระหนกั ถึงความรับผิดชอบต่อลกู จา้ ง และตอ่ สังคม กลยุทธ์ท่ี 3: ส่งเสริมการมีส่วนรว่ มจากทกุ ภาคสว่ นในการรณรงค์ และสรา้ งวัฒนธรรมความปลอดภัย 1. กจิ กรรมท่ี 3.1 ส่งเสรมิ ใหม้ เี ครอื ขา่ ยความรว่ มมือของบุคคลและองคก์ รตา่ งๆ ดา้ น ความปลอดภยั อาชวี อนามยั 2. กิจกรรมท่ี 3.2 สง่ เสรมิ การปลูกฝงั ใหเ้ กิดวัฒนธรรมความปลอดภัยในสถานประกอบ กจิ การต่างๆ 3. กิจกรรมท่ี 3.3 การใหร้ างวลั หรอื การประกวดแข่งขันต่อความ สาเร็จในการ บริหารจัดการดา้ นความปลอดภยั 4. กจิ กรรมที่ 3.4 การจัดกิจกรรมประชาสมั พันธ์ ดา้ นความปลอดภยั กลยทุ ธท์ ี่ 4: พฒั นาองค์ความรู้ ระบบฐานข้อมลู และการเผยแพร่ ในวงกวา้ ง 1. กิจกรรมท่ี 4.1 การพฒั นาระบบสารสนเทศความปลอดภัย มกี ารศกึ ษา วเิ คราะห์ สถานการณ์ความปลอดภัยประจาปีและเผยแพร่ ให้ผ้ทู ่ีเกย่ี วขอ้ ง
2. กิจกรรมที่ 4.2 การจัดทาระบบฐานข้อมูลด้านความปลอดภัยท่ีมคี ณุ ภาพ รวมถึง ข้อมูล สถิตติ ่างๆ ทั้งงานด้านวชิ าการ แนวปฏบิ ัติ กฎหมายท่เี กีย่ วข้องและ กรณีศึกษาตา่ งๆสรปุ อบุ ตั ิภยั จึงหมายถึง ภยั หรืออันตรายทีเ่ กดิ จากอุบัตเิ หตุ เปน็ สง่ิ ที่เกดิ ขึ้นอยา่ งกะทนั หนั ไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ ไมม่ ผี ู้ใดจงใจหรือทาให้เกดิ ข้ึน สถานการณ์เส่ยี งต่อการเกดิ อุบตั ิภยั ในชุมชน เกิดจากหลายสาเหตุซงึ่ อาจสรุปได้ ดังน้ี 1. สถานการณ์เสยี่ งท่ีเกดิ จากพฤติกรรมที่ไมป่ ลอดภัย หรือกระทาการโดยประมาท 2. สถานการณ์เสี่ยงท่ีเกดิ จากสภาพแวดลอ้ มที่ไมป่ ลอดภัย ผลกระทบจากอบุ ัตภิ ัยท่เี กดิ จากพฤติกรรมเสี่ยงของบคุ คลสรปุ ได้ ดังนี้ 1. ผลกระทบทางตรง 2. ผลกระทบทางอ้อม วิธีปฏบิ ตั ิเพือ่ ป้องกนั อบุ ัติเหตุในการทางาน 2. การจดั องคก์ าร และการบริหารความปลอดภยั 3. การควบคุมอนั ตรายทวั่ ๆ ไป 4. การควบคุมอนั ตรายในกระบวนการผลติ 5. การฝกึ อบรม การส่ือสาร และการจูงใจดา้ นความปลอดภัย 6. การสอบสวนการเกิดอบุ ัตเิ หตุ และการวิเคราะหส์ าเหตุ 7. การปฏบิ ตั เิ พื่อป้องกันอบุ ัติเหตุ ยุทธศาสตร์ในการป้องกนั อุบัติภัยน้ี สามารถกาหนดออกเป็น กลยุทธ์ 4 ดา้ น และ13กิจกรรม ท่ีจะชว่ ยสนับสนนุ กลยทุ ธ์ต่างๆ ดังนี้ กลยุทธท์ ่ี 1: เสริมสร้างความเขม้ แข็งในการบังคบั ใช้กฎหมายความปลอดภยั ฯ กลยทุ ธ์ที่ 2: เสรมิ สรา้ งขดี ความ สามารถ และส่งเสรมิ ใหส้ ปก. พัฒนาตนเองดา้ นความปลอดภยั กลยทุ ธท์ ่ี 3: สง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ มจากทุกภาคสว่ นในการรณรงค์ และสรา้ งวฒั นธรรมความปลอดภยั กลยุทธ์ที่ 4: พัฒนาองคค์ วามรู้ ระบบฐานข้อมูล และการเผยแพร่ ในวงกว้างเอกสารอ้างอิง:คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล(2554). รายงานการศึกษาประเดน็ จดั ทาแผนแมบ่ ท ด้านการสง่ เสริมหรอื ปอ้ งกนั เกีย่ วกับความปลอดภัยในการทางานของสานกั งานกองทุน เงนิ ทดแทน สานกั งานประกันสงั คม ระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2554 – 2558). นครปฐม
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: