Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit2.pdf

unit2.pdf

Published by nano03012553, 2018-05-01 04:08:31

Description: unit2.pdf

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 2 หลกั การเลอื กกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชวี ิตและสขุ ภาพสาระสาคัญ ในการดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั ผูท้ ม่ี ที ักษะชีวติ ทีด่ จี ะสามารถอย่ใู นสงั คมอยา่ งมคี วามสุข สามารถแก้ไขปญั หาตา่ งๆได้ดี เราจึงควรฝกึ ฝนและเลือกใช้ทักษะชวี ิตใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ต่างๆ เพ่ือป้องกนัลดความขดั แยง้ และแก้ปญั หาต่างๆ ทกั ษะชวี ิตในการปอ้ งกันและลดความขดั แยง้จะจุดประกายความคดิ ให้คิดว่าบุคลกิ ลักษณะนิสัยของผใู้ กลช้ ิดท่ไี ม่เสีย่ งต่อการเกิดปญั หาความขัดแย้งเพราะอะไร การดารงชวี ิตอยู่ในครอบครวั ละสงั คม บางครั้งอาจพบเจอปัญหาและความขัดแย้งตา่ งๆ การมีความรูใ้ นทักษะชวี ติ และนาไปปฏิบัตใิ นชีวติ ประจาวันจะช่วยปอ้ งกันและ แก้ไขปญั หา รวมทง้ั ลดความขัดแยง้ ตา่ งๆ ทจ่ี ะเกิดข้นึ ได้1. ความหมายของทกั ษะชวี ติ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2546) ใหค้ วามหมายวา่ ทกั ษะชีวติ หมายถึง คุณลักษณะ หรือความสามารถเชิงสังคมจติ วิทยา เป็นทักษะท่ีชว่ ยให้บุคคลสามารถเผชญิ สถานการณ์ ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวติ ประจาวันได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ เชน่ ทกั ษะในการคิดวเิ คราะห์อยา่ งมีเหตุผล ทักษะการตดั สนิ ใจ ทกั ษะด้านความคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ ทักษะในการประมาณตนและการควบคุม สถานการณ์ ทักษะในการสอ่ื สาร ต่อรอง ปฏิเสธ และโน้มน้าวจิตใจ ทกั ษะในการปรับตวัเปน็ ตน้ รูปท่ี 2-1 ทกั ษะชีวิตเปน็ ความสามารถของบุคคลในการเผชญิ กบั เหตกุ ารณ์ในชวี ิต ทมี่ า: http://www.pineviewpreschools.com/preschool/programs_preschool.html มณั ฑรา ธรรมบศุ ย์ (2553) ได้อธิบาย ความหมายของทักษะชวี ติ วา่ คือ ความสาเรจ็ ทักษะท่ีจาเปน็ ต่อการดารงชวี ิตของมนษุ ย์มอี ยู่ 2 ลกั ษณะ คือ ทักษะทั่วไปที่มนุษย์ต้องใชท้ กุ วันเพอ่ื การมชี วี ติ อยู่แต่ทักษะวิชาชีพเป็นทักษะท่ีมนุษย์จาเปน็ ต้องมีเพื่อใชใ้ นการหาเลีย้ งชพี การศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวิต คือ การจดั กระบวนการเรยี นรเู้ พือ่ ส่งเสรมิ ความสามารถ ของบคุ คลเพื่อให้สามารถจัดการกับตนเองและส่งิ แวดล้อมเพื่อใหม้ คี วามสุขตามสภาพ และความสุขความปลอดภัยในสงั คม ซึง่ เป็นการพฒั นาทักษะพน้ื ฐานของบุคคลโดยบูรณาการองค์ความรู้ และกระบวนการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจาวันเข้าด้วยกัน

2. ทักษะชวี ติ ที่ควรเรยี นรู้ มดี งั น้ี ทกั ษะชวี ติ ทีเ่ ปน็ จดุ เน้นในดา้ นการพฒั นาทกั ษะชีวิต มจี ุดมุ่งหมายเพื่อการสง่ เสริม การปอ้ งกนั และการแก้ไขทส่ี อดคล้องกบั สภาพปัญหาและความต้องการของผ้เู รยี น โดยมกี ารพฒั นาทกั ษะชีวิต4 ด้าน คือ การพฒั นาดา้ นที่ 1 ด้านสขุ ภาพอนามยั มจี ุดมุ่งหมายเพ่ือสง่ เสริมให้มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักในการดูแลตนเองใหม้ สี ขุ ภาพอนามยั ท่ีดีท้งั ร่างกายและจติ ใจ มีบุคลกิ ภาพที่เหมาะสม รวู้ ธิ ปี ้องกนั ไมใ่ หเ้ กิดโรคภัยไขเ้ จบ็ และสามารถแก้ไขปัญหาพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ท่จี ะนาไปสู่โรคภยั ไข้เจบ็ ไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม การพฒั นาด้านที่ 2 ด้านความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพยส์ นิ มีจุดมงุ่ หมายเพื่อส่งเสรมิ ให้มีความรู้ ความเขา้ ใจและตระหนกั ในภยั อันตรายท่ีอาจจะเกิดข้ึนจากภัยอนั ตรายได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม การพัฒนาดา้ นที่ 3 ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม มจี ุดมงุ่ หมายเพ่ือสง่ เสรมิ ใหม้ ีความร้คู วามเข้าใจและตระหนกั ในคุณคา่ ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม มจี ิตสานกึ ในการร่วมอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม รู้วธิ ีใชท้ รัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า รู้วธิ ีป้องกันไม่ใหเ้ กดิ สภาพแวดล้อมเปน็ พิษ และสามารถแก้ไขปญั หาสภาพแวดลอ้ มเปน็ พษิ ในชุมชนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม การพฒั นาดา้ นท่ี 4 ด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ มจี ุดมงุ่ หมาย เพื่อส่งเสริมใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถงึ ความสาคญั ของการมีคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมทถ่ี ูกต้อง และคุณลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องคนในสังคมไทย ร้วู ธิ ีปอ้ งกันไม่ใหต้ นเองครอบครัว ชุมชนเขา้ ไปเกี่ยวข้องกบั อบายมุข สามารถปฏิบัตติ ัวเป็นแบบอยา่ งทดี่ ีของครอบครวั ชุมชนและสามารถแก้ไขปญั หาพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงคไ์ ด้อย่างถูกต้องเหมาะสม ทักษะชีวติ ทีค่ วรเรียนรู้ มดี ังน้ี 1. ทกั ษะการตดั สนิ ใจ (Decision making) เป็นความสามารถในการตดั สินใจเกีย่ วกับเร่ืองราวต่าง ๆ ในชวี ติ ได้อยา่ งมีระบบ เชน่ ถา้ บคุ คลสามารถตดั สินใจเก่ยี วกับการกระทาของตนเองทเี่ กี่ยวกบั พฤติกรรมด้านสุขภาพ หรอื ความปลอดภัยในชีวิตโดยประเมนิ ทางเลือกและผลทไ่ี ดจ้ ากการตัดสินใจเลือกทางท่ถี ูกตอ้ งเหมาะสม ก็จะมผี ลตอ่ การมสี ขุ ภาพที่ดีท้ังร่างกายและจติ ใจ 2. ทกั ษะการแกป้ ัญหา (Problem Solving) เป็นความสามารถในการจดั การกับปัญหาทเี่ กิดขึน้ ได้อยา่ งมีระบบ ไม่เกิดความตรึงเครยี ดทางกายและจิตใจ จนอาจลกุ ลามเปน็ ปญั หาใหญโ่ ตเกนิ แก้ไข 3. ทกั ษะการคิดสรา้ งสรรค์ (Creative thinking) เป็นความสามารถในการคิดทีจ่ ะเป็นส่วนช่วยในการตัดสินใจและแก้ไขปัญหาโดยการคิดสร้างสรรค์ เพื่อค้นหาทางเลือกตา่ ง ๆ รวมทงั้ ผลท่จี ะเกิดข้ึนในแต่ละทางเลือก และสามารถนาประสบการณ์มาปรบั ใชใ้ นชีวิตประจาวันได้อยา่ งเหมาะสม 4. ทักษะการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ (Critical thinking) เปน็ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ข้อมลู ต่าง ๆ และประเมนิ ปัญหา หรอื สถานการณท์ ี่อยรู่ อบตัวเราท่ีมีผลต่อการดาเนินชีวิต 5. ทกั ษะการส่อื สารอย่างมปี ระสิทธภิ าพ (Effective communication) เป็นความสามารถในการใช้คาพูดและทา่ ทางเพ่อื แสดงออกถงึ ความรสู้ ึกนึกคดิ ของตนเองได้อยา่ งเหมาะสมกับวัฒนธรรม และสถานการณต์ ่าง ๆ ไมว่ ่าจะเป็นการแสดงความคิดเห็น การแสดงความต้องการ การแสดงความช่นื ชม การขอร้อง การเจรจาต่อรอง การตักเตือน การช่วยเหลอื การปฏเิ สธ ฯลฯ

รูปท่ี 2-2 การใชท้ ักษะชวี ิตในชีวิตประจาวนั ทม่ี า: https://mycyberwall.co.za/live-life/life-skill 6. ทกั ษะการสร้างสมั พันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal relationship) เปน็ ความสามารถในการสร้างความสัมพันธท์ ีด่ ีระหวา่ งกันและกัน และสามารถรักษาสัมพนั ธภาพไว้ได้ยืนยาว 7. ทักษะการตระหนกั ร้ใู นตน (Self awareness) เปน็ ความสามารถในการคน้ หา ร้จู ักและเข้าใจตนเอง เชน่ รขู้ อ้ ดี ขอ้ เสยี ของตนเอง รูค้ วามต้องการ และสิ่งทีไ่ ม่ต้องการของตนเอง ซงึ่ จะช่วยใหเ้ รารูต้ วัเองเวลาเผชิญกบั ความเครยี ดหรอื สถานการณ์ต่าง ๆ และทักษะน้ยี ังเป็นพืน้ ฐานของการพฒั นาทักษะอน่ื ๆเชน่ การสอ่ื สาร การสรา้ งสัมพนั ธภาพ การตดั สนิ ใจ ความเหน็ อกเห้นใจผู้อื่น 8. ทกั ษะการเข้าใจผ้อู ่นื (Empathy) เปน็ ความสามารถในการเขา้ ใจความเหมือนหรือความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล ในด้านความสามารถ เพศ วัย ระดับการศกึ ษา ศาสนา ความเชื่อ สผี ิว อาชพี ฯลฯช่วยให้สามารถยอมรับบุคคลอ่ืนทตี่ า่ งจากเรา เกดิ การชว่ ยเหลือบคุ คลอ่นื ทด่ี ้อยกวา่ หรือได้รบั ความเดอื ดรอ้ น เช่น ผูต้ ดิ ยาเสพติด ผู้ติดเชื้อเอดส์ 9. ทักษะการจัดการกับอารมณ์ (Coping with emotion) เปน็ ความสามารถในการรับรู้อารมณ์ของตนเองและผู้อ่นื รู้ว่าอารมณม์ ผี ลตอ่ การแสดงพฤติกรรมอยา่ งไร รวู้ ิธกี ารจดั การกบั อารมณ์โกรธ และความเศร้าโศก ท่สี ง่ ผลทางลบต่อร่างกาย และจิตใจได้อย่างเหมาะสม 10. ทกั ษะการจดั การกับความเครียด (Coping with stress) เป็นความสามารถในการรับร้ถู ึงสาเหตุของความเครียด รวู้ ิธีผอ่ นคลายความเครยี ด และแนวทางในการควบคุมระดบั ความเครยี ด เพ่ือให้เกดิ การเบยี่ งเบนพฤตกิ รรมไปในทางท่ีถูกต้องเหมาะสมและไม่เกิดปัญหาด้านสขุ ภาพ3. ความหมายของการพัฒนาตนเอง การพัฒนาตนเอง (Self-development) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงและการปรบั ปรงุ แกไ้ ขสงิ่ ต่างๆทเ่ี ก่ียวข้องกับตนเองเพ่ือนาไปสสู่ ิ่งที่ดขี ึน้ และบรรลจุ ดุ มุ่งหมายแห่งชีวิต โดยไม่เบยี ดเบียนสทิ ธิของผ้อู น่ืซง่ึ ส่งผลใหเ้ กดิ การพัฒนาชีวติ และการงานของตนเองให้ดีย่งิ ข้ึนและมีคณุ ประโยชน์ตอ่ การเนินชวี ติ ในสงั คม(รองศาสตราจารย์ ดร.สมเดช มงุ เมอื ง,2555) การพัฒนาตนเองมีองค์ประกอบสองประการ ดังน้ี ส่ิงแรกที่สาคัญ คือ ตนเองตอ้ งไมม่ ีปัญหา และสิ่งที่สอง คือสถานการณ์ การท่ีเราสามารถพัฒนาตนเองให้มีความเจริญก้าวหน้าก็ต้องให้เหมาะสมกับสถานการณ์ การที่จะพัฒนาตนเองได้น้ัน ก็ต้องรู้จักว่าตัวเราคือใคร ตัวเราเป็นอย่างไร ต้องการจะให้เป็นอย่างไร และจะปรับปรุงตัวเองอย่างไรให้เหมาะสมกบั ที่ต้องการจะพัฒนาให้กา้ วหน้าต่อไป (ชลอ ธรรมศิริ,2536 : 2)

ตามหลักของพระพุทธศาสนาสอนให้คน “รู้จกั พงึ่ ตนเอง” หรอื “ตนเปน็ ทพ่ี ึง่ แหง่ ตน” และชวี ิตของมนษุ ยน์ ้ันสามารถเร่ิมต้นได้ใหม่เสมอ ไมม่ สี ิ่งใดที่ปรบั ปรงุ แก้ไขไม่ได้ ดงั นน้ั หากเราพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มทก่ี ็จะเกิดประโยชน์ตอ่ ทัง้ ตนเอง ตอ่ บคุ คลอ่นื และตอ่ สงั คมด้วย แนวคิดการพฒั นาตนเอง 1. การพัฒนาตนเองเน้นการพ่งึ ตนเอง ในการพัฒนาตนเองเพื่อใหบ้ ุคคลสามารถอยูร่ ่วมกนั กับผู้อ่นื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ควรนาหลกั แนวคิดความพอเพยี ง ซง่ึ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวภมู ิพลอดยุ เดชมหาราช มพี ระราชดารัสช้ีแนะแนวทางการดารงชวี ติ ใหแ้ ก่ประชาชนชาวไทยทุกคน เนน้ ใหท้ ุกคนรจู้ ักตนเอง มกี ารคิดอย่างรอบคอบกอ่ นลงมือทา ไม่ทาความเดือดรอ้ นให้ตนเองและผอู้ นื่ ยึดหลกั ทางสายกลาง ซึ่งหลักแนวคดิ ความพอเพียง ประกอบดว้ ย 1.1 ความพอประมาณ (ความสมดุล) คือ การทาอะไรท่ีพอเหมาะ พอควร พอดีกับศักยภาพของตนเองและสภาวะแวดล้อม ไมน่ ้อยและไม่มากเกินไป ไม่เบยี ดเบยี นทงั้ ตนเองและผู้อ่ืน 1.2 การมีเหตผุ ล คอื การตดั สินใจเกยี่ วกบั ระดับของการพอประมาณ ตอ้ งเป็นไปอยา่ งมีเหตุมีผลโดย พจิ ารณาจากเหตุปัจจัยเกยี่ วข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลทีค่ าดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทาน้นั ๆ อยา่ งรอบคอบ 1.3 การมีภมู ิคุ้มกันในตน คอื การเตรียมตวั ให้พรอ้ มรบั ผลกระทบ และการเปล่ยี นแปลงทางดา้ นต่างๆ ทค่ี าดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคตทง้ั ใกล้และไกล โดยคานงึ ถงึ ความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ และประกอบดว้ ย 2 เงื่อนไข ได้แก่ 1.4 ความรู้ หมายถึง การมคี วามรอบรู้เกยี่ วกับวชิ าต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับส่ิงทเ่ี รากาลังจะปฏิบัติอยา่ งรอบด้าน มีความรอบคอบท่ีจะนาความรูเ้ หลา่ นน้ั มาพจิ ารนาให้เชอ่ื มโยงกัน เพือ่ ประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ 1.5 คณุ ธรรม ประกอบดว้ ย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซ่อื สัตย์สุจริตและมีความอดทน ความเพียรพยายาม และใช้สตปิ ัญญาในการดาเนนิ ชีวติ รูปท่ี 2-3 การนอ้ มนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในการดาเนนิ ชวี ิต ที่มา: https://mycyberwall.co.za/live-life/life-skill 2. การพฒั นาตนเองในด้านคุณลกั ษณะทด่ี ี การพัฒนาตนเอง จะตอ้ งประกอบคณุ ลักษณะทด่ี ี หรือความเกง่ 3 ประการ คือ 1) เกง่ ตน หมายถงึ เป็นผู้ทชี่ อบศกึ ษาหาความรู้อยูต่ ลอดเวลา เพ่ือให้ทันโลกทันคนโดยเริ่มจากตนเองก่อน และพัฒนาตนเองอยตู่ อ่ เนือ่ งตลอดเวลา ท้งั 3 ดา้ น คือ

กาย วาจา ใจรูปรา่ ง พฒั นาให้ดีขึ้น โดยใช้ การพูดดี จิตใจมัน่ คง มคี วามม่ันใจในการแตง่ กาย ช่วยลดจดุ ด้อย มีองคป์ ระกอบ ๔ ประการ ตนเอง ความจริงใจ ความหรือเสรมิ จดุ เดน่ หนา้ ตาสดช่ืน คือ พูดแต่ดี มีประโยชน์ กระตือรือรน้ กระฉบั กระเฉงแจ่มใส สะอาดหมดจด ผูฟ้ ังชอบ และทกุ คนปลอดภยั แจ่มใส มีชวี ิตชีวา ความมานะอากปั กิรยิ า การแสดงออก ก่อนพดู ทุกครัง้ ต้องคิดก่อนพูด พยายามไม่ยอมแพต้ ่ออปุ สรรคการยืน การเดนิ การน่งั การ ความซือ่ สตั ยส์ ุจรติ ความสุขใจแตง่ กายต้องเรียบร้อย สะอาด พดู ดี มปี ิยวาจา ความอดกลนั้ ความมเี หตุผลเหมาะสมกบั กาลเทศะ เหมาะ และมคี วามคิดสร้างสรรค์กับรปู ร่างและผวิ พรรณ 2) เก่งคน หมายถงึ มีความสามารถท่จี ะทาตวั ให้เปน็ ท่รี ักใคร่ชอบพอแก่ทุกฝ่าย มมี นษุ ยสัมพันธ์ในครอบครวั และมมี นุษยสมั พันธ์ในการทางาน สามารถเข้ากับคนได้ทุกคน ทางานร่วมกับผู้อื่นได้และยอมรับความคดิ เหน็ ของผู้อื่น 3) เก่งงาน หมายถงึ ผู้ท่รี ักงาน ขยนั ทางาน และรวู้ ธิ ที างาน มคี วามขยันหมน่ั เพียร มานะ อดทนไม่ยอมแพ้ตอ่ อุปสรรค ขัน้ ตอนในการพฒั นาตนเอง มนษุ ยจ์ าเป็นต้องเรียนรกู้ ารพัฒนาตนเองตลอดชวี ติ เพ่ือนาไปสูก่ ารมคี ุณภาพชวี ิตท่ีดีข้นึ ช่วยให้เราสามารถเข้าใจตนเอง เข้าใจบุคคลอืน่ ไดเ้ ปน็ อย่างดี การพฒั นาตนเองโดยเร่มิ จาก 4 ข้นั ตอน ข้ันตอนการพัฒนาตนเอง แบง่ เป็น 4 ขน้ั ตอน ดงั แผนภมู ิ 1. สารวจค้นหา จดุ ออ่ น และเด่น4. ประเมินผลและ 2. จดั ลาดบั แกไ้ ข ปรับปรุง ความสาคัญ 3. ลงมือกาจัดจุดอ่อน และพฒั นาจุดเด่น รูปที่ 2-4 แสดงขัน้ ตอนการพัฒนาตนเอง ทม่ี า : สงวน สทิ ธเิ ลิศอรุณ (2543 : 146) 1. สารวจคน้ หาจุดอ่อนและจดุ เดน่ คือ การคน้ หาตนเองใหพ้ บว่ามจี ดุ อ่อนและจุดเดน่ ตรงไหนบ้าง โดยการเปรียบเทียบเร่ืองตา่ งๆ กับผู้อนื่ การใหเ้ พอื่ นช่วยบอก การใช้แบบทดสอบ การนาปัญหาและความสาเร็จในชวี ิตมาทบทวนเพือ่ หาจดุ อ่อนและจดุ เด่น

2. จดั ลาดับความสาคญั ให้จดั ลาดับดูวา่ เร่ืองใดเป็นเรื่องที่สาคญั และต้องกาจดั หรือพัฒนาอยา่ งเร่งด่วน 3. ลงมอื กาจดั จุดออ่ นและพัฒนาจุดเด่น ส่ิงสาคญั ที่สุดในการกาจัดจดุ อ่อนและพัฒนาจุดเดน่ คือการลงมือปฏิบัตจิ ริง ถ้ามีความยากลาบากในการแก้ไขและพัฒนาหลายส่งิ หลายอย่างพร้อมกนั ขอแนะนาใหท้ าทีละอยา่ ง \"อย่าล้มเลกิ ความตงั้ ใจ\" 4. ประเมินผลและแก้ไขปรับปรุง การประเมินผลดูว่าได้ตามเปา้ หมายทว่ี างไวห้ รอื ไม่ เพราะอะไรส่ิงท่เี ราสามารถวดั ได้ ประเมินผลได้ เราจะสามารถจัดการกบั มันได้ และการประเมินผลจะชว่ ยใหเ้ ราสามารถต้งั เป้าหมายทีท่ ้าทายเพิ่มขนึ้ ไปอกี \"ปัจจัยสูค่ วามสาเร็จทย่ี งิ่ ใหญ่ เร่มิ ตน้ ทก่ี ารชนะใจตนเอง\"4. กจิ กรรมการเสรมิ สร้างทักษะชีวิต กิจกรรมที่เสริมสร้างทกั ษะชวี ิต เป็นกิจกรรมท่ีม่งุ เน้นให้ผู้เรียนเป็นสาคัญ ผเู้ รยี นเป็นผู้ได้รับประโยชนส์ งู สดุ จากการเรียนรู้ซึง่ ลกั ษณะของกจิ กรรมท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั และมีประสทิ ธิภาพ ในการเสรมิ สร้างทักษะชีวติ ผเู้ รยี นมลี กั ษณะ ดังน้ี (สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา,สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน,2554) 1. กิจกรรมท่ีผู้เรียนมีส่วนร่วมค้นพบความรู้หรือสร้างความรู้ด้วยตนเอง ซ่ึงจะทาให้ผู้เรียนเกิดทักษะชีวิต ในด้านการคิดวิเคราะห์การคิดตัดสินใจและแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เช่น กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีให้โอกาสผู้เรียนแสดงความคิดเห็น วิพากษ์วิจารณ์ข่าวสาร เหตุการณ์สถานการณ์หรือประสบการณ์ของผ้เู รียน และกิจกรรมการเรียนรูท้ ่ีผเู้ รยี นได้สืบค้นหรอื ศกึ ษาค้นคว้าคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ความรจู้ ากสือ่ ต่างๆ และแหล่งเรยี นรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาได้สะท้อนตนเอง เช่ือมโยงกับชีวิตและการดาเนินชีวิตในอนาคต 2. กิจกรรมท่ีผู้เรียนได้ทากิจกรรมร่วมกัน ได้ลงมือกระทากิจกรรมลักษณะต่างๆ ได้ประยุกต์ใช้ความรู้ เช่น กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมค่าย กิจกรรมวันสาคัญ กิจกรรมชมรม/ชุมนุมกิจกรรมโครงงาน/โครงการ กิจกรรมจิตอาสา เป็นตน้ กจิ กรรมเหล่าน้ีเป็นกิจกรรมทีจ่ ะทาให้เกดิ การพัฒนาทักษะชวี ติ ดงั น้ี 2.1 ไดเ้ สริมสรา้ งสมั พนั ธภาพและใชท้ ักษะการสื่อสาร ได้ฝึกการจัดการกบั อารมณแ์ ละความเครียดของตนเอง 2.2 ได้รบั ฟงั ความคดิ เห็นของผู้อืน่ ทาให้เขา้ ใจผอู้ น่ื นาไปสู่การยอมรับความคดิ เห็นของผอู้ น่ืรจู้ กั ไตร่ตรองทาความเข้าใจและตรวจสอบตนเอง ทาให้เขา้ ใจตนเองและเหน็ ใจผู้อ่ืน 2.3 ได้รับการยอมรับจากกลุ่ม ได้แสดงออกด้านความคดิ การพดู และการทางานมคี วามสาเร็จทาให้ไดร้ ับคาชม เกดิ เปน็ ความภาคภมู ิใจและเหน็ คุณค่าตนเองนาไปสคู่ วามรบั ผดิ ชอบทงั้ ต่อตนเองและสงั คม 3. กิจกรรมที่กาหนดให้มีการอภิปรายแสดงความรู้สึกนึกคิดและการประยุกต์ความคิดอย่างมีประสิทธภิ าพหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละคร้ัง ด้วยประเด็นคาถามสะท้อน เช่ือมโยงปรบั ใช้เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้บทเรียนสาคัญท่ีจะพัฒนาและเสริมสร้างทักษะชีวิตให้กับตัวผู้เรียนได้ตระหนักและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่ืน รู้จักการจัดการกับอารมณ์และความเครียดอย่างเหมาะสมและรู้จักสร้างสัมพันธภาพท่ีดีกับผู้อ่ืน รู้จักคิดวิเคราะห์ตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยวิธีการสะท้อน(Reflect) ความรู้สึกและความคิดท่ีได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมเชื่อมโยง (Connect) กับประสบการณ์ในชวี ิตท่ีผา่ นมาหรือที่ตนเองได้เรยี นรู้มาแล้ว เป็นองค์ความรใู้ หม่ แล้วนามาปรบั ใช้ (Apply) ในชีวิตประจาวันของตนเองทั้งในปัจจุบันและอนาคต

5. การเลือกกจิ กรรมการสรา้ งและพัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมท่จี ะสร้างและพัฒนาทักษะชวี ิตต้องเปน็ กิจกรรมที่มงุ่ เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั ผู้เรียนเปน็ ผู้ได้รับประโยชน์จากการเรยี นรู้ซึง่ ลักษณะของกิจกรรมทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพในการสรา้ งและพัฒนาทักษะชวี ติผ้เู รยี น มดี งั น้ี 1. กิจกรรมทผ่ี ู้เรียนมีส่วนร่วมคน้ พบความรู้หรือสรา้ งความรู้ด้วยตนเองซ่ึงจะทาใหผ้ ู้เรียนเกดิทกั ษะชีวิตในดา้ นการคดิ วิเคราะห์การคิดตัดสนิ ใจ และแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์ เชน่ กจิ กรรม การเรยี นรู้ท่ใี หโ้ อกาสผู้เรียน แสดงความคิดเห็น วพิ ากษว์ จิ ารณ์ข่าวสาร เหตุการณส์ ถานการณ์ หรือประสบการณ์ของผเู้ รยี น และกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีผูเ้ รยี นได้สบื ค้นหรือ ศึกษาคน้ คว้าคิดวิเคราะห์สังเคราะหค์ วามรจู้ ากสื่อตา่ ง ๆ และแหล่งเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาได้สะท้อนตนเองเชอื่ มโยงกับชีวิตและ การดาเนินชีวติ ในอนาคต 2. กจิ รรมท่ีผู้เรียนได้ทากจิ กรรมรว่ มกัน ได้ลงมือกระทากจิ กรรมลักษณะต่าง ๆไดป้ ระยุกตใ์ ช้ความรู้ เชน่ กจิ กรรมทัศนศกึ ษา กิจกรรมคา่ ย กิจกรรมวันสาคญั กิจกรรมชมรม/ชมุ นมุกิจกรรมโครงงาน/โครงการ กิจกรรมอาสา เปน็ ตน้ กิจกรรมเหลา่ นเ้ี ปน็ กจิ กรรมทจี่ ะทาให้ผเู้ รียนเกิดการพัฒนาทักษะชวี ติ ดังนี้ 2.1. ไดเ้ สรมิ สรา้ งสมั พนั ธภาพและใชท้ กั ษะการส่ือสาร ได้ฝึกการจดั การอารมณ์และความเครยี ดของตนเอง 2.2. ได้รับฟังความคิดเหน็ ของผู้อ่ืน ทาให้เข้าใจผู้อื่น นาไปสู่การยอมรับความคิดเห็น ผู้อื่นรู้จักไตร่ตรอง ทาความเขา้ ใจและตรวจสอบตนเองทาให้เข้าใจตนเองและ เหน็ ใจผู้อื่น 2.3. ได้รับการยอมรบั จากกลุ่ม ได้แสดงออกด้านความคิด การพดู และการทางานมีความสาเร็จ ทาให้ได้รับคาชม เกดิ ความภูมิใจและเหน็ คุณค่าตนเอง นาไปสู่ความรับผิดชอบ ทงั้ ต่อตนเองและสงั คม 3. กิจกรรมท่ีกาหนดให้มีการอภิปรายแสดงความรู้สึกนึกคิดและการประยุกต์ความคิดอย่างมีประสิทธิภาพหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละคร้งั ด้วยประเดน็ คาถามสะทอ้ น เชื่อมโยงปรับใช้ เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้บทเรียนสาคัญ ที่จะพัฒนาและเสริมสร้างทักษะชีวิตให้กับตัวผู้เรียนได้ตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่ืน รู้จักการจัดการกับอารมณ์และความเครียดอย่างเหมาะสมและรู้จักสร้างสัมพันธภาพท่ีดีกับผู้อื่น รู้จักคิดวิเคราะห์ ตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ โดยวิธีการสะท้อน(Reflect) ความรู้สึกและความคิดท่ีได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมเช่ือมโยง (Connect) กับประสบการณ์ในชีวิตที่ผ่านมาหรือท่ีตนเองได้เรียนรู้มาแล้ว เป็นองค์ความรู้ใหม่ แล้วนามา ปรับใช้ (Apply) ในชีวิตประจาวันของตนเองทั้งในปัจจุบันและอนาคตโดยครูหรือผู้จัดกิจกรรมเป็นผู้ตั้งประเด็นคาถามหลังจากเสร็จสิ้นกระบวนการเรียน การสอนเนื้อหาสาระในหลักสูตรแล้ว เพอ่ื ให้ผเู้ รียนเปิดเผยตัวเอง ผ่านการสะท้อนความรู้สึกหรือมุมมอง (Reflect) ได้คิดเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับประสบการณ์เดิมของผู้เรียน(Connect) และได้ประยุกต์ความรู้นั้น (Apply) ไปใช้ในชีวิตจริงของผู้เรียน เรียกคาถามดังกล่าวโดยย่อว่าคาถาม R-C-A ซึ่งย่อมาจาก Reflect : สะท้อน Connect : เชื่อมโยง Apply : ปรับใช้หรือประยุกต์ใช้นนั่ เอง ตัวอย่างแนวคาถาม R-C-A เพื่อสอบถามผู้เรียนหลังจากเสร็จสิ้นกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายคร้ังแล้ว (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา,สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐาน,2554) 1. คาถามเพ่อื ผลการสะท้อน (R : Reflect) ถามถงึ ส่งิ ทส่ี งั เกตเห็น มองเห็น หรอื ถามความรสู้ ึกทเี่ กิดข้นึ จากการรว่ มกิจกรรม เชน่

- นกั เรียนมคี วามร้สู กึ อยา่ งไร? หรอื มองเหน็ อะไรในพฤติกรรมของบคุ คลหรือในการทากิจกรรมรว่ มกนั - นกั เรียนมีความรู้สึกอย่างไร กบั การขัดแย้งหรือการมีความเหน็ ไมต่ รงกันของนักเรียนในกล่มุ - หลังจากเกิดความขดั แย้งทเี่ กิดข้นึ ระหวา่ งการทากจิ กรรมคร้งั น้ี นักเรยี นคดิ วา่ทุกคนทเี่ กี่ยวข้องมีความรู้สกึ อย่างไร - นกั เรียนเคยสังเกตตนเองหรือไมว่ ่า ใชว้ ธิ กี ารใดจัดการกับความขัดแย้งในระหว่างการทากจิ กรรมรว่ มกนั หรือในกลุ่มทาอย่างไรความขัดแยง้ ในกลมุ่ เพือ่ นจึงยุติลงได้ 2. คาถามเพ่อื การเชื่อมโยง (C : Connect) ถามเพือ่ ให้เกิดการเช่ือมโยงระหว่างประสบการณ์หรือความรูท้ ่ีเคยมีมาก่อนกับประสบการณห์ รือความคิดที่ไดจ้ ากการเรียนรใู้ หม่ เชน่ - ในชว่ งที่ผ่านมา นกั เรียนเคยเห็น เคยมคี วามรู้สกึ หรอื เคยปฏิบัตมิ าอย่างไรบา้ ง? - ส่งิ ท่สี งั เกตหรอื พบเหน็ สอดคล้อง เหมือนหรือคลา้ ยคลงึ กับสิ่งทน่ี กั เรียนเคยปฏบิ ตั ิมาอย่างไรบ้าง? - นกั เรยี นเคยมคี วามขัดแยง้ กับเพือ่ ระหว่างทากิจกรรมท่ผี ่านมาหรือไม่ เกิดจากสาเหตุใด - นักเรยี นเคยจัดการหรือสยบความขัดแย้งไม่ให้ลุกลามบานปลายไดอ้ ย่างไรบ้าง? 3. คาถามเพื่อการปรับใช้ (A : Apply) ถามถึงปจั จบุ นั และการเผชญิ เหตุการณใ์ นอนาคต เชน่ - ในอนาคต ถ้านักเรยี นพบเห็นหรือเจอเหตุการณ์ หรือมคี วามรู้สกึ อยา่ งน้ี นักเรียนจะมีแนวทางปฏบิ ัติอย่างไร - ในการทางานกลุ่มคร้ังต่อไป หากมีความขดั แยง้ เกดิ ข้ึนอย่างนอ้ี กี นักเรียนจะทาอยา่ งไรหรือคล่คี ลายสถานการณอ์ ย่างไร? - นักเรียนต้ังใจจะทาอะไร ปฏิบัติอย่างไร หรือเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง เพ่ือการมีชีวิตที่ดีในอนาคตหรือเพ่ือการเรียนที่ดีข้ึน หรอื เพื่อการทางานให้สาเร็จการที่ผ้เู รียนไดม้ ีโอกาสสนทนา หรืออภิปรายเพ่ือตอบคาถาม มีความสาคัญต่อการพัฒนาทักษะชีวิตอย่างมาก เพราะการสนทนาสอบถามและตอบคาถามแบบเชื่อมโยง จะทาให้ผู้เรียนมองเห็นความเช่ือมต่อกันระหว่างการเรียนรู้และพฤติกรรมการเรียนรู้ กับประสบการณ์ในชีวิตประจาวัน ผู้เรียนจะมองเห็นความเป็นจริงในชีวิตของตนและถูกทา้ ยทายให้คิดหาทางออก ให้โอกาสได้สร้างแนวความคิดหรือมุมมองใหม่ ๆ ได้ร่วมแบ่งปันความคิดเห็น ความกังวลในใจและประสบการณ์ของตนเองร่วมกันอย่างต่อเนื่อง อย่างมีวิจารณญาณ นาไปสู่ความเข้าใจท่ีลึกซึ้ง และยังเป็นการสง่ เสริมความคิดข้ันสูงและพัฒนาทักษะการฟัง การพูดของผู้เรยี นอีกด้วย ทั้งน้ี ครูหรือผู้สอนจะต้องใช้เทคนิคการตั้งคาถามให้ผู้เรียนสะท้อน - เช่ือมโยง - ปรับใช้ (R-C-A) ในเร่ืองท่ีมีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตและการพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียนในด้านบวก หลังจากสนิ้ สุดการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ตามเนื้อหาสาระวตั ถุประสงค์ และตัวช้วี ดั ในรายวชิ าที่หลักสตู รกาหนดในแต่ละกิจกรรมหรือแต่ละรายชั่วโมงเรยี นเสมอการเสริมสร้างทักษะชีวิตใหก้ บั ผู้เรียนในช่วงวยั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน เป็นการสร้างคนให้มปี ระสิทธิภาพ ทัง้ ดา้ นความสามารถภายในและความสามารถภายนอก ความสามารถภายใน หมายถงึ ความสามารถทีจ่ ะจัดการกบั ปัญหาตา่ ง ๆ ที่เกิดขึ้นภายในตนเองและระหว่างตนเองกับผอู้ น่ื เชน่ การตดั สนิ ใจ การแกป้ ัญหา การจดั การกบั ความขัดแยง้ การจดั การกบั

ความรู้สึกของตนเอง การควบคุมตนเอง การสรา้ งสมั พนั ธภาพการปรบั ตัว การชว่ ยเหลอื ผ้อู ่ืนและการรับผดิ ชอบตัวเอง ความสามารถภายนอก หมายถึง ทักษะความชานาญในด้านต่าง ๆ ซึ่งเปน็ ส่ิงที่เสริมใหบ้ ุคคลดาเนินชีวติ อยา่ งมีความสุข และมีความสนุกสนานมากข้นึ เช่น การเรียนรว่ มกับเพ่ือนการเล่นเกม การทางาน การแสดงความสามารถพิเศษ อาทิ การขับร้อง การเล่นดนตรี การแสดงนาฏศิลป์ การสรา้ งงานศิลปะ การเลน่ กีฬา การประดิษฐป์ ระดอย เป็นตน้สรปุ ทักษะชวี ิต หมายถึง คุณลกั ษณะ หรือความสามารถเชิงสังคมจติ วิทยา เปน็ ทักษะทีช่ ว่ ยใหบ้ ุคคลสามารถเผชิญสถานการณ์ ต่างๆ ที่เกิดขึน้ ในชีวิตประจา วนั ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ทักษะชีวติ มกี ารพฒั นาทักษะชีวิต 4 ด้าน คอื การพัฒนาดา้ นที่ 1 ดา้ นสขุ ภาพอนามยั การพฒั นาด้านที่ 2 ดา้ นความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สิน การพฒั นาดา้ นที่ 3 ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม การพัฒนาดา้ นที่ 4 ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ ทกั ษะชวี ติ ท่ีควรเรียนรู้ มดี ังน้ี 1. ทกั ษะการตดั สนิ ใจ (Decision making) 2. ทักษะการแก้ปัญหา (Problem Solving) 3.ทกั ษะการคิดสรา้ งสรรค์ (Creative thinking) 4. ทกั ษะการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ (Critical thinking) 5.ทักษะการส่ือสารอย่างมปี ระสิทธภิ าพ (Effective communication) 6. ทกั ษะการสรา้ งสัมพนั ธภาพระหวา่ งบคุ คล (Interpersonal relationship) 7. ทกั ษะการตระหนกั รูใ้ นตน (Self awareness) 8.ทกั ษะการเข้าใจผู้อ่นื (Empathy) 9. ทักษะการจดั การกับอารมณ์ (Coping with emotion) 10. ทักษะการจดั การกับความเครยี ด (Coping with stress) การพัฒนาตนเอง (Self-development) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงและการปรับปรุงแก้ไขสงิ่ ตา่ งๆที่เกยี่ วข้องกบั ตนเองเพื่อนาไปสู่สง่ิ ทีด่ ขี ึน้ และบรรลจุ ุดมุ่งหมายแหง่ ชีวิต แนวคดิ การพัฒนาตนเอง 2. การพฒั นาตนเองเน้นการพ่ึงตนเอง 2. การพัฒนาตนเองในด้านคุณลกั ษณะท่ดี ี ขนั้ ตอนในการพัฒนาตนเอง 1. สารวจค้นหาจดุ อ่อนและจดุ เด่น 2. จดั ลาดับความสาคัญ 3. ลงมอื กาจดั จุดอ่อนและพัฒนาจุดเด่น 4. ประเมินผลและแก้ไขปรบั ปรงุการเลือกกจิ กรรมการสรา้ งและพัฒนาทักษะชวี ติ 1. กิจกรรมทีผ่ ้เู รียนมสี ่วนร่วมคน้ พบความรู้หรือสรา้ งความร้ดู ้วยตนเอง 2. กิจรรมทผี่ เู้ รียนได้ทากิจกรรมร่วมกัน 3. กิจกรรมท่ีกาหนดให้มีการอภิปรายแสดงความรูส้ ึกนึกคิดและการประยกุ ต์ความคดิ อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ http://reg2.crru.ac.th/reg_crru/files/books/GEN1032_full.pd

สาระน่ารู้ การประเมินทักษะชีวติ เป็นการประเมินพฤติกรรมผู้เรียนเปน็ รายบคุ คล เพื่อพัฒนาผเู้ รียนแตล่ ะคนใหม้ ีพัฒนาการทีด่ ตี รงตามความต้องการของทอ้ งถ่ิน และสังคมโดยการประเมินความสามารถหรือแนวทางในการเผชญิ สถานการณ์ตา่ งๆ ของผูเ้ รียนด้วยวิธีสงั เกตการแก้ปญั หาในสถานการณท์ ่กี าหนดใหแ้ ละวเิ คราะหก์ าร เปล่ยี นแปลงความคิดความเช่อืการรู้คิดและภูมคิ ้มุ กนั ทางปัญญาจากการสะท้อน ความคดิ การเช่ือมโยงความคิดและการแสดงพฤตกิ รรมต่อเนื่องหลังการเรยี นรู้ ฯลฯ ซึ่งผู้ประเมินอาจเปน็ ครู เพื่อน ผู้ปกครองหรือผ้เู รยี นเปน็ ผปู้ ระเมนิ ตนเอง คาถามชวนคดิ : หากนกั เรยี นสบู บุหรี่ นักเรียนจะมีโอกาสเกิดโรคหัวใจ มะเรง็ และโรคเส้นเลอื ดในสมองมากขึ้นเมื่อโตเปน็ ผู้ใหญ่ จรงิ หรือไม่ เพราะเหตุใด อาเชยี่ นน่ารู้ เดก็ และเยาวชนไทยก้าวเขา้ สูป่ ระชาคมอาเซียนอยา่ งทัดเทียมและไม่เสียเปรียบประเทศ สมาชิกอ่ืน ๆ น้ัน จาเปน็ ต้องปรับปรุงพัฒนาทักษะและคุณลักษณะในหลายด้าน ทั้งในสว่ นที่คน ไทยทราบดีอย่แู ลว้ และในสว่ นท่มี องขา้ ม เช่น ทักษะด้านภาษาอังกฤษ การตรงต่อเวลา ทกั ษะ การทางานเป็นทมี การมีวนิ ัยในตนเอง นสิ ัยรักการอ่าน และทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook