Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Final_บทที่ 2 หลักพื้นฐาน

Final_บทที่ 2 หลักพื้นฐาน

Published by tikkypucca, 2022-08-10 03:29:39

Description: Final_บทที่ 2 หลักพื้นฐาน

Search

Read the Text Version

บทท่ี 2 หลักการพืน้ ฐานของ ICS (Basic Principles of ICS)

วตั ถปุ ระสงค์ของบท ▪ อธบิ ายระบบการบัญชาการเหตกุ ารณ์ได้ ▪ อธบิ ายหลกั การเบื้องตน้ ของระบบการบัญชาการเหตุการณไ์ ด้ ▪ อธบิ ายวิธีการประยกุ ตใ์ ช้ระบบการบัญชาการเหตกุ ารณใ์ นทกุ เหตกุ ารณฉ์ ุกเฉินได้ ▪ สามารถเข้าใจว่าระบบการบญั ชาการเหตุการณส์ ามารถชว่ ย ปรับปรุงการจัดการเหตฉุ กุ เฉินได้ อยา่ งไร

กจิ กรรมท่ี 2.1 : ความท้าทายในการจัดการเหตกุ ารณ์ (Management Challenges) เอกสารแบบฝกึ หัดและกิจกรรม (Activity Packet) หนา้ 3

เหตฉุ กุ เฉนิ (Incidents) คอื อะไร An incident is . . . เหตุฉุกเฉนิ คือ ส่ิ ง ที่ เ กิ ด ข้ึ น ไ ม่ ว่ า จ ะ เ กิ ด จ า ก ปรากฎการณ์ธรรมชาติหรือจาก การกระทาของมนุษย์ ท่ีจาเป็นต้อง มีการปฏิบัติการเพ่ือท่ีจะป้องกัน หรือลดการสูญเสียชีวิต ความ เ สี ย ห า ย ต่ อ ท รั พ ย์ สิ น ห รื อ ต่ อ สิง่ แวดล้อมลงให้นอ้ ยท่สี ดุ

ระบบท่ใี ชเ้ พ่อื การสั่งการ ควบคุม และ ประสานความร่วมมอื ของแตล่ ะหนว่ ยงานในการ บริหารสถานการณฉ์ ุกเฉนิ สาธารณภยั เป็นระบบ ปฏิบัตกิ ารเพ่ือการระดมทรพั ยากรไปยังท่เี กิดเหตุ เพือ่ บริหารจัดการเหตฉุ กุ เฉนิ ใหส้ ามารถปกป้องชีวติ ทรัพยส์ ินและสิ่งแวดลอ้ มไดอ้ ย่างบรรลุเป้าหมาย และ มีประสทิ ธิภาพ

What Is ICS? มาตรฐานแนวคดิ การจัดการเหตุการณ์ ณ ทีเ่ กิดเหตุ ที่ใชไ้ ด้กับทกุ ภยั ใช้กบั เหตุการณท์ ุกชนิด ทกุ ขนาด ตั้งแตเ่ ลก็ ทีส่ ุด ถงึ ใหญท่ ่ีสุด เจ้าหน้าที่เผชิญเหตขุ องหลายหนว่ ยงาน ปฏบิ ัติหนา้ ที่ร่วมกันอยา่ งราบรืน่ และมี ประสิทธภิ าพ

เป้าประสงค์ของระบบบญั ชาการเหตุการณ์ (ICS Purposes) ▪ ความปลอดภัยของเจา้ หน้าทเี่ ผชิญเหตุและ เจ้าหน้าท่ีอนื่ ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง ▪ การบรรลวุ ัตถปุ ระสงคท์ างยุทธวธิ ี ▪ การใชท้ รัพยากรอย่างมปี ระสทิ ธิภาพคมุ้ ค่า

ประโยชน์ของระบบการบัญชาการเหตกุ ารณ์ Benefits ▪ สามารถใชใ้ นการจดั การเหตฉุ ุกเฉิน หรือเหตกุ ารณ์สาคัญทกุ ประเภทและขนาด ▪ ช่วยใหบ้ คุ ลากรจากหลากหลายหนว่ ยงานสามารถ รวมตัวและผสานการปฏิบัตงิ านไดอ้ ย่างรวดเรว็ ภายในโครงสร้างการจดั การเดียวกัน ▪ ใหก้ ารสนับสนนุ ดา้ นการสง่ กาลงั บารุงและการ บริหารงานจดั การให้ทีมปฏิบัตงิ านได้อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ ▪ ประหยดั และคุ้มคา่ หลกี เลีย่ งการปฏิบตั งิ านที่ ซาซอ้ น

หลกั การพนื้ ฐาน ของระบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์ (Basic Principles of ICS)

1. การวางมาตรฐาน (Standardization) ศัพท์มาตรฐานเดยี วกัน (Common Terminology) การบัญญตั ศิ ัพทม์ าตรฐานเดียวกนั : ▪ หน้าท่ตี า่ งๆ ภายในโครงสรา้ งองคก์ รการบัญชาการเหตกุ ารณ์ (Organizational functions) ▪ พนื้ ทฏ่ี ิบตั งิ าน (Incident facilities) ▪ ลกั ษณะ ประเภท และชนดิ ของทรพั ยากร (Resource descriptions) ▪ ชือ่ ตาแหน่งตา่ งๆ (Position titles) This is Unit 1, we have a 10-37, Code 2.

2. การบัญชาการ (Command) สายการบงั คบั บัญชา (Chain of Command) สายอานาจการบงั คบั บัญชา Incident Commander ตามลาดับชนั ผ้บู ัญชาการเหตุการณ์ Command Staff Public Information Officer เจา้ หนา้ ที่สนบั สนนุ เจา้ หน้าที่ประชาสมั พัธ์ การบัญชาการ Liaison Officer เจ้าหนา้ ที่ประสานงาน Safety Officer เจ้าหนา้ ท่ฝี ่ายความปลอดภัย Operation Section Chief Planning Section Chief Logistics Section Chief Administrative Section Chief General Staff หัวหนา้ สว่ นปฏบิ ตั ิการ หัวหน้าสว่ นแผนงาน หวั หน้าส่วนสง่ กาลังบารงุ หัวหนา้ ส่วนบริหาร เจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ Branch Director Air Operations Service Support ผอู้ านวยการสาขา Branch Director Branch Director Branch Director ปฏิบัติการ ผอู้ านวยการสาขา ผอู้ านวยการสาขา ผอู้ านวยการสาขา การปฏบิ ัตกิ ารทางอากาศ ปฏบิ ตั ิการบริการ การปฏบิ ตั กิ ารสนับสนนุ

เอกภาพในการบงั คับบัญชา (Unity of Command) ภายใต้หลกั เอกภาพในการบังคบั บัญชา Direct ผปู้ ฏิบตั งิ านจะตอ้ ง: Supervision ▪ รายงานตวั /ขนึ ตรงต่อผ้คู วบคมุ บังคบั บัญชากับหวั หน้าเพยี งคนเดียวเทา่ นัน ▪ รับการมอบหมายภารกิจ/งานท่ีจะต้อง ปฏบิ ัตจิ ากผู้บงั คับบญั ชาของตนเทา่ นัน

การแตง่ ตง้ั และถา่ ยโอนอานาจในการบังคับบัญชา (Establishment and Transfer of Command) เป็นการมอบอานาจการบงั คับบญั ชา จากผหู้ นึ่งไปยังอีกผหู้ นึง่ ตอ้ งมกี ารสรุปข้อมลู (Briefing) ทกุ ครัง และแจ้งผ้ใู ตบ้ งั คบั บญั ชาทกุ คนทราบ

ถา่ ยโอนอานาจในการบงั คับบัญชา (Transfer of Command) เกดิ ขึนเมอื่ : ▪ มบี คุ คลท่ีมีคุณสมบตั ิเหมาะสมกว่าเข้ามารับหนา้ ที่ ▪ สถานการณ์เปลยี่ นแปลง/มคี วามซับซ้อนขนึ ▪ สถานการณย์ ดื เยือ/กนิ ระยะเวลายาวนาน ▪ เมื่อสถานการณล์ ดระดับ

โครงสร้างการบญั ชาการ (Command Structure) การบญั ชาการเดย่ี ว การบญั ชาการรว่ ม (Single Command) Unified Command การบญั ชาการเดี่ยว การบัญชาการร่วม หว้ หน้าสว่ นปฏบิ ตั ิการ หว้ หน้าส่วนปฏบิ ัตกิ าร บคุ ลากร บคุ ลากร

3. การวางแผน และโครงสร้างองคก์ ร (Planning and Organization Structure) การบริหารจัดการโดยยึดวัตถุประสงค์ (Management by Objectives) ▪ การบรหิ ารจัดการเหตกุ ารณภ์ ายใตร้ ะบบการบญั ชาการเหตุการณ์ จะยดึ วัตถปุ ระสงค์ทีก่ าหนดโดย ทมี งานบัญชาการเปน็ หลกั ▪ วตั ถปุ ระสงค์ในการจดั การเหตุฉุกเฉนิ ท่ีเกิดขึน ตอ้ งส่ือสารใหท้ ราบทัว่ ทัง องคก์ ร (เจ้าหนา้ ที่ท่ีเกย่ี วขอ้ งจะตอ้ ง รบั ทราบและเขา้ ใจวัตถุประสงคร์ ว่ มกัน)

ลาดับความสาคญั ในการกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ วตั ถุประสงคข์ องการจดั การเหตุฉกุ เฉนิ กาหนดขนึ โดยมลี าดับความสาคัญในประเดน็ ดงั นี • ความปลอดภยั ในชีวิต (Life and Safety) • การปอ้ งกนั การลกุ ลามขยายตัวและ ลดผลกระทบของเหตกุ ารณ์ (Incident Stabilization) • การดารงรักษาทรพั ย์สิน (Property Preservation)

การใชแ้ ผนเผชิญเหตุ (Incident Action Plan) ผู้บัญชาการเหตุการณจ์ ดั ทาแผนเผชิญเหตซุ ึง่ : ▪ ระบวุ ัตถปุ ระสงค์ของการจัดการเหตกุ ารณ์ ▪ กาหนดกจิ กรรมท่จี ะต้องดาเนินการใหส้ าเร็จ ลลุ ่วง ▪ ครอบคลมุ ระยะเวลาท่กี าหนด เรียกวา่ “หว้ งเวลา ในการปฏิบตั ิงาน” (Operational Period) ▪ อาจเป็นด้วยวาจา หรอื ลายลกั ษณอ์ กั ษร ▪ คานงึ ถงึ ประเดน็ ทีค่ วรพจิ ารณาด้านกฎหมายและนโยบาย

องค์กรระบบการบญั ชาการเหตุการณ์ (ICS Organization) ▪ ไม่มีความเชอ่ื มโยงกบั โครงสรา้ งการบริหารงานของหน่วยงาน หรอื ขอบเขตอานาจหนา้ ทีแ่ ละพนื ที่รบั ผิดชอบของหน่วยงาน ตามปกติ ▪ เอกลกั ษณข์ ององคก์ ร ICS นี จะช่วยใหส้ ามารถหลีกเลีย่ งการ เกิดความสบั สนเกีย่ วกับสถานะของชือ่ ตาแหนง่ ต่างๆ และ โครงสร้างองคก์ ร

องคก์ รทส่ี ามารถปรบั เปลย่ี นขนาดได้ (Modular Organization) โครงสร้างองค์กร ICS มีความยืดหยนุ่ ▪ พฒั นาจากบนลงล่าง (Top - Down) ▪ ขึนกับขนาด ประเภท และความซบั ซ้อนของ เหตฉุ กุ เฉินท่เี กดิ ขนึ ▪ ขนึ อยู่กับลกั ษณะของภัย ตามเหตกุ ารณฉ์ กุ เฉิน ที่เกดิ ขึน

องค์กรทสี่ ามารถปรบั เปลยี่ นขนาดได้ (ตอ่ ) ▪ วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั การเหตฉุ กุ เฉิน จะเปน็ ปัจจยั กาหนดขนาดขององค์กร ▪ จะมกี ารจดั กาลังคนเขา้ ทางานเฉพาะ หน้าที่ตาแหนง่ /ภารกจิ (Functions) ท่ีจาเปน็ เท่านัน ▪ โครงสรา้ งแต่ละส่วนประกอบตามภารกจิ จะต้องมีบุคคล ทีร่ ับผิดชอบ

ช่วงของการควบคมุ ที่สามารถจัดการได้ (Manageable Span of Control) ▪ จานวนบุคคลหรือทรพั ยากรท่ผี ู้คมุ ดแู ลคนหนึ่งสามารถบรหิ ารจัดการ ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพในชว่ งทเี่ กิดเหตุฉุกเฉนิ ▪ เปน็ กญุ แจสาคญั ทน่ี าไปสกู่ ารจัดการเหตฉุ กุ เฉนิ ที่มปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล Supervisor หัวหน้า ทรพั ยากร 1 ทรัพยากร 3 ทรัพยากร 2

ชว่ งของการควบคุมท่ีเหมาะสม ชว่ งของการควบคมุ ภายใต้ระบบการบญั ชาการเหตกุ ารณ์ สาหรับหัวหน้าคนหนง่ึ ควรมี: ▪ ผู้ใต้บังคับบัญชา/ ผูอ้ ยภู่ ายใตก้ ารควบคุมดแู ล 3 - 7 คน ▪ ท่ีเหมาะสมท่สี ุดประมาณ 5 คน

4. การจดั พนื ทป่ี ฏบิ ัตกิ ารและทรพั ยากร (Facilities and Resource) การจัดพืนที่ปฏบิ ตั กิ าร (ICS facilities) Camp, Helibase, and Helispot Incident Staging Base Command Area Post

การบริหารจดั การทรพั ยากรอย่างครบวงจร (Comprehensive Resource Management) การบริหารจดั การทรพั ยากรครอบคลุมกระบวนการต่างๆ ดงั นี : ▪ การจาแนกทรพั ยากร (Categorizing resources) ▪ การร้องขอทรัพยากร (Requesting resources) ▪ การจัดส่งทรัพยากร (Dispatching resources) ▪ การตดิ ตามการใชท้ รพั ยากร (Tracking resources) ▪ การฟืน้ ฟูสภาพทรพั ยากร (Recovering resources) รวมถงึ กระบวนการจา่ ยเงินตามความเหมาะสมสาหรบั ใชท้ รพั ยากร

ประเภทของทรพั ยากร แบ่งตามวัตถปุ ระสงคก์ ารใชง้ าน 1. ทรัพยากรปฏิบตั กิ าร (Tactical Resources): บคุ ลากร และวัสดุอุปกรณ์หลกั ๆ ทใ่ี ชใ้ นการ ปฏบิ ัติงาน (ดาเนนิ กลยุทธ์) 2. ทรัพยากรสนบั สนุน (Support Resources) ทรัพยากรอนื่ ทังหมดทจ่ี าเปน็ ต่อการสนบั สนุน การบรหิ ารงานของระบบ (เช่น อาหาร อปุ กรณ์สอื่ สาร หรือพสั ดุอื่นๆ)

สถานะของทรัพยากร ปฏบิ ตั ิงาน: อย่รู ะหว่างปฏบิ ตั ิภารกิจทไ่ี ด้รบั มอบหมาย พร้อมปฏิบตั ิงาน: ปฏิบัตงิ านทนั ทที ี่ได้รบั มอบหมาย ไม่พรอ้ มปฏิบัตงิ าน: ชารุด อยูร่ ะหว่างการบารุงรักษา เติมเชอื เพลิง หรือหยดุ พกั ใช้งาน

การระดม/การเคล่อื นยา้ ย (Resource Mobilization) เม่ือมเี หตฉุ ุกเฉินเกดิ ขึน ▪ จะตอ้ งทาการประเมินสถานการณ์และจดั ทาแผนเผชญิ เหตุ ▪ การบรหิ ารจัดการทรัพยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและปลอดภยั เปน็ สง่ิ ที่ควรคานงึ ถึงใหม้ ากทีส่ ดุ ▪ ไมค่ วรระดม/เคลอ่ื นยา้ ยบุคลากรและเครอื่ งมือ เวน้ แตไ่ ด้รบั การร้องขอจากผู้บญั ชาการเหตุการณ์ในพืนท่ีเกดิ เหตุ

5. การส่ือสารและการจดั การข้อมลู (Communication/Information Management) การสอ่ื สารเชงิ บรู ณาการ (Integrated Communications) การสอ่ื สารในการจดั การเหตกุ ารณส์ ามารถดาเนนิ การได้โดย ▪ การจัดทาและการใช้แผนการสอ่ื สาร รว่ มกัน ▪ อุปกรณ์การสอ่ื สารขันตอนการ ดาเนนิ งาน และระบบสามารถ เชือ่ มตอ่ และใช้รว่ มกนั ได้ (Interoperability) ก่อนเกิดเหตุฉกุ เฉิน มคี วามจาเปน็ และสาคัญอย่างยง่ิ ทจี่ ะตอ้ งจัดระบบการส่ือสาร ที่สามารถเข้ากนั ได้ (วทิ ยสุ อ่ื สาร คอมพิวเตอร์ และศพั ทบ์ ญั ญัติ)

การจัดการขอ้ มลู และการข่าว (Information and Intelligence Management) ▪ รวบรวมข้อมูล ▪ การแลกเปลย่ี นข้อมลู ทร่ี วดเรว็ ถูกต้องและแมน่ ยา ▪ บริหารจดั การขอ้ มูล

6. ความเปน็ มืออาชีพ (Professionalism) ความรับผิดชอบตอ่ การปฏบิ ัติหน้าที่ (Accountability) ▪ การรายงานตัว/แสดงตน (Check in) : เจา้ หนา้ ทีเ่ ผชญิ เหตุทุกคน จะตอ้ งเขา้ รายงานตัวหรือแสดงตนเพ่อื รบั มอบหมายหน้าทใี่ หเ้ ปน็ ไป ตามระเบียบปฏบิ ตั ิงานทก่ี าหนดโดยผบู้ ญั ชาการเหตุการณ์ ▪ แผนเผชญิ เหตุ : การปฏบิ ัตกิ ารต้องเปน็ ไปตามทกี่ าหนดไว้ในแผน เผชิญเหตุ ▪ เอกภาพในการบงั คับบญั ชา: แต่ละบคุ คลจะได้รับการมอบหมาย ให้อยู่ภายใตก้ ารควบคุมกากบั ดแู ลโดยผ้บู ังคบั บัญชาเพยี งหนงึ่ คน เท่านนั

ความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติหนา้ ท่ี (Accountability) ▪ ช่วงของการควบคมุ : ผู้เป็นหวั หน้าจะต้องสามารถกากับดูแล และควบคมุ ผู้ใตบ้ งั คับบญั ชาของตนไดอ้ ย่างเพยี งพอ เหมาะสม พร้อมทงั สามารถจดั การและสื่อสารกับทรพั ยากรท่อี ยูภ่ ายใต้การ ควบคุมดูแลของตนทงั หมดได้ ▪ การตดิ ตามทรัพยากร : ผู้เปน็ หวั หน้า จะตอ้ งบนั ทกึ และรายงานการ เปล่ยี นแปลง สถานะทีเ่ กิดขนึ ของ ทรัพยากร

การมอบหมายหน้าท่ี (Delegation) การมอบหมายหน้าทไ่ี ปถึงผู้ปฏิบตั ริ ะดบั ลา่ งสุดเทา่ ท่จี ะเปน็ ไปได้ จะชว่ ยทา ให้ผู้ทเี่ ปน็ หวั หนา้ สามารถทจ่ี ะ : ▪ มอบหมายความรับผิดชอบแก่ผ้ใู ตบ้ ังคบั บญั ชา และเมอื่ ใดกต็ ามทมี ี การมอบหมายหนา้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบแลว้ ผู้ซ่งึ เปน็ หัวหนา้ จะ สันนิษฐานวา่ หนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบนนั จะตอ้ งบรรุผล ▪ รกั ษาชว่ งของการควบคุมให้ เหมาะสมท่จี ะสามารถ จัดการได้

การมอบหมายอานาจหนา้ ที่ (Delegation of Authority) ▪ ใหอ้ านาจในการปฏิบตั ิหน้าท่เี ฉพาะเจาะจง ▪ มอบหมายโดยเจ้าหนา้ ทผี่ ู้รับผดิ ชอบ (ผ้บู รหิ ารระดับสูง หรอื ผูบ้ รหิ ารหน่วยงาน) โดยหนังสือ หรือทางวาจา ▪ ช่วยใหผ้ ู้บญั ชาการเหตกุ ารณ์เขา้ รบั หนา้ ที่บญั ชาการเหตกุ ารณ์ได้ ▪ โดยทีย่ ังไม่เปน็ การปลดเปลอื งภาระความรับผิดชอบในการจัดการ เหตุการณ์

Activity 2.1+2.2 : ความท้าทายในการจดั การเหตกุ ารณ์ และการประยุกตใ์ ชห้ ลกั การของระบบการบัญชาการเหตุการณ์ (Management Challenge Applying ICS Principles) เอกสารแบบฝกึ หดั และกิจกรรม (Activity Packet) หนา้ 3

บทสรุป คณุ ลกั ษณะพืนฐานของระบบ ICS มาตรฐาน • ใชภ้ าษาทวั่ ไปทเี่ ขา้ ใจง่าย เข้าใจตรงกนั การบังคบั บัญชา • การสถาปนาและมอบการบงั คับบญั ชา การวางแผน • ลาดบั และเอกภาพของการบังคับบญั ชา โครงสรา้ ง • การส่ังการร่วม การจัดองคก์ ร • การบรหิ ารโดยยดึ วัตถุประสงค์ • แผนเผชญิ เหตุ • โครงสร้างองคก์ รแบบ Modular • ชว่ งการควบคุมทเ่ี หมาะสม

บทสรุป คณุ ลกั ษณะพืนฐานของระบบ ICS (ตอ่ ) การจัดพืน้ ท่ี • การจัดการทรพั ยากรอย่างครบวงจร ปฏิบตั ิการ • ทีต่ ง้ั สถานท่ี และศูนยบ์ ญั ชาการ ทรพั ยากร การสอ่ื สารและ • การบูรณาการดา้ นการสอื่ สาร การจัดการข้อมลู • การจดั การข้อมลู ทว่ั ไปและขา่ วสาร ความเปน็ มอื อาชีพ • ความรับผดิ ชอบ • การสนบั สนุน แจกจ่าย จดั ส่งทรัพยากร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook