Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chapter 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล (การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย)

Chapter 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล (การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย)

Published by thipsuda031209, 2019-09-24 05:13:01

Description: Chapter 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล (การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย)

Search

Read the Text Version

การสือ่ สารขอ้ มลู และเครือขา่ ย (Data Communications and Networks) หนว่ ยท่ี 1 ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับการส่อื สารข้อมลู และระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ ครูทิพย์สุดา แน่นอดุ ร แผนกวชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ

วัตถุประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายความรูท้ ว่ั ไปเกยี่ วกับการส่อื สารข้อมลู ได้ 2. อธบิ ายประโยชน์ของการสอื่ สารข้อมลู ได้ 3. อธบิ ายความรทู้ ่วั ไปเกี่ยวกับระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ได้ 4. อธิบายประโยชน์ของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอรไ์ ด้

ววิ ัฒนาการของการส่ือสาร • วิวฒั นาการของการสอ่ื สารดว้ ยเสยี ง • ในปี ค.ศ. 1837 โดย ซามเู อล มอร์ส (Samuel Morse) และผู้ช่วยของเขา คือ อัลเฟรด เวล (Alfred Vail) ไดป้ ระดิษฐ์โทรเลขขึ้น เพือ่ ใชร้ บั ส่งข้อมูลโดยอาศัยการแปลงรหัส ข้อมลู ไปเป็นรหสั สัญญาณทางไฟฟ้าหรือท่เี รยี กวา่ รหสั มอรส์ (Morse code) • ในปี ค.ศ. 1876 อเลก็ ซานเดอร์ เกรแฮม เบล์ล (Alexander Graham Bell) ไดพ้ ัฒนาการ ส่อื สารให้มีความก้าวหนา้ ขึ้นอกี ขน้ั หน่ึงจากโทรเลขของมอรส์ โดยแทนทจ่ี ะส่งข้อมูล ในรูปของรหัสข้อมูลแลว้ แปลงเป็นรหัสสัญญาณไฟฟ้า แต่เบล์ลใช้การแปลงข้อมูล จากเสียงพูดโดยตรงไปเป็นสัญญาณไฟฟ้าแล้วส่งไปตามสายสัญญาณที่เชื่อมโยง ระหว่างผู้สง่ และผรู้ บั เบลล์ ได้ประดษิ ฐโ์ ทรศพั ทท์ ีส่ ามารถส่อื สารในระยะไกลข้ึนเป็น คร้งั แรก

วิวฒั นาการของการสือ่ สาร • ววิ ฒั นาการของการสื่อสารด้วยเสียง (ตอ่ ) • ในปี ค.ศ. 1915 การบรกิ ารโทรศพั ท์ข้ามทวีปและข้ามมหาสมุทรแอ็ตแลนติกได้เร่ิม เปดิ ใหบ้ รกิ ารในสหรัฐอเมริกา และในชว่ งต้นของทศวรรษ 1920 โทรศัพท์ท่ีใช้การ หมุนหมายเลข (dial telephone) โดยจะตอ้ งมเี จา้ หนา้ ที่โอเปอรเ์ รเตอร์ทาหน้าท่ีในการ สลับสายสัญญาณ ท่มี า : dailygizmo.files.wordpress.com

วิวัฒนาการของการสอ่ื สาร • วิวัฒนาการของการสื่อสารด้วยเสียง (ต่อ) • ในปี ค.ศ. 1948 ระบบโทรศัพท์ท่ีเช่ือมต่อโดยใช้สัญญาณไมโครเวฟ จึงได้ถูก พัฒนาข้ึนในประเทศแคนาดา และในปี ค.ศ. 1951 โทรศัพท์ทางไกลท่ีไม่ต้องมี เจ้าหนา้ ที่โอเปอร์เรเตอร์สลบั สายโทรศัพทใ์ ห้แก่ผใู้ ช้ ทีม่ า : www.aowireless.com

วิวฒั นาการของการสื่อสาร • วิวัฒนาการของการสื่อสารด้วยเสยี ง (ต่อ) • โทรศัพท์ระหว่างประเทศที่ใช้สัญญาณดาวเทียมเครื่องแรกได้พัฒนาข้ึน ในปี ค.ศ. 1962 โดยใช้สัญญาณจากดาวเทยี มเทลสตาร์วัน (Telstar I) และในปี ค.ศ. 1965 ระบบโทรศพั ทร์ ะหว่างประเทศที่ใช้สัญญาณดาวเทยี มก็ได้มกี ารใช้อย่างแพร่หลายทั่ว โลก ท่มี า : telstarlogistics.typepad.com และ www.alcatel-lucent.com

วิวฒั นาการของการส่ือสาร • ววิ ัฒนาการของการส่ือสารดว้ ยเสยี ง (ต่อ) • โทรสารหรือแฟ็กซ์ (fax) ได้เริ่มเกิดข้ึนในปี ค.ศ. 1962 และในปี ค.ศ. 1963 บริษัท ตา่ ง ๆ ได้เร่มิ มกี ารจาหน่ายโทรศัพท์ท่ีใช้การกดปมุ่ (touch tone telephone) ให้แก่ผู้ใช้งานท่ัวไป นอกจากนี้ยังไดม้ กี ารพัฒนาโทรศัพทท์ สี่ ามารถเห็นภาพใบหน้าระหวา่ งผู้สนทนาข้ึน ในปี ค .ศ. 1969 • ในชว่ งระหว่างปี ค.ศ. 1983-1984 ได้เร่ิมมีการนาระบบโทรศัพท์ที่ใช้เครือข่ายเซลลูลาร์มา ให้บริการแก่สาธารณชน ซ่ึงในระหว่างนัน้ โทรศัพท์ทใ่ี ช้ยังมขี นาดใหญ่เทอะทะ และมีน้าหนัก มากไม่สะดวกต่อการพกพาไปในที่ตา่ ง ๆ ต่อมาในชว่ งทศวรรษ 1990 ได้มีการพัฒนาโทรศัพท์ ดังกลา่ วใหม้ ีขนาดกะทดั รดั ง่ายและสะดวกต่อผูใ้ ชใ้ นการพกพา จงึ ทาให้โทรศพั ทท์ ี่ใช้เครือข่าย เซลลูลารไ์ ด้รับความนิยมมากขึ้น ซึ่งโทรศัพท์ดังกล่าวเรียกอีกชื่อหน่ึงว่า โทรศัพท์เคลื่อนท่ี (mobile telephone)

วิวฒั นาการของการส่อื สาร • สรปุ ววิ ัฒนาการของการสื่อสารด้วยเสียง ปี ค.ศ. เทคโนโลยี รายละเอยี ด 1837 1876 โทรเลข ซามเู อล มอรส์ ประดษิ ฐโ์ ทรเลขขึ้นมา โดยใชร้ หสั มอร์ส 1915 โทรศพั ท์ อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ ประดิษฐ์โทรศัพทร์ ะหว่างเมืองปารีสในแคนาดากบั เมอื ง 1948 แบรนด์ฟอร์ดในแคนาดาเช่นกัน 1962 โทรศพั ทข์ า้ มทวปี เรม่ิ เปดิ ให้บรกิ ารในสหรัฐอเมรกิ าเปน็ ครัง้ แรก 1963 โ ท ร ศั พ ท์ ที่ เ ชื่ อ ม สั ญ ญ า ณ มีการพฒั นาขึ้นในประเทศแคนาดา 1969 1983-1984 ไมโครเวฟ ทศวรรษ 1990 โทรศัพทท์ ่ใี ช้สญั ญาณดาวเทียม/ โทรศัพทร์ ะหวา่ งประเทศโดยใชส้ ญั ญาณดาวเทียมเทลสตาร์วันและเร่ิมมีการใชโ้ ทรสาร โทรสาร โทรศพั ทท์ ่ีใช้การกดปุ่มแทนการ มีการจาหน่ายโทรศัพท์ท่ใี ชก้ ารกดปุ่มแทนการหมุน หมนุ หมายเลข โทรศัพทภ์ าพ เริ่มมีการพฒั นาระบบโทรศพั ท์ภาพขึ้นมาใช้งาน โทรศัพท์เครือข่ายเซลลูลาร์ บริษัทหลายแห่งพัฒนาระบบโทรศพั ท์ทีใ่ ชเ้ ครอื ข่ายเซลลูลาร์มาใหบ้ รกิ ารแกส่ าธารณชน โทรศพั ท์เคลื่อนที่ บรษิ ัทหลายแหง่ เริม่ พัฒนาโทรศัพทเ์ คล่อื นทอ่ี อกมาจาหน่ายและแพร่หลายจนถึงปัจจุบนั

ววิ ัฒนาการของการสื่อสาร • ววิ ัฒนาการของการสอ่ื สารข้อมูล • คอมพิวเตอร์ยุคใหมก่ เ็ ริ่มตน้ ขึ้นในช่วงทศวรรษ 1960 ซ่ึงเป็นจุดเริ่มต้นที่ทาให้เกิด ระบบงานประยุกต์ใหม่ ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการสื่อสารข้อมูลขึ้น เช่น ระบบ ประมวลผลและกาหนดเส้นทางเชื่อมต่อของโทรศัพท์ ประหยัดค่าใช้จ่าย ระบบ รับส่งขอ้ มูลระหว่างเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ตงั้ แต่สองเครอ่ื งขึ้นไป โดยผใู้ ชส้ ามารถใช้ คอมพิวเตอรเ์ ครื่องหน่ึงท่ีเรียกว่า \"ดัม เทอร์มินัล (dumb terminal)\" บันทึกข้อมูล และสง่ ขอ้ มลู นน้ั ผ่านสายโทรศพั ท์ไปประมวลผลท่ีเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม (mainframe) และเมอื่ ไดผ้ ลลัพธ์ เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมก็จะส่งผลลัพธ์น้ัน กลบั มายงั เครือ่ งเทอรม์ ินัล

ววิ ฒั นาการของการสอื่ สาร • ววิ ฒั นาการของการสอ่ื สารขอ้ มลู (ต่อ) • ในช่วงทศวรรษ 1970 ระบบคอมพิวเตอร์ออนไลน์ได้ถูกพัฒนาข้ึนให้สามารถ ทางานแบบเรียลไทม์ (real time) • การทางานแบบการประมวลผลรายการธุรกรรมหรือทรานแซกชัน (transaction) ณ เวลาท่เี กดิ รายการธรุ กรรมไดท้ นั ที โดยไมต่ ้องเกบ็ รวบรวมข้อมูลไว้เหมือนกบั การ ประมวลผลแบบแบทซ์ • มกี ารนาเครื่องคอมพิวเตอรพ์ ซี ีท่ีมซี ีพยี อู ยูด่ ว้ ยภายในเคร่ือง มาเช่ือมต่อแทนดัมบ์ เทอร์มินัล ทาให้เครื่องพีซีสามารถประมวลผลได้เอง โดยไม่ต้องรอการ ประมวลผลจากเครื่องเมนเฟรมและได้วิวัฒนาการมาสู่ระบบเครือข่ายแบบ ไคลเอนต์เซริ ์ฟเวอร์หรอื แมข่ า่ ย-ลกู ข่าย

ววิ ฒั นาการของการส่อื สาร • สรุป ววิ ัฒนาการของการส่ือสารข้อมูล รายละเอียด เครือ่ งคอมพวิ เตอร์เครอื่ งแรกของโลก ปี ค.ศ. เทคโนโลยี การประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ ช่วยให้สามารถประดิษฐ์ 1945 เครอื่ งคอมพวิ เตอร์อนี แิ อก็ เครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ มี่ ีขนาดเล็กลง 1947 ทรานซสิ เตอร์ ชว่ ยประหยัดคา่ ใชจ้ ่ายในการใช้ซพี ียขู องเครื่อง เร่ิมเชอ่ื มโยงเคร่ืองคอมพวิ เตอรร์ ะหวา่ งเครื่องเมนเฟรม ทศวรรษ 1950 ระบบประมวลผลแบบแบทซ์ และเครื่องดมั บเ์ ทอรม์ ินัล ทศวรรษ 1960 ระบบงานเครือขา่ ย การทางานแบบประมวลผลรายการธุรกรรม ณ เวลาท่ี เกดิ รายการธุรกรรมได้ทันที มกี ารใชเ้ คร่ืองเทอร์มินัลท่ี ทศวรรษ 1970 ระบบเรียลไทม์ ซีพียแู ทนดมั บเ์ ทอรม์ ินลั การพัฒนาเครอื่ งพซี ที ม่ี ีขนาดเลก็ ลงและมรี าคาถกู ข้ึนมา ทศวรรษ 1980 เครอื่ งพซี ี ใชง้ าน

ความหมาย องค์ประกอบพื้นฐาน และประโยชน์ของการสื่อสารขอ้ มูล การส่ือสารข้อมูล หมายถึง การแลกเปลี่ยนข้อมูลและ สารสนเทศระหวา่ งอปุ กรณ์หรือจากคอมพิวเตอร์ทท่ี าหน้าที่เป็น ผู้ ส่ ง ข้ อ มู ล กั บ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ท่ี ท า ห น้ า ท่ี เ ป็ น ผู้ รั บ ข้ อ มู ล ผ่ า น ตัวกลาง ผ่านทางสื่อกลางท่ีใช้แลกเปล่ียน ข้อมูลท่ีใช้ในการ แลกเปล่ียนระหว่างกันจะอยู่ในรูปแบบของ 0 และ 1 หรือ เรียกว่าดิจิตอล และจะต้องมีข้อตกลงหรือกฎเกณฑ์วิธีการ ส่ือสารระหว่างกนั เรยี กวา่ โปรโตคอล

องคป์ ระกอบของการสอ่ื สารข้อมูล Step 1: ขา่ วสาร Step 1: Step 2: (Message) Step 2: Step 3: Step 3: …… …… โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอล (Protocol) ผ้สู ่ง สือ่ กลางส่งข้อมลู ผู้รับ (Sender) (Medium) (Receiver)

องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมลู (ตอ่ ) • ขา่ วสาร (Message) • ผ้สู ง่ (Sender/Source) • ผรู้ บั (Receiver/Destination) • สือ่ กลางส่งขอ้ มูล (Transmission Medium) • โปรโตคอล (Protocol)

องค์ประกอบของการส่ือสารขอ้ มลู (ตอ่ ) • ขา่ วสาร (Message) คือ ข้อมูลหรือสารสนเทศต่างๆ ท่ีอาจเป็น ข้อความ ตวั เลข รปู ภาพ เสยี ง และวดิ โี อ ข่าวสารท่ีส่งไปจะต้อง ไดร้ ับการเข้ารหสั (Encoding) เพื่อสง่ ผ่านส่ือสาร เม่ือปลายทาง ได้รับข้อมูล ก็จะทาการถอดรหัส (Decoding) ให้กลับมาเป็น ขอ้ มูลดังเดิมเช่นเดยี วกับที่ส่งมา ระหว่างท่ีลาเลียงข่าวสารผ่าน สอ่ื กลาง อาจมีสัญญาณรบกวนปะปนมากับข่าวสารได้

องคป์ ระกอบของการสื่อสารขอ้ มลู (ตอ่ ) • ผู้ส่ง (Sender/Source) ผู้ส่งหรือแหล่งกาเนิดข่าวสาร คือ อปุ กรณ์ท่ีใช้สาหรับส่งข่าวสาร ซ่ึงอาจเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ เวิรก์ สเตชนั่ โทรศัพท์ กลอ้ งวดิ โี อ เปน็ ตน้ • ผู้รับ (Receiver/Destination) ผู้รับหรือจุดหมายปลายทาง คือ อปุ กรณ์ท่ใี ชส้ าหรับรับข่าวสาร ซึ่งอาจเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ เวิร์กสเตช่นั โทรศพั ท์ โทรทศั น์ เป็นตน้

องค์ประกอบของการสื่อสารขอ้ มูล (ต่อ) • ส่อื กลางสง่ ขอ้ มูล (Transmission Medium) คือ เส้นทางเชิงกายภาพที่ใช้ สาหรับการลาเลียงขา่ วสารจากผู้ส่งไปยังผู้รับ กรณีที่เป็นการส่ือสารแบบ ใชส้ าย ตัวกลางที่ใช้อาจเป็นสายทองแดง สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนา แสง ฯลฯ กรณที ี่เป็นการสือ่ สารแบบไรส้ ายตัวกลางที่ใชเ้ ปน็ อากาศ • โปรโตคอล (Protocol) คอื กล่มุ ของกฎเกณฑ์และข้อปฏิบัติต่างๆ ที่กาหนด ข้ึนมา เพ่ือนามาใชเ้ ป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ เพื่อให้การ ส่อื สารบรรลุผล ถงึ แมอ้ ุปกรณท์ ั้งสองฝั่งจะสามารถเชือ่ มต่อถึงกันได้ก็ตาม หากไม่มีโปรโตคอล ก็จะไมส่ ามารถส่อื สารกนั ได้อยา่ งเข้าใจ ส่งผลให้การ ส่อื สารลม้ เหลวในทสี่ ดุ

ทิศทางการไหลของขอ้ มลู (Direction of data flow) • สามารถแบ่งออกไดเ้ ปน็ 3 ประเภท ดังนี้ • การสื่อสารขอ้ มูลแบบทศิ ทางเดียว (Simplex) • การสอื่ สารข้อมลู แบบกึ่งสองทศิ ทาง (Haft Duplex) • การสอื่ สารข้อมูลแบบสองทิศทาง (Full Duplex)

ประโยชนข์ องการส่อื สารข้อมลู • ชว่ ยใหเ้ กดิ การแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ขา่ วสาร หรือสารสนเทศ ระหวา่ งหนว่ ยงาน กับหน่วยงาน บุคคลกับหน่วยงานและบุคคลกับบุคคล ซ่ึงการแลกเปล่ียน ขอ้ มลู ข่าวสาร หรอื สารสนเทศระหว่างกันและกันน้ัน ก่อให้เกิดประโยชน์ ในดา้ นตา่ งๆ ตามมาอีก เช่น การเรียนรู้ การสร้างนวัตกรรม การสร้างความ เข้าใจและความสมั พนั ธท์ ี่ดตี ่อกนั ฯลฯ • ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในการทาธรุ กรรมด้านตา่ งๆ การสอื่ สารข้อมลู นอกจาก จะชว่ ยใหเ้ กดิ การแลกเปลี่ยนข้อมลู ข่าวสาร หรือสารสนเทศ ระหว่างกนั และ กันแล้ว ยงั ทาใหก้ ารติดตอ่ ประสานงานในดา้ นต่างๆ เป็นไปด้วยความราบรื่น การทาธุรกรรมมีความงา่ ย สะดวกและรวดเร็วมากขนึ้

ประโยชน์ของการส่ือสารข้อมูล (ตอ่ ) • ชว่ ยเพม่ิ ผลผลติ ให้แก่การดาเนินงานทุกประเภท ท้ังน้ีเน่ืองจากการส่ือสาร ขอ้ มูลชว่ ยใหท้ คุ นทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การดาเนนิ งานมีความเข้าใจท่ีตรงกัน จึงทา ใหเ้ กดิ การดาเนินงานทส่ี อดคล้องกบั เป้าหมายท่ีกาหนดไว้ โดยใช้ระยะเวลา นอ้ ยลง ทาให้มีเวลาเหลือท่จี ะไปดาเนินการในเร่อื งอนื่ ๆ เพิม่ มากข้ึน ซ่ึงช่วย ทาใหไ้ ดผ้ ลผลิตของงานเพ่ิมข้ึน • ชว่ ยลดความขัดแยง้ ในการดาเนินงานลง ในการดาเนินงานใดๆ ให้สาเร็จตาม เปา้ หมายกต็ าม ผดู้ าเนินงานจาเปน็ ต้องมีความเข้าใจในขน้ั ตอน วัตถุประสงค์ และหน้าท่ีความรับผิดชอบของตนท่ีมีต่องาน รวมท้ังเพื่อนร่วมงานท้ังนี้ เนื่องจากความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งและปัญหา อุปสรรคต่างๆ ได้ ดังน้ันการส่ือสารข้อมูลจึงมีบทบาทท่ีสาคัญในการลด ความขัดแย้งตา่ งๆ ลง

ววิ ัฒนาการของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ • ค.ศ.1940 จอร์ช สทิบิทซ์ (George Stibitz) ได้ใช้เคร่ืองพิมพ์ทางไกลหรือ เครอ่ื งเทเลไทป์ (teletype) สง่ โจทย์หรอื ปญั หาคณติ ศาสตร์จากวทิ ยาลัยดาร์ต เมาท์ ในรัฐนวิ แฮมเชยี ร์ ไปยงั เคร่ืองคานวณเลขเชิงซ้อนในรัฐนิวยอร์กและ รับข้อมลู คาตอบกลับมาด้วยวิธีเดียวกัน ซ่ึงเป็นการเชื่อมโยงเครื่องจักรให้ สามารถทางานในลกั ษณะของเคร่ืองพิมพท์ างไกลได้ • ทศวรรษ 1950 เคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่ใช้จะเป็นเคร่ืองเมนเฟรม และการ ประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ในขณะนั้นจะมีลักษณะแบบ แบทช์ (batch) โดยเจา้ หน้าทที่ ่ที าหน้าทปี่ ระมวลผลขอ้ มูลที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ จะตอ้ ง รวบรวมงานท่ีผู้ใช้ส่งมาให้ได้ปริมาณมากพอสมควร (ซง่ึ ขณะนัน้ งานทนี่ ามา ส่งจะมีลักษณะเปน็ บัตรเจาะรู (punch card))

วิวฒั นาการของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (ตอ่ ) • ทศวรรษ 1960 ได้เริ่มมีการเช่ือมต่อเครื่องเมนเฟรมเข้ากับ เครือ่ งเทอร์มนิ ลั โดยใชส้ ายโทรศพั ท์ เพื่ออานวยความสะดวกใหแ้ ก่ผู้ใช้ ในการปอ้ นงานผ่านเคร่อื งเทอร์มินลั ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งนาบัตรเจาะรูมาส่งท่ี ศนู ย์คอมพวิ เตอร์ • ค.ศ.1962 เจซีอาร์ ลิกค์ไลเดอร์ (J.C.R Licklider) ซ่ึงทาหน้าอยู่ที่แอ็ด วานซ์รีเสิร์ชโปรเจกต์เอเยนซี หรือเรียกสั้นๆ ว่า อาร์ปา (ARPA: Advance Research Project Agency) ซ่งึ เปน็ ที่มาของชื่อระบบเครือข่าย อาร์ปาเนต็ ได้พฒั นาเทคโนโลยกี ารทางานกลุ่มขึ้นมา เรียกว่า อินเทอร์ กาแลกติค เนต็ เวิรก์ (Intergalactic Network)

ววิ ฒั นาการของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ (ต่อ) • ค.ศ.1964 นกั วจิ ัยท่ีดารต์ เมาท์ไดพ้ ัฒนาระบบคอมพวิ เตอรท์ ่ีผใู้ ชส้ ามารถ ร่วมกันแบ่งปันเวลาการทางานของซีพียูของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ เรียกว่า “ระบบดาต์ตเมาท์ไทม์แชร์ริง (Dartmouth Time Sharing System)” • ใช้เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ในการจัดเสน้ ทางและควบคุมการทางานของการ เชอ่ื มต่อโทรศัพท์

ววิ ฒั นาการของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ (ต่อ) • ค.ศ.1964 นกั วจิ ัยท่ีดารต์ เมาท์ไดพ้ ัฒนาระบบคอมพวิ เตอรท์ ่ีผใู้ ชส้ ามารถ ร่วมกันแบ่งปันเวลาการทางานของซีพียูของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ เรียกว่า “ระบบดาต์ตเมาท์ไทม์แชร์ริง (Dartmouth Time Sharing System)” • ใช้เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ในการจัดเสน้ ทางและควบคุมการทางานของการ เชอ่ื มต่อโทรศัพท์

วิวัฒนาการของระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ (ต่อ) • ทศวรรษ 1960 ลีโอนาร์ด ไคลน์ร็อค (Leonard Klienrock) พอล บาราน (Paul Baran) และโดนลั ด์ เดวสี ์ (Donald Davies) ไดร้ ว่ มกันคิดหลักการ และพฒั นาระบบเครอื ขา่ ย ซึง่ ใช้การรับส่งข้อมูลแบบแพ็กเก็ต (packet) หรือดาต้าแกรม (datagram) ที่สามารถนาไปใช้กับเครือข่ายแพ็กเก็ต สวิตช์ (packet switch) เพอ่ื รับสง่ ข้อมูลระหวา่ งระบบคอมพิวเตอร์ • ค.ศ.1965 โทมสั เมอร์ริลล์ (Thomas Merrill) และลอเรนซ์ จี โรเบิร์ตส์ (Lawrence G. Roberts) ได้สรา้ งระบบเครือขา่ ยระยะไกลหรอื ระบบแวน (WAN: Wide Area Network)

ววิ ฒั นาการของระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ (ตอ่ ) • ค.ศ.1969 มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ลอสแองเจิลลิส มหาวิทยาลัย แคลิฟอร์เนียที่ซานตาบาร์บารา มหาวิทยาลัยยูทาห์ และสถาบันวิจัย สแตนฟอร์ด (SRI: Stanford Research Institute) ซึ่งเป็นองค์กรวิจัย นานาชาติทไ่ี มห่ วังผลกาไร • รว่ มกันเช่อื มโยงระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานเข้าด้วยกัน โดยความเรว็ ทใี่ ชใ้ นขณะนน้ั คือ 50 กิโลบติ ตอ่ วนิ าที ซึง่ แนวคิดดงั กล่าว ไดถ้ กู นาไปประยุกต์ และกลายเป็นจุดเริ่มต้นของเครือข่ายอาร์พาเน็ต และเครอื ข่ายอนิ เทอร์เน็ต

ววิ ฒั นาการของระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ (ตอ่ ) • ค.ศ.1969 มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ลอสแองเจิลลิส มหาวิทยาลัย แคลิฟอร์เนียที่ซานตาบาร์บารา มหาวิทยาลัยยูทาห์ และสถาบันวิจัย สแตนฟอร์ด (SRI: Stanford Research Institute) ซึ่งเป็นองค์กรวิจัย นานาชาติทไ่ี มห่ วังผลกาไร • รว่ มกันเช่อื มโยงระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานเข้าด้วยกัน โดยความเรว็ ทใี่ ชใ้ นขณะนน้ั คือ 50 กิโลบติ ตอ่ วนิ าที ซึง่ แนวคิดดงั กล่าว ไดถ้ กู นาไปประยุกต์ และกลายเป็นจุดเริ่มต้นของเครือข่ายอาร์พาเน็ต และเครอื ข่ายอนิ เทอร์เน็ต

ววิ ฒั นาการของระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ • ทศวรรษ 1990 ไดเ้ รม่ิ มีการพัฒนาระบบเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) หรือทร่ี จู้ ักกนั ในช่อื ของระบบอินเทอร์เน็ต (internet) • ทาให้เคร่อื งคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งที่บ้านต่างก็มีการ เชอ่ื มโยงเป็นระบบเครือข่าย • ค.ศ.1969 ระบบอินเทอร์เนต็ ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยกระทรวงกลาโหม ของสหรัฐอเมริกา ให้เปน็ ระบบเครอื ขา่ ยสาหรับเช่อื มโยงคอมพิวเตอร์ท่ี ใชใ้ นราชการของกระทรวงฯ ท่เี รยี กว่า \"อาร์พาเน็ต (ARPANET)\" โดย เป้าหมายของการพฒั นา ณ ขณะนั้น คือ การเช่ือมโยงชุดคอมพิวเตอร์ ของมหาวิทยาลยั ในสหรัฐอเมริกาทีก่ าลงั ทางานวิจยั ดา้ นการทหารให้แก่ กองทัพ

ววิ ัฒนาการของระบบเครอื ข่ายอนิ เทอร์เน็ต (ตอ่ ) • ค.ศ.1974 ไดม้ ีการขยายการเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์อ่ืนๆ รวมทั้งหมด 62 เครื่อง และการเชอื่ มต่อกย็ งั คงขยายอยา่ งตอ่ เนอื่ ง • ค.ศ.1983 ระบบอินเทอรเ์ นต็ ไดถ้ กู แบ่งออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนแรก ใชส้ าหรบั งานของกองทัพเรียกว่า \"มิลเน็ต (Milnet)\" และอีกส่วนเป็น ของมหาวิทยาลยั เพ่อื ใช้ในการทางานวจิ ัยร่วมกันเรียกว่า \"อินเทอร์เน็ต (Internet)\" ซงึ่ มเี คร่ืองแม่ขา่ ยในระบบมากกวา่ 1,000 เครือ่ งเชือ่ มตอ่ กนั

ววิ ัฒนาการของระบบเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต (ต่อ) • ค.ศ.1985 รัฐบาลแคนาดาได้พัฒนาระบบเครือข่ายท่ีชื่อว่า \"บิตเน็ต (Bitnet)\" เพอ่ื เช่อื มโยงเคร่อื งคอมพิวเตอร์ของมหาวทิ ยาลัยในแคนาดา • เพ่ือเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยในแคนาดา โดยมี วัตถุประสงค์ในการทางานวิจัยร่วมกัน และยังสนับสนุนให้มีการ เช่อื มโยงกับเครอื ข่ายอนิ เทอร์เน็ตของสหรฐั อเมรกิ าด้วย

วิวัฒนาการของระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต (ต่อ) • ค.ศ.1986 มูลนธิ ิวิทยาศาสตรแ์ ห่งชาติของสหรัฐอเมริกา ได้พัฒนาระบบเอ็น เอสเอฟเน็ต (NSFNET) ขึน้ มา โดยมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื ใช้เป็นระบบเครือข่าย เชื่อมโยงมหาวทิ ยาลัยชน้ั นาของสหรฐั อเมริกาเข้าดว้ ยกัน • ค.ศ.1987 พบว่ามีเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายท่ีเชื่อมโยงท้ังหมดประมาณ 10,000 เครื่อง และในชว่ งเวลาดงั กลา่ วพบว่าการทางานของระบบค่อนข้างช้า จึงพฒั นาระบบแบค็ โบนความเรว็ สูงของระบบเอน็ เอสเอฟเน็ต ข้ึนมาใหม่ ทา ให้สามารถรองรับการเชือ่ มโยงเคร่อื งแมข่ ่ายไดม้ ากขึน้ • โดยในปี ค.ศ.1988 ระบบสามารถเช่ือมโยงกับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีเครอ่ื งแม่ขา่ ยท่ีเชอ่ื มโยงในระบบประมาณ 56,000 เครอ่ื ง

ความหมาย องค์ประกอบพื้นฐาน และประโยชน์ ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ความหมายของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ • ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ การนากลุ่มเคร่ืองคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ มาเช่ือมต่อกันเป็นเครือข่าย ผ่านส่ือกลางต่างๆ เช่น สายสัญญาณ หรือคล่ืนวิทยุ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสื่อสาร ใช้ทรพั ยากร และแลกเปลย่ี นขอ้ มูลระหวา่ งกันและกนั

องค์ประกอบพืน้ ฐานของระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ • เคร่ืองคอมพิวเตอร์ • อุปกรณ์เครือข่าย หมายถึง อุปกรณ์ต่อพ่วงที่จาเป็นต้องใช้ในการเช่ือมต่อ ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์เพ่อื เพิ่มประสิทธภิ าพในการรับส่งข้อมูล ทาให้ สามารถตดิ ตอ่ สื่อสารระหว่างกนั และกันไดง้ า่ ย สะดวกและรวดเร็วมากย่ิงข้นึ • สายสญั ญาณหรอื สายเคเบ้ิล (Cable) • ซอฟต์แวร์ โดยซอฟต์แวร์ทใี่ ช้ในระบบเครอื ขา่ ยน้ัน บางครัง้ เรียกวา่ เน็ตเวิรก์ ซอฟต์แวร์ (Network Software) หรือ โปรแกรมเน็ตเวิร์ก หรือโปรแกรม ระบบปฏิบตั ิการเครือข่าย (NOS: Network Operating System) • โปรโตคอล

ประโยชนข์ องระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ • การเชือ่ มต่อและการส่ือสาร ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ช่วยเช่ือมต่อ เคร่อื งคอมพวิ เตอรข์ องผู้ใชเ้ ข้าด้วยกนั ทาให้ผู้ใช้สามารถติดต่อส่ือสาร ระหวา่ งกันไดส้ ะดวกและรวดเร็วย่งิ ขึ้น และประหยดั คา่ ใช้จา่ ย • การแบ่งปันข้อมูลกัน ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ช่วยให้ผู้ใช้สามารถ เข้าถึงขอ้ มลู ตา่ งๆ และสามารถแบง่ ปนั ข้อมลู กนั ไดส้ ะดวก • การแบ่งปันกันใช้ฮาร์ดแวร์ การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชว่ ยทาใหอ้ งคก์ รประหยัดงบประมาณในการซ้ือฮาร์ดแวร์หรืออุปกรณ์ ต่อพ่วง • การแบ่งปันกันใชซ้ อฟตแ์ วร์

ประโยชนข์ องระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ (ตอ่ ) • การเพิ่มความสามารถและความสมดุลในการทางาน การทางานภายใต้ สภาวการณ์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์น้ัน ช่วยเพ่ิมความสามารถ ในการทางานให้แก่ระบบงานประยุกต์บางระบบได้ โดยระบบงาน ประยุกตบ์ างระบบสามารถกระจายงานตา่ งๆ ไปประมวลผลยังเครื่องลูก ขา่ ยท่วี า่ งอยไู่ ด้ ทาให้ได้ผลลพั ธ์ท่เี ร็วขน้ึ • การลดต้นทุนและค่าใช้จ่าย การติดต่อส่ือสารผ่านระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ สามารถช่วยลดตน้ ทุนใหแ้ ก่ผู้ใชแ้ ละองคก์ ร • ความน่าเชือ่ ถือและความปลอดภยั ของระบบเครอื ข่าย

องคก์ รท่กี าหนดมาตรฐานการสื่อสารข้อมลู และระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์

ANSI (American National Standards Institute) • เป็นองคก์ รของประเทศสหรัฐอเมรกิ าทไ่ี ม่หวงั ผลกาหร สานักงานใหญ่ ต้ังอยู่ท่กี รงุ วอชงิ ตนั ดีซี องค์กรถูกก่อต้งั ขนึ้ เมอ่ื ปี ค.ศ.1918 • เพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันในเวทีโลกให้แก่สหรัฐอเมริกาและ เพม่ิ คณุ ภาพชีวติ ให้แกค่ นอเมริกัน • ส่งเสริมและอานวยความสะดวกใหแ้ กห่ นว่ ยงานท่ีอาสาสมัครท้งั ภาครัฐ และเอกชน เขา้ มาทาหนา้ ท่กี าหนดมาตรฐานในด้านต่างๆ ของประเทศ เชน่ ดา้ นเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ด้านนาโนเทคโนโลยี ด้านพลังงาน ชวี ภาพ ฯลฯ

IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) • เป็นองค์กรชั้นนาที่ได้รับการยอมรับในอุตสาหกรรมเครือข่าย คอมพวิ เตอร์ องค์กรกอ่ ต้งั ขน้ึ โดยไมห่ วังผลกาไร มลี กั ษณะเป็นสมาคม วิชาชีพท่ปี ระกอบดว้ ยสมาคมยอ่ ยหลายๆ สมาคม • ตวั อย่างมาตรฐานทีก่ าหนดโดยองค์กร IEEE เช่น มาตรฐาน 802.15.4a- 2007, มาตรฐาน IEEE 802®wireless standards. เปน็ มาตรฐานที่กาหนด เก่ียวกับการเช่ือมต่อระบบเครือข่ายไร้สาย แระกอบด้วย มาตรฐาน 802.11TM มาตรฐาน 802.15TM และมาตรฐาน 802.16TM

ISO (International Organization for Standardization) • เปน็ องค์กรทีท่ าหน้าที่พฒั นาและกาหนดมาตรฐานที่ใหญ่ที่สุดของโลก กอ่ ต้ังข้ึนมาระหวา่ งภาครัฐและภาคเอกชน โดยมีการทางานในลักษณะ ของเครือขา่ ยระดบั นานาชาติ • ตวั อยา่ งมาตรฐานดา้ นการสื่อสารขอ้ มูลทก่ี าหนดโดย ISO เชน่ • ISO/IEC 19790: 2006 • ISO/IEC 23289: 2006

IEC (International Electrotechnical Commission) • เปน็ องค์กรทกี่ ่อตัง้ ขึ้นเม่ือปี ค.ศ.1906 โดยลอร์ด เคลวิน (Lord Kelvin) ซง่ึ เปน็ นักวทิ ยาศาสตร์ชาวองั กฤษ IEC ทาหน้าท่ีกาหนดมาตรฐานด้าน เทคนิคเก่ียวกับอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับ อิเล็กทรอนกิ ส์ • IEC ยังทางานร่วมกันกบั องคก์ ร ISO ในการกาหนดมาตรฐานด้านต่างๆ โดยช่ือมาตรฐานจะขึ้นต้นด้วย ISO/IEC สาหรับตัวอย่างมาตรฐานท่ี กาหนดโดย ISO/IEC ในด้านการสอื่ สารขอ้ มลู เชน่ • ISO/IEC 2007 series • ISO/IEC 17799: 2005 และมาตรฐาน ISO/IEC 8859-1

ASC (Accredited Standard Committee) • เปน็ คณะกรรมการทีไ่ ด้รับการแต่งตั้งให้ทาหน้าท่ีพัฒนามาตรฐานการ ส่ือสาขอ้ มูลในเร่อื งตา่ งๆ • จดั ทาเอกสารท่เี ก่ียวข้องสาหรับใช้ในประเทศต่างๆ ท่ัวโลก มาตรฐาน ดังกล่าวช่วยลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มความสามารถของกระบวนการทาธรุ กจิ อีกท้ังยังช่วยขยายระยะทางในการแลกเปล่ียนข้อมูลอีกด้วย สาหรับ ขอ้ มูลรายละเอยี ดเกี่ยวกับ ASC

CCITT (Consultative Committee for International Telephony and Telegraphy) • ทาหน้าท่ใี หค้ าแนะนาและสานงานในการใชม้ าตรฐานด้านการสอ่ื สารข้อมลู • พฒั นาโปรโตคอลที่ใช้ในการรับส่งข้อมูลผ่านโมเด็ม ระบบเครือข่าย และ เครอื่ งโทรสารทีใ่ ชก้ ันทวั่ โลกในปัจจบุ นั • วัตถุประสงค์หลักขององค์กร CCITT คือ การรักษาและขยายการ ประสานงานเกี่ยวกบั การใช้ระบบโทรคมนาคมทุกประเภท เพ่ือส่งเสริมการ ดาเนนิ งานด้านการพฒั นาและเพ่ิมประสิทธิภาพทางเทคนิค เพ่ือให้เกิดการ บริการด้านการส่อื สารทด่ี ขี ึน้ เพิ่มความสามารถในการทางานของระบบการ สื่อสารและเปดิ ให้สาธารณชนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ • วนั ท่ี 1 มีนาคม ค.ศ.1993 CCITT ได้เปล่ียนช่ือเป็น \"ITU-TSS (International Telecommunication Union-Telecommunication Standardization Sector)\"

ECA (The Electronic Components Association) • เป็นสมาคมตัวแทนของผู้ประกอบการที่ดาเนินธุรกิจผลิตช้ันส่วนและ ผู้ผลติ วัตถุดิบสาหรับผลิตชั้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ที่ไมห่ วงั ผลกาไร • ทาหนา้ ทส่ี นับสนุนและตอบสนองความต้องการและความสนใจของ อตุ สาหกรรมและตลาดในการผลติ ชนิ้ สว่ นอเิ ล็กทรอนกิ สต์ ่างๆ • เช่น หัวต่อหรือคอนเนค็ เตอร์ สายเคเบ้ลิ สายไฟ ฯลฯ

EIA (Electronic Industrial Alliance) • เป็นองคก์ รทป่ี ระกอบด้วยสมาชกิ คอื บริษทั ผผู้ ลิตอปุ กรณโ์ ทรคมนาคม และผู้ประกอบธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ องค์กรน้ีเป็นสมาชิกขององค์กร มาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (ANSI: American National Standards Institute) • การกาหนดมาตรฐานการเช่ือมต่อในการรับส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ มาตรฐานที่เป็นที่รู้จักดันทั่วไป คือ RS-232 หรือบางครั้งเรียกว่า EIA- 232 เปน็ มาตรฐานทใ่ี ช้ในการตดิ ต่อสื่อสารกบั อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ เช่น โมเดม็ เครื่องพมิ พ์

TIA (Telecommunication Industry Association) • ทาหน้าท่เี ปน็ ตัวแทนของผผู้ ลติ ผลติ ภณั ฑแ์ ละบริการเก่ียวกับเทคโนโลยี สารสนเทศท่ีจาหน่ายในตลาดทั่วโลก ที่ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าท่ี พฒั นามาตรฐานสาหรับผลติ ภัณฑท์ ่ีใช้ในการส่ือสารระยะไกล เชน่ • สายเคเบล้ิ สายไฟ และหวั ต่อทใ่ี ช้ในระบบเครอื ข่ายแลน • มาตรฐานที่ TIA ดูแลอยู่ประกอบดว้ ยมาตรฐานด้านเทคโนโลยีมากกว่า 10 มาตรฐาน ซึ่งมีกลุ่มผู้สนับสนุนมากกว่า 70 กลุ่ม ตัวอย่างของ เทคโนโลยดี ังกล่าว เช่น วิทยุเคลอื่ นทีส่ ่วนบคุ คล เสาอากาศแบบหอคอย สูง อุปกรณต์ อ่ พว่ งแบบหลายฟังกช์ ัน ดาวเทยี ม ระบบการติดต่อส่ือสาร แบบเคลื่อนที่ ฯลฯ

Web 3 D Consortium • เป็นองคก์ รมาตรฐานนานาชาตทิ ไ่ี มห่ วงั ผลกาไร • การพัฒนาภาษาเวอร์ชวลเรียลริตี้มาร์คอัพ (VRML: Virtual Reality Markup Language) ซ่ึงเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการ รับส่งขอ้ มลู สามมติ ิ • ปัจจบุ ันเว็บ 3 ดี สนบั สนนุ การพฒั นาคณุ ลักษณะ X3D ซึ่งเป็นมาตรฐาน เก่ยี วกบั รปู แบบของไฟล์ท่ีใช้ในการติดต่อส่ือสารแบบสามมิติและอยู่ บนพน้ื ฐานของการใช้เอ็กเอม็ แอล

IETF (Internet Engineering Task Force) • เป็นองคก์ รท่ีพัฒนาและส่งเสรมิ มาตรฐานอินเทอร์เน็ต • ทางานรว่ มกันอย่างใกล้ชิดกับองค์กร W3C และ ISO/IEC และทางาน เก่ียวข้องโดยตรงกับมาตรฐาน TCP/IP รวมท้ังชุดโปรโตคอลของ อินเทอรเ์ นต็ (Internet protocol suit) • IETF เปน็ หน่วยงานที่ถูกกากับดูแลโดยคณะกรรมการสถาปัตยกรรม อินเทอรเ์ นต็ (Internet Architecture Boards)

W3C (World Wide Web Consortium) • เปน็ สมาคมนานาชาตทิ ่ีทางานร่วมกันเพ่อื พฒั นามาตรฐานของเว็บ พันธ กจิ คอื • การนาระบบเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บไปสู่การใช้งานอย่างเต็มศักยภาพ ดว้ ยการพฒั นาโปรโตคอลและข้อแนะนาต่างๆ มากกว่า 110 มาตรฐาน • มาตรฐานดังกลา่ วเรียกว่า ข้อแนะนา W3C • เก่ยี วข้องกบั การให้การศกึ ษา การพฒั นาซอฟต์แวร์ และการใหบ้ ริการใน ลกั ษณะของการเปดิ ฟอรัม (forum)