รายวิชา อนิ เทอร์เนต็ สรรพสงิ่ สำหรับธุรกจิ ดิจิทลั (IoT) ครผู ู้สอน : ครทู ิพยส์ ดุ า แน่นอุดร รหสั วิชา 30204-2104 แผนกวิชาคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ ตวั อย่างสำคัญของการใช้ IoT ในระดับโลก เทคโนโลยีของ Internet of Things นั้นได้สร้างพรมแดนใหม่ของการใช้ข้อมูลและการสร้าง ประสบการณ์ใหม่ๆ มนั เลยกลายเปน็ เรือ่ งที่นา่ ตืน่ เต้นสำหรับหลายๆคนมากมายที่กำลังพยายามลองหาวิธีการ ใหมๆ่ ในการเขา้ ถงึ กลุ่มเปา้ หมายท่ตี ่างไปจากเดมิ 1. Smart home Smart home หรือบ้านอัจฉริยะ คือการใช้เทคโนโลยีมาควบคุมอุปกรณ์ต่างๆภายในบ้าน เพ่ือ อำนวยความสะดวกแก่ผู้อยู่อาศัย, มีระบบการจัดการพลังงานระบบรักษาความปลอดภัยอัตโนมัติทั้งภายใน และรอบตัวบ้าน ส่วนใหญ่จะควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปเรียกว่า home automation ซึ่ง สามารถถูกจำแนกความสามารถและความซับซ้อนในการควบคมุ ออกเปน็ 1. ระบบควบคุมไฟฟา้ แสงสว่าง เช่น เปดิ /ปดิ หรือปรบั ระดบั ความสวา่ ง 2. ระบบควบคมุ อปุ กรณไ์ ฟฟา้ ภายในบ้าน เชน่ สั่งงานเครอื่ งปรบั อากาศ หรอื การเปดิ ปดิ ม่าน 3. ระบบความบันเทงิ ภายในบ้าน เช่น สงั่ Internet radio ให้ทำงานในหอ้ งท่ี ผู้ใชอ้ ยู่ และปดิ เมื่อผู้ใช้ออกจากห้อง 4. ระบบบริหารพลงั งาน และพลังงานสำรอง เชน่ การปิด/เปดิ เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆโดยข้นึ กบั ส่ิงแวดล้อม 5. ระบบสื่อสาร เชน่ รบั /ส่ง ข้อความหรอื คำสั่งระหวา่ งผใู้ ช้ 6. ระบบรักษาความปลอดภยั เชน่ เช่ือมต่อระบบกนั ขโมย/กล้อง กับ บ.รกั ษาความปลอดภัย ระดับของความซับซอ้ นนี้ ขึ้นอยู่กบั งบประมาณของผู้อยู่อาศัยว่าจะเลอื กให้อัตโนมตั ิขนาดไหน และ จะให้มีอะไรอัจฉริยะบ้าง บางคนอาจจะต้องการเพียงแค่ สามารถสั่งเปิดปิด อุปกรณ์ต่างๆจาก Tablet เช่น iPad หรือจากมือถอื หรือให้อุปกรณไ์ ฟฟ้าในบ้าน โคมไฟ แอร์ ทวี ี เปิดปดิ เองอัตโนมตั จิ ากการวดั ด้วย sensor หรอื ประมวลผลชุดคำสงั่ จาก user profile วา่ ผูใ้ ช้นา่ จะต้องการให้ระบบควบคุมปฏบิ ตั เิ ช่นไร แหล่งที่มา : https://sites.google.com/site/eportorra/home/tdformanagework
รายวิชา อินเทอรเ์ น็ตสรรพสง่ิ สำหรบั ธุรกจิ ดจิ ิทลั (IoT) ครผู ้สู อน : ครทู ิพยส์ ุดา แน่นอดุ ร รหัสวิชา 30204-2104 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ 2. Wearables wearable เป็นอุปกรณส์ วมใส่ เป็นได้ทั้งแฟชัน่ และไอทีที่ช่วยเพื่มอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ ที่ ให้คุณมากกว่าแคเ่ ครื่องประดับร่างกาย แต่การที่จะเลือก Wearable Device นั้น ต้องเลือกให้สอดคล้องกบั ความต้องการของเราวา่ อุปกรณน์ ้ีมคี วามสามารถอะไรบ้าง? ตรงใจเรา ชว่ ยให้เราสะดวก ดขี ึ้น หรอื ไม่? หลักการทำงานของพวก Smart watch ซึง่ เป็น Wearable ยอดนิยมทจี่ ำหนา่ ยทั่วโลกแล้ว o Sync ข้อมูลระหวา่ งนาฬิกา กับ smartphone o วัดอัตราการกา้ วเดิน o การแจง้ เตือน sms โทรเขา้ รวมถงึ สน่ั เตือนในกรณี นาฬกิ าอยู่ห่างจาก smartphone o รองรบั การส่งั งานดว้ ยเสยี ง o เชอื่ มตอ่ ผ่านทาง bluetooth , internet o ชารจ์ แบตเตอรไ่ี ด้ แหล่งที่มา : https://sites.google.com/site/eportorra/home/tdformanagework
รายวชิ า อนิ เทอร์เนต็ สรรพสง่ิ สำหรับธุรกจิ ดิจิทัล (IoT) ครผู ู้สอน : ครูทิพย์สดุ า แน่นอุดร รหัสวิชา 30204-2104 แผนกวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ Wearable Device คืออุปกรณ์ที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับไลฟสไตร์ของมนุษย์เรา โดยเราสามารถนำมา สวมใส่ ทำงานและควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ล่าสุดผู้เขียนได้ซื้ออุปกรณ์ด้านนี้มามีชื่อว่า UP จาก Jawbone ลักษณะภายนอกจะเป็นเสมือนกำไลข้อมือ เมื่อนำมาใส่แล้วจะสามารถนับก้าวเดินของเราว่าวัน หนง่ึ ๆ เราเดนิ ไปทัง้ หมดกีก่ ้าวแลว้ ถ้าออกวิง่ ก็สามารถตรวจสอบกา้ วทเ่ี ราวิง่ ได้ เผาผลาญไปก่ีแคลอรี่ ยามท่ีจะ นอนสามารถทจ่ี ะตง้ั เพื่อตรวจสอบได้วา่ เรานอนหลบั ลึกไม่ลึกแคไ่ หน ตั้งปลุกตอนเชา้ ไดโ้ ดยการสั่นที่ข้อมือเรา ตรวจสอบอาหารที่เรากินเข้าไปนั้นกี่แคลอรี่ เมื่อเรานำอุปกรณ์ดังกล่าวมาเชื่อมกับที่เสียบหูฟังเครื่อง iPhone ที่เราลงแอพพลิเคชั่น UP เอาไว้ ข้อมูลต่างๆ ของเราก็จะ Sync และนำมาแสดงผลในแอพฯ ใคร อยากแบ่งปนั ใน Social Network ใหเ้ พอื่ นๆ ของเราที่ใช้ UP ด้วยกันเห็นกไ็ ดเ้ ชน่ เดยี วกัน 3. Smart City “เมืองอัจฉริยะ” หรือสมาร์ตซิตี้ (smart city) เป็นแนวคิดที่หมายถึงระบบที่เชื่อมโยงถึงกันซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งของโครงสร้างพื้นฐานของเมอื ง แนวคิดเบื้องหลังของเมืองอัจฉริยะคือการที่สภาพแวดล้อมสามารถ รับรแู้ ละปรับเปล่ียนตัวเองเพ่อื ส่งมอบบริการทม่ี ีประสทิ ธิภาพสงู สดุ ให้กับผ้อู ยู่อาศัย o ระบบไฟจราจรทีเ่ ชอื่ มโยงกัน ทำให้รถรู้ว่าควรจะหยดุ ตอนไหนและคนเดนิ ถนนรวู้ า่ ควรขา้ มถนน เม่อื ไร ในที่สดุ ระบบสญั ญาณจราจรก็พัฒนาเซน็ เซอร์ (sensor) เพอ่ื ตรวจจบั การเคลอื่ นไหวของ รถยนต์ แทนทจ่ี ะใช้เพียงการจับเวลา o ระบบอย่างการสอดแนมดว้ ยกลอ้ งวงจรปิด (CCTV) ระบบวเิ คราะหใ์ บหน้า ระบบอา่ นป้ายทะเบียน รถยนต์ ระบบเหลา่ น้ีสรา้ งขอ้ มลู ข้ึนมาแม้วา่ เราจะไมไ่ ดก้ ำลงั พกพาอุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ใดๆ แค่ สัญจรอย่บู นทอ้ งถนนเราก็ปอ้ นขอ้ มูลบางอย่างใหก้ บั ระบบแล้ว แหล่งท่มี า : https://sites.google.com/site/eportorra/home/tdformanagework
รายวิชา อนิ เทอร์เน็ตสรรพสงิ่ สำหรับธรุ กจิ ดิจทิ ลั (IoT) ครผู ู้สอน : ครทู พิ ยส์ ดุ า แน่นอดุ ร รหัสวชิ า 30204-2104 แผนกวิชาคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ 4. Smart grids “สมาร์ทกริด”(Smart Grid) คือระบบโครงข่ายสำหรับส่งไฟฟ้าอัจฉริยะแบบครบวงจรโดยใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล สมาร์ทกริดทำหน้าท่ีสง่ ไฟฟ้าจากผู้ให้บริการไปยังผู้ใช้บริการดว้ ยระบบการสื่อสารสองทาง เพือ่ ควบคุมเครือ่ งใช้ไฟฟ้า ณ บา้ นของผูใ้ ช้ ซ่ึงจะชว่ ยใหส้ ามารถบริหารจัดการการใช้พลังงานไฟฟ้าได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ โดยบริษัทท่ใี หบ้ ริการระบบสง่ จ่ายไฟฟา้ สมาร์ทกริดได้พัฒนาโปรแกรมพรอ้ มกบั ติดตั้งอุปกรณ์ที่ สามารถตรวจสอบการใช้ไฟฟ้าได้ตามเวลาจรงิ (Real Time) ไว้ที่แต่ละครัวเรือนว่ามีการใช้ไฟฟา้ เท่าไหร่ จุด ไหนใช้มากน้อยอย่างไร เพื่อช่วยคำนวณการแจกจา่ ยกระแสไฟของเมือง ช่วยให้การจ่ายกระแสไฟฟ้ามคี วาม เสถยี ร ลดปญั หาไฟดับในช่วงทีม่ กี ารใช้ไฟสูง ทั้งยังทำใหผ้ ู้ใช้สามารถเห็นพฤตกิ รรมและปรบั ลดการใช้พลังงาน ของตวั เองไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ปัจจัยสำคัญที่ทำให้ระบบสมาร์ทกริดเกิดขึ้น เป็นเพราะแนวโน้มในธุรกิจไฟฟ้าของโลกเบนเข็มมาท่ี การใช้พลังงานสะอาดจากพลังงานลม แสงอาทิตย์ หรือพลังงานชีวภาพอ่ืนๆ และผู้ใช้ก็เป็นฝ่ายผลติ ไฟฟ้าได้ เองจากการติดตั้งแผงโซลารเ์ ซลหรือกังหันลม ซึง่ เม่อื ผลติ ไฟฟ้าได้เกินจากการใช้งานก็ย่อมสามารถส่งกลับไป ขายให้รัฐหรือบริษทั ผใู้ หบ้ รกิ ารไฟฟ้าได้ แต่ทง้ั หมดนย้ี ังขาดการบริหารการผลติ หรอื รองรบั การจดั เก็บในระบบ อุตสาหกรรม จึงไม่สามารถจัดสรรพลังงานทดแทนเข้ามาใช้ในระบบในช่วงเวลาที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้า สูง ระบบกริดอัจฉริยะนี้จึงเข้ามาช่วยจัดการการผลิต จัดเก็บ และจัดสรรพลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ฉะน้นั ไม่เพียงประหยัดคา่ ใชจ้ ่าย แตร่ ะบบน้ียังมงุ่ เนน้ ไปในดา้ นส่งิ แวดล้อมและการจัดการพลังงานทดแทนด้วย แหลง่ ทม่ี า : https://sites.google.com/site/eportorra/home/tdformanagework
รายวิชา อินเทอรเ์ น็ตสรรพส่งิ สำหรับธุรกจิ ดจิ ิทัล (IoT) ครผู สู้ อน : ครูทิพยส์ ดุ า แน่นอดุ ร รหัสวิชา 30204-2104 แผนกวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ 5. Industrial internet ทุกวันนี้ เราได้ยินเรื่องต่าง ๆ มากมายเกี่ยวกับ IoT หรืออินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง (Internet of Things) และการปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรมยุคที่ 4 (Industry 4.0) ซง่ึ คำเหล่านล้ี ว้ นอา้ งถงึ เมกะเทรนด์อันเดียวกันท่ี กำลังส่งผลกระทบต่อตลาดและลูกค้าหลายรายในปัจจุบัน รวมไปถึงอนาคตในระยะที่สามารถคาดการณ์ได้ ท้งั น้ี สำหรับอตุ สาหกรรม เราขอเรียกเมกะเทรนดน์ ี้ว่า IIoT (Industrial Internet of Things) หรอื ถา้ ให้เรียก เป็นภาษาไทยก็คือ อินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่งสำหรับอุตสาหกรรม ซึ่งครอบคลุมกระบวนการที่ครบถ้วน รวมถึงกระบวนการทตี่ ่อเน่ืองกันทัง้ หมด เราจะวางจุดยืนของเราในเรือ่ งน้ีอย่างไรให้กลยุทธด์ ้าน IIoT มีความ ชัดเจนและเกีย่ วข้องกบั ลูกคา้ ของเรา 1. ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เป็นผู้คดิ ค้น IIoT ต้ังแตป่ ลายปี ค.ศ.1990 เราก็ไดต้ ิดตั้งอเี ธอร์เน็ต และเว็บ เซริ ์ฟเวอร์ ไว้ในอปุ กรณร์ ะบบออโตเมชั่นของเรา ด้วยระบบขบวนการผลติ ทโี่ ปรง่ ใส (Transparent Factory) และ Transparent Ready ในขณะที่คู่แข่งของเรายังโปรโมทโปรโตคอลดั้งเดิม เช่น Profibus และ DeviceNet อยู่ เรายังคงคดิ คน้ นวัตกรรมด้วยการเปดิ ตัวผลิตภณั ฑ์ทีไ่ ดร้ ับรางวัล เช่น Modicon M580 ในปี ค.ศ.2013 โดยเปน็ คอนโทรลเลอร์ตัวแรกที่มกี ารฝงั อีเธอร์เน็ตไว้ที่ Backplane 2. ในฐานะที่เปน็ หนว่ ยธรุ กิจ พันธกิจแรกของเราคอื การจดั หาระบบงานและผลติ ภณั ฑ์ท่ีเช่ือมต่อได้ ฉลาด ซง่ึ เป็นระบบชัน้ นำและให้นวัตกรรมทีใ่ ช้เทคโนโลยีใหม่จาก IIoT ฝ่ายซอฟต์แวร์ของเราเปน็ ฝา่ ยท่มี คี วาม เชยี่ วชาญเรื่องบิก๊ ดาตา้ และระบบวเิ คราะหแ์ ละจำลองรปู แบบการทำงาน 3. องค์กรทท่ี ำธุรกจิ ด้านอุตสาหกรรม มองเร่อื ง IIoT เป็น “พัฒนาการ” ไม่ใช่ “การปฏวิ ัต”ิ เราต้อง ทำให้ลูกค้าเช่ือม่ันว่าเราจะเคียงข้างไปด้วยในการเดินทาง เราต้องมั่นใจวา่ เทคโนโลยีใหมท่ ีเ่ รานำเสนอนั้นให้ คุณค่าอย่างแท้จริงสำหรับธรุ กจิ ทั้งความคุ้มคา่ เรอ่ื งคา่ ใชจ้ า่ ย ชว่ ยปกป้องสงิ่ ท่ีลกู ค้าลงทนุ ไวใ้ นอดตี ได้ 4. ในส่วนของซัพพลายเออร์ด้านระบบออโตเมชั่นทั้งหมด ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เคยเป็นและยังคง เป็นผู้ที่ยึดมั่นในเรื่องของมาตรฐานระบบเปิดของอุตสาหกรรม เราตอกย้ำคำมั่นสัญญานี้ด้วยการนำเสนอ แหลง่ ทม่ี า : https://sites.google.com/site/eportorra/home/tdformanagework
รายวชิ า อินเทอรเ์ น็ตสรรพส่ิงสำหรับธรุ กจิ ดิจทิ ัล (IoT) ครผู ูส้ อน : ครูทิพยส์ ดุ า แน่นอดุ ร รหสั วชิ า 30204-2104 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ โปรโตคอล Modbus TCP เป็นมาตรฐานระบบเปิดมาตั้งแต่ปี 1997 และจะยังคงเป็นผู้ที่มีส่วนร่วมอย่าง จริงจงั ในการก่อตงั้ และติดต้งั มาตรฐาน IIoT ที่รวมถงึ พฒั นาการเร่ืองโปรโตคอลท่ีใช้รว่ มกันเปน็ หลัก 5. เราพร้อมที่จะนำเสนอระบบและผลิตภัณฑ์ที่ให้การเช่อื มต่ออยา่ งฉลาด โดยใช้คลาวด์และ ซอฟต์แวร์ลำ้ หน้ามาชว่ ยเพ่ือให้ลกู คา้ ไดร้ ับคณุ ค่าทางธรุ กิจทจี่ ับต้องได้ ในประเดน็ ต่อไปน้ี o ไดนามคิ คิวอาร์โคด้ สำหรับคาดเดาความผิดปกติทีเ่ กิดข้นึ ได้อยา่ งฉลาด ชว่ ยลดชว่ งเวลาดาวน์ไทม์ ของโรงงาน o การตดิ ตง้ั ปัม้ เคริ ์ฟที่ฝงั ไว้ในกระบวนการทำงานของอลั ติวาร์ไดรฟ์ ซ่งึ ถอื เป็นตวั อย่างของ “การเพ่มิ ประสทิ ธิภาพภายใน” ของ “ผลติ ภัณฑท์ ี่เชอื่ มตอ่ ได้อยา่ งฉลาด” ซึ่งชว่ ยลดค่าใช้จา่ ยและความ เสื่อมสภาพของตัวป๊มั ทำใหเ้ กิดการดาวนไ์ ทมน์ ้อยลง o ซอฟต์แวร์ Vijeo Design’Air ท่มี รี างวัลรบั ประกนั สำหรบั แทป็ เลต็ และสมารท์ โฟนทงั้ ในระบบแอน ดรอย์ และของแอปเปิล จะช่วยในเรือ่ งของการมอนิเตอร์และตัง้ คา่ การใช้งานอปุ กรณ์ในระบบ ควบคุมระหว่างท่ตี อ้ งเดินทางไปมาได้ ชว่ ยลดเวลาดำเนนิ การและลดการดาวน์ไทมไ์ ด้ o ลูกค้าท่ีใช้ระบบออโตเมชัน่ ในกระบวนการทำงาน สามารถตง้ั ค่าและทดสอบระบบควบคมุ จากการ สัง่ งานแบบรวมศูนย์ (Distributed Control System) และระบบควบคมุ ความปลอดภยั จาก ระยะไกลได้ด้วยการใช้ “ระบบงานผ่านคลาวด”์ ซ่งึ ชว่ ยให้วศิ วกรหลายทา่ นท่ีทำงานอยูต่ ่างสถานที่ กนั สามารถดำเนินงานเร่ืองเกย่ี วกบั วศิ วกรรมระบบได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ในลกั ษณะของการ ประสานงานรว่ มกนั โดยไมจ่ ำเป็นต้องใช้ฮารด์ แวร์ ชว่ ยลดเวลาการทำงานโดยรวม และลดคา่ ใชจ้ า่ ย ในขณะทชี่ ว่ ยปรับปรุงคณุ ภาพของระบบไปยังไซทง์ าน o สำหรับลูกคา้ ท่ีทำเหมืองรายใหญ่ทีส่ ดุ เรายังใหร้ ะบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจเพื่อช่วยในการรันระบบ ซัพพลายเชนท่ซี ับซอ้ นได้แบบกระจายศูนย์ตามภูมิศาสตร์ จากระบบของตัวเหมืองเอง ไปยังระบบ ขนสง่ และระบบทางรถไฟตลอดทางไปจนถึงทา่ ส่งของ ระบบเหลา่ น้ใี ชเ้ ทคนคิ การจำลองและ วเิ คราะหข์ ้อมลู ขัน้ สูง เพือ่ ท่ีจะสามารถแนะนำผปู้ ระกอบการไดแ้ บบเรยี ลไทมว์ ่าควรจะทำอะไรหาก เกิดเหตุการณ์ทไ่ี มไ่ ด้วางแผนไวล้ ว่ งหน้า ตวั อย่างเชน่ รถไฟเกิดขัดข้องขึ้นมา เปน็ ต้น ซึง่ ซอฟต์แวร์ ดังกลา่ ว ไม่เพียงแต่จะแนะนำผปู้ ระกอบการวา่ จะจดั ตารางใหมอ่ ย่างไรใหส้ ามารถทำงานในชว่ งเวลา นน้ั ๆ และใหไ้ ด้ผลกำไรทีเ่ หมาะสมท่ีสุด แต่ยงั อธิบายเหตุผลในการตดั สินใจดงั กลา่ วไดด้ ้วย 6. ชไนเดอร์ อเิ ล็คทริค ไดพ้ ฒั นาคลังท่ใี ชจ้ ัดเก็บบนั ทกึ ข้อมลู ขนาดใหญ่เปน็ ส่วนกลาง สำหรับ บริการคลาวดข์ องชไนเดอร์ อเิ ล็คทริค และไดต้ งั้ ทมี “นักวทิ ยาศาสตรข์ อ้ มูล” เฉพาะขึ้นมา เพอื่ ทำงานร่วมกับ ลกู คา้ ในกรณีของธรุ กจิ ทีต่ อ้ งอาศัยโซลชู นั ระบบวิเคราะหเ์ ขา้ มาชว่ ย 7. ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ตระหนกั ดีถึงการพัฒนาหลายส่งิ ท่ีซับซอ้ น ซงึ่ จะตอ้ งอาศัยพลังของ IIoT มา ช่วยในการควบคุมอยา่ งแท้จริง ตวั อยา่ งเช่น ในเคร่ืองจกั รท่มี ีการเรียนรกู้ ารทำงานดว้ ยตัวเอง เป็นตน้ เรา สง่ ผ่านงานวิจยั และพัฒนาทีเ่ ป่ยี มไปด้วยนวัตกรรม ในหลาย ๆ ดา้ น และโร๊ดแมพ็ ของเราในอนาคตจะนำการ พัฒนาดังกล่าวมาตอ่ ยอดตอ่ ไป 8. ชไนเดอร์ อเิ ลค็ ทรคิ ตระหนักดีว่าการรักษาความปลอดภัยไซเบอร์เปน็ สงิ่ จำเปน็ สำหรบั การนำ IIoT มาใช้ และได้ทำเร่ืองนใี้ นหลายระดับเพื่อให้บรรลุผล รวมถึงการพัฒนามาตรฐาน และผลิตภณั ฑ์ท่ีผ่าน การรับรองดา้ นความปลอดภยั รวมถงึ รักษาความปลอดภัยเร่ืองการใหบ้ ริการและโซลูชนั จากระยะไกล แหล่งที่มา : https://sites.google.com/site/eportorra/home/tdformanagework
รายวิชา อนิ เทอร์เน็ตสรรพส่งิ สำหรับธรุ กิจดจิ ทิ ลั (IoT) ครผู ู้สอน : ครูทิพยส์ ดุ า แน่นอดุ ร รหสั วิชา 30204-2104 แผนกวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ 6. Connected car Connected car เป็นส่วนที่มีการปรับตัวช้ากว่าในรูปแบบอื่นๆ เนื่องจากวงรอบในการพัฒนาใน วงการอุตสาหกรรมรถยนต์ กลายเป็นที่สนใจและเกี่ยวข้องกับ Internet of Things (IoT) เพราะรถยนต์จะ กลายเป็นเซนเซอร์เคลื่อนที่ที่ช่วยเก็บรวบรวมข้อมูลจากท้องถนน ได้แก่ ข้อมูลอากาศ สภาพถนนและความ หนาแน่นของจราจร จึงอาจเปรียบรถยนต์ได้กับสถานีตรวจวัดอากาศเคลื่อนที่ที่พร้อมส่งข้อมูลของ สภาพแวดล้อมต่างๆ จากพ้ืนท่จี รงิ รถยนตจ์ งึ นับแหล่งเก็บข้อมลู ท่ีนา่ เช่อื ถอื และต่อยอดประโยชน์ได้อย่างมาก 1. คณุ จะปลอดภยั ขนึ้ ระบบขบั ข่อี ัตโนมัตขิ องรถยนตจ์ ะลดจำนวนอุบตั เิ หตุบนท้องถนนได้เปน็ อย่าง มากรวมไปถึงการลดจำนวนสัญญาณไฟจราจรตามส่แี ยก 2. คณุ จะมีเวลาสว่ นตัวมากขน้ึ รถของคุณจะสามารถขับขี่และจอดไดโ้ ดยอตั โนมตั ิ คณุ สามารถ พักผ่อน อา่ นหนังสอื หรอื แชทกบั เพ่ือนได้ระหว่างการเดนิ ทาง เมอื่ ถงึ จดุ หมายกเ็ พียงแคเ่ ดนิ ออกจากรถและ ตรงไปในรา้ นอาหารเพ่อื ทานอาหารกับเพ่อื นของคุณ ขณะทร่ี ถไปจอดดว้ ยตวั เอง 3.คณุ จะมเี งนิ เพ่ิมข้นึ บริษทั ประกันจะหยุดตั้งคำถามถึงประวัตกิ ารขับขี่ของคุณเพ่ือเพม่ิ เบยี้ ประกนั นอกจากนย้ี ังสามารถนำรถเพือ่ หารายได้จากเพิม่ จากช่องทางอืน่ ๆ อกี ด้วย 4. คณุ จะไปโรงพยาบาลน้อยลง รถของคุณจะกลายเป็นเคร่อื งมอื สอ่ื สารท่ีทนั สมยั ท่ีสุดท่ีคุณใชแ้ ละ สามารถเปน็ คลนี ิกเคลือ่ นทไ่ี ด้ดว้ ยแอปพลิเคช่ันเกยี่ วกับสุขภาพมากมาย ลองจนิ ตนาการถึงการตรวจสขุ ภาพ ไดร้ ะหว่างการเดนิ ทางไปทำงานของคณุ 5. คุณจะอยากเดนิ ทางบอ่ ยขน้ึ รถยนต์อัจฉรยิ ะของคุณจะกลายเปน็ สว่ นหน่ึงของเครือข่ายการ ใหบ้ ริการเดนิ ทางท่ตี อ้ งการมอบประสบการณก์ ารเดินทางทีส่ ะดวกสบายและไร้ความกังวลใดๆในการเดนิ ทาง แตล่ ะคร้ังแก่คณุ แหล่งทม่ี า : https://sites.google.com/site/eportorra/home/tdformanagework
รายวชิ า อินเทอร์เนต็ สรรพส่ิงสำหรับธรุ กจิ ดิจทิ ัล (IoT) ครผู สู้ อน : ครูทพิ ยส์ ดุ า แน่นอุดร รหัสวิชา 30204-2104 แผนกวิชาคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ 7. Connected Health (Digital health/Telehealth/Telemedicine) แนว คิดของระบบ connected health, Digital health หรือ smart medical ยังไม่ได้เป็นท่ี แพรห่ ลายนกั ในขณะนี้ แตก่ ม็ หี ลายๆ คา่ ยไดป้ ลอ่ ยตัวระบบและอุปกรณม์ าใหเ้ หน็ กนั บ้างแลว้ อยา่ งเชน่ CellScope เป็นอุปกรณ์ด้านการแพทย์แบบอิเล็กทรอนิกส์ เปิดตัวที่ตรวจหู (otoscope) อัจฉริยะ โดยประกอบ ร่างรวมเข้ากับเคสสำหรับสมาร์ทโฟนโดยเฉพาะ พร้อมแอพสำหรับใช้คู่กับที่ตรวจหูเป็นการเฉพาะหลักการ ของท่ีตรวจหูตัวน้ี ทำงานเหมือนท่ีตรวจหูท่ัวไป โดยใชเ้ ลนส์ชดุ พิเศษในการเชอ่ื มเข้ากับกล้อง เพ่ือส่องเข้าไป ในรูหูของคนไข้ แต่ที่พิเศษกวา่ ตรงที่มีแอพทำงานคูด่ ้วย ซึ่งหากใช้กบั ที่บ้าน ตัวแอพดังกล่าวก็จะสามารถส่ง ข้อมูลไปให้แพทย์ที่มีข้อตกลงกับบริษัท ช่วยวินิจฉัยอาการได้ด้วย โดยตั้งเป้าว่าจะวินิจฉัยอาการภายใน 2 ช่วั โมง เม่อื ไดร้ ับภาพจากทตี่ รวจหเู ป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว Swaive เป็น App ตัวสขุ ภาพ แหลง่ ท่ีมา : https://sites.google.com/site/eportorra/home/tdformanagework
รายวิชา อินเทอรเ์ นต็ สรรพสงิ่ สำหรับธุรกจิ ดิจิทัล (IoT) ครผู ู้สอน : ครทู ิพย์สุดา แน่นอุดร รหัสวิชา 30204-2104 แผนกวิชาคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ 8. Smart retail สำหรับ Smart retail นั้นจะเข้ามาช่วยห้างร้านต่างๆ ได้เป็นอย่างดีในการเพิ่มประสบการณ์ที่ดี สำหรบั ลูกค้าในการซอ้ื สินคา้ แต่ในตอนน้ีระบบนยี้ ังเร่ิมตน้ ได้ไมน่ านนักและสนิ ค้าเฉพาะกลุ่ม เร็วๆ นีค้ งไดเ้ หน็ กนั มากขึ้น คือการจัดการระบบร้านค้าด้วยการส่งข้อมูลไปถึงมือลูกค้าอยา่ งฉับไว จะดีเพียงใดถา้ เพียงลูกค้า เดนิ ผ่านประตูรา้ นเข้ามากไ็ ดร้ บั การทกั ทาย จะเพิม่ โอกาสและแรงจงู ใจในการจบั จ่ายสินค้าไดม้ ากแค่ไหน หาก สามารถนำเสนอสนิ ค้าต้องตามรสนยิ ม หรือแมแ้ ต่มอบส่วนลดไดต้ รงใจลูกคา้ อย่างรวดเร็ว ถงึ มอื จะสร้างความ พึงพอใจให้กับลูกค้าได้แค่ไหน เมื่อไม่ต้องเสียเวลาหรือถูกกวนใจกับข้อมูลสินค้าและโปรโมชั่นที่ไม่ต้องการ และไม่เพยี งสง่ ข้อมลู ที่เหมาะสมตรงถึงลกู คา้ เท่าน้ัน ยงั สามารถเกบ็ ข้อมูลและสถิติในรปู แบบต่างๆ ท่ีธุรกิจจะ สามารถนำไปปรับใช้กับกลยุทธ์ทางการตลาดและบริหาร เพิ่มความแข็งแกร่งทาง ด้านข้อมูลข่าวสาร เสริม ศักยภาพ และความไดเ้ ปรียบในการแข่งขนั ของธรุ กิจของคณุ แหล่งทีม่ า : https://sites.google.com/site/eportorra/home/tdformanagework
รายวิชา อินเทอรเ์ น็ตสรรพส่งิ สำหรบั ธรุ กิจดิจทิ ลั (IoT) ครผู ู้สอน : ครูทพิ ยส์ ุดา แน่นอุดร รหัสวชิ า 30204-2104 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกจิ 9. Smart supply chain ระบบนีจ้ ะเปน็ โซลชู ั่นทเ่ี ข้ามาช่วยติดตามสินคา้ ท่ีกำลังขนส่งไปตามทอ้ งถนน ซ่งึ ระบบน้จี ริงๆ แล้วได้ มีการใช้งานมาบ้างแล้ว แต่เมื่อพูดถึงในมุมมองของ Internet of Things ดูเหมือนว่าจะยังมีการพูดถึงอยู่ใน วงจำกดั 10. Smart farming Smart farming บ่อยคร้ังท่ถี ูกมองข้ามเม่ือพดู ถงึ Internet of Things เพราะเน่ืองจากมันไม่คอ่ ยเป็น ที่รับรู้หรือถูกนึกถึงเมือ่ เทียบกับดา้ นสุขภาพ มือถือ หรืออุตสาหกรรม แต่อย่างไรก็ตามเนื่องจากการทำไรน่ า สวนต่างๆ เปน็ การปฏิบัตงิ านในพืน้ ทท่ี ีค่ อ่ นขา้ งห่างไกล ฉะนั้นการนำ Internet of Things มาประยุกตใ์ ช้เพื่อ ทำการมอนิเตอร์จึงเปน็ อะไรทส่ี ามารถปฏวิ ัติวงการการทำเกษตรไดเ้ ลยทีเดยี ว แหล่งทม่ี า : https://sites.google.com/site/eportorra/home/tdformanagework
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: