สวนเตยี น จังหวัดราชบุรีตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคกลางด้านตะวันตกของประเทศไทย ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของ เมอื งราชบุรีมีทั้งทร่ี าบสูง ทรี่ าบสลับเขาลูกโดด และท่ีราบลุ่ม มแี หล่งนำ้ ที่อุดมสมบูรณ์ อีกทั้งยังเป็นแหล่ง ผลิตสินค้าเกษตรที่สำคัญของประเทศ มีพื้นที่ทางการเกษตร 1,247,957 ไร่ โดยพื้นที่การเกษตรอยู่ในเขต ชลประทาน 806,603 ไร่ (นิตยา, 2550) ราชบุรปี ระกอบด้วย 10 อำเภอ ไดแ้ ก่ จอมบึง ดำเนนิ สะดวก บาง แพ บ้านคา บ้านโปง่ ปากทอ่ โพธาราม เมอื งราชบรุ ี วดั เพลง และสวนผ้ึง (สำนกั งานจังหวัดราชบุรี, 2557) ซึ่งอำเภอวัดเพลงเป็นหนึ่งในอำเภอของจังหวัดราชบุรีมีลักษณะเป็นพื้นที่ราบลุ่ม ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ทำ เกษตร เหมาะแก่การเพาะปลูกมะพร้าว พืชล้มลุก มะม่วง ลิ้นจี่ เป็นต้น อำเภอวัดเพลงประกอบด้วย 3 ตำบล ไดแ้ ก่ วดั เพลง เกาะศาลพระ และจอมประทดั ตำบลจอมประทดั เปน็ ตำบลหน่งึ ในอำเภอวดั เพลง เปน็ พ้นื ทร่ี าบลุ่ม มีแมน่ ำ้ ลำคลองไหลผ่าน ไดแ้ ก่ คลองประดู่ คลองจอมประทัดหรือคลองเล็ก และคลองชลประทาน นอกจากจะใช้ประโยชน์ในการอุปโภค บริโภคแล้ว ยังใช้ประโยชน์ในการเกษตรกรรมอีกด้วย ในอดีตชาวบ้านในตำบลมีอาชีพทำนา ต่อมาราคา ข้าวตกต่ำและน้ำที่ใช้ในการทำนาไม่เพียงพอจึงมีการปรับพื้นที่เป็นสวนยกร่องปลูกมะพร้าว ในขณะที่รอ การเจริญเตบิ โตของมะพร้าว ชาวบา้ นจงึ ไดค้ ดิ ริเร่มิ การทำสวนเตียนข้ึนมา เพื่อให้มีรายได้ท่ีต่อเนื่องและใช้ พื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งสวนเตียนเป็นการปลูกพืชล้มลุก รวมทั้งพืชผักที่มีอายุเก็บเกี่ยว 1-5 เดือน ลักษณะสวนเตียนในตำบลจอมประทัดจะปลูกพืชและผักหลายชนิด เช่น ปลูกพริก มะละกอ กวางตุ้ง ถวั่ ฝกั ยาว ฟกั แฟง และแตงร้านเป็นหลกั การปลูกพชื เหล่านี้เปน็ ลักษณะการทำสวนยกร่อง ด้วยสภาพพื้นที่ของตำบลจอมประทัดเป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ ทำให้ดินเหมาะแก่การทำ สวนทำให้เกิดภมู ิปัญญาท้องถิ่นขึน้ โดยเฉพาะการทำสวนแบบยกร่อง ดงั นั้นในภูมปิ ัญญาจึงได้รวบรวมการ ทำสวนเตยี นเพ่อื แสดงถึงวถิ ชี ีวติ ของชาวสวนในตำบลจอมประทดั ลกั ษณะของสวนเตยี น สวนเตียนแต่ละสวนในตำบลจอมประทัดจะมีการยกร่อง ระหว่างร่องจะมีร่องน้ำกั้นกลางเปน็ ทาง น้ำเล็กๆ เรียกว่า ทอ้ งร่อง รอบร่องสวนหลายๆ รอ่ งจะมคี นั ดิน หรอื เรียกวา่ คันสวน ลอ้ มรอบโดยจะยกสูง กว่าระดบั รอ่ งสวนทอี่ ยูภ่ ายในเพอ่ื ป้องกนั นำ้ ทว่ ม
คนั สวน ภาพท่ี 1 คนั สวนของสวนเตียน ร่องสวน ทอ้ งร่อง ภาพท่ี 2 รอ่ งสวนและทอ้ งรอ่ งของสวนเตียน
ในตำบลจอมประทัดมีการวางร่องสวนตามความเหมาะสมของสภาพพื้นที่ในแต่ละสวนของ เกษตรกร การวางร่องสวนมี 2 แบบ แบบแรก เป็นการวางร่องสวนขวางตะวัน (วางแนวเหนือ-ใต้) แบบที่สองเป็นการวางร่องสวนตามตะวัน (วางแนวทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก) ท้องร่องของสวนจะมีการ เลยี้ งปลาเพอ่ื กินวัชพืชทอี่ ยใู่ นนำ้ ไดแ้ ก่ ปลาตะเพยี นขาว ปลานวลจนั ทร์ และปลานิล ร่องสวน ทอ้ งร่อง ภาพท่ี 3 การวางร่องสวนขวางตะวนั ร่องสวน ทอ้ งร่อง ภาพที่ 4 การวางร่องสวนตามตะวนั
การเตรยี มดิน ในอดีตใช้แรงงานคนในการพรวนดินและขุดเป็นร่อง ปัจจุบันใช้รถแม็คโครในการขุดเป็นร่องสวน พรวนดินโดยใช้รถไถดะขนาดเล็ก จากนั้นตากดินไว้ 1 สัปดาห์ เพื่อกลับหน้าดินและกำจัดวัชพืช ปล่อยน้ำ ใหท้ ่วมแปลง 2 วนั เพื่อไลม่ ด แมลง และสารเคมที ่ตี กค้างอยู่ในดิน ทำการสบู นำ้ ออกจากแปลงให้เห็นร่องท่ี ปลกู โดยไม่ตอ้ งสูบนำ้ ออกหมด และใช้รถไถเดนิ ตามคลาดดินเพอื่ หยอดเมล็ดตามแนวร่องที่คลาดและใช้ฟาง กลบเมล็ด ภาพที่ 5 รถไถเดนิ ตาม (รอการสำรวจขอ้ มูล) ภาพท่ี 6 รถไถดะขนาดเล็ก การเพาะปลกู ของพืชในสวนเตียน ตารางท่ี 1 การเพาะปลูกของพืชในสวนเตยี น พืช ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. พรกิ ถว่ั ฝกั ยาว ฟักแฟง มะละกอ กวางตุง้ แตงร้าน
พชื ท่นี ิยมปลกู ในสวนเตียน 1. ถั่วฝักยาว ลักษณะทั่วไป มีลักษณะลำต้นเดี่ยว เป็นเถาเลื้อย ลำต้นมีลักษณะกลมๆ เถาแข็งและเหนียวมีสีเขียว ใบจะมี ลกั ษณะรปู สามเหลยี่ มยาว มสี ีเขยี ว ดอกจะมสี ขี าว หรอื นำ้ เงินอ่อน มีฝักกลมยาวมีสเี ขียว ภาพที่ 7 ลักษณะของถัว่ ฝกั ยาว ภาพท่ี 8 ใบของถั่วฝักยาว
วธิ ปี ลกู เกษตรกรนำเมล็ดถวั่ ฝักยาวพันธลุ์ ำน้ำชี เพราะกรอบ สามารถนำไปกินเปน็ เคร่ืองเคียงได้ หยอด ตามแนวร่องท่คี ลาดดินไว้ 3 เมล็ด มีระยะปลูก 15X15 เซนตเิ มตร คลุมเมลด็ ดว้ ยฟาง การทำค้างของถั่วฝักยาว จะปักไม้ตามความยาวแปลงและใช้เชือกฟางผูกกับไม้ที่ปัก นำตาข่าย สอดเข้ากับเชือกฟางที่เตรียมไว้ตามแนวยาวของแปลง เพื่อให้ถั่วฝักยาวพันหรือเลื้อยขึ้นไปตามตาข่ายที่ ขงึ ไว้ ภาพท่ี 9 คา้ งถ่วั ฝักยาว ภาพที่ 10 สวนถ่ัวฝกั ยาว
การเกบ็ ผลผลติ หลงั จากปลกู ถั่วฝักยาวประมาณ 45 วัน ในตอนเยน็ เวลา 1 ทมุ่ เกษตรกรจะออกเกบ็ ถ่ัวฝักยาว เพื่อไม่ให้ถั่วฝักยาวเหี่ยวตอนบรรจุใส่ถุงเตรียมไว้ให้พ่อค้าคนกลางมารับในตอนเช้า จะเลือกเก็บผลท่ไี ม่ลบี มขี นาดเท่ามวนบหุ ร่ี เมอื่ เก็บเสรจ็ นำถ่วั ฝักยาวไปล้างและบรรจใุ ส่ถงุ ถงุ ละ 10 กโิ ลกรัม 2. พรกิ กะเหรี่ยง พริกกะเหรี่ยงเป็นพริกขี้หนูพันธุ์พื้นเมืองชนิดหนึง่ ที่มีการปลูกกันมาตามแนวชายแดนไทย – พม่า โดยเฉพาะในเขตทุ่งใหญ่นเรศวรจะปลูกไว้ในไร่ข้าวสำหรับนำมารับประทานในครัวเรือน และเมื่อชาวไทย เชื้อสายกะเหรี่ยงบางกลุ่มได้นำพริกขี้หนูพันธุ์พื้นเมืองดังกล่าวออกมาจำหน่ายในเมือง ด้วยรสชาติที่เผ็ด ร้อน ประชาชนทัว่ ไปจงึ เรียกกันว่า \"พรกิ กะเหร่ียง\" ภาพที่ 11 พริกกะเหรี่ยง
ลักษณะทั่วไป ดอก เปน็ สขี าว ดอกเดีย่ ว หรือ 3-5 ดอก ออกตามซอกใบและปลายกิง่ ภาพที่ 12 ดอกของพริกกะเหรี่ยง ผล ชูตงั้ ขน้ึ ผลเปน็ รูปกลมรแี ละยาวโคนผลใหญ่ ปลายผลเรียวแหลม ภาพที่ 13 ผลของพริกกะเหร่ียง วิธกี ารปลกู เกษตรกรจะเริ่มการปลูกในฤดูฝน ประมาณเดือนสิงหาคม นำเมล็ดพริกที่เก็บจากต้น โดย เกษตรกรจะเลือกเก็บพริกที่มีลักษณะเป็นสีแดงสดไม่มีโรคและแมลงมาตากแดด 2-3 วัน นำพริกที่แห้ง ดีแล้วไปตำในครกหรือใช้มือขยี้พริกให้เมล็ดแตกออก จากนั้นนำเมล็ดมาหยอดลงตามแนวที่คลาดดินไว้ ประมาณ 3-5 เมลด็ ระยะปลูก 15X15 เซนตเิ มตร และคลุมเมลด็ ด้วยฟาง
ภาพท่ี 14 ผลพริกทต่ี ากแห้ง ภาพที่ 15 เมลด็ ที่พร้อมนำไปปลกู ภาพท่ี 16 สวนพริก
การเกบ็ ผลผลติ หลังจากปลูกพรกิ ประมาณ 120 วนั ในทุกเช้า เวลา 8 โมง เกษตรกรจะออกเกบ็ พริก เลือกเก็บ ผลที่มีสีส้ม เหลือง และแดงที่ติดกับขั้วของพริก เมื่อเก็บเสร็จจะเทพริกที่เก็บได้ใส่ถุงกระสอบไว้โดยไม่ต้อง คัดเลอื กพริก ช่วงเย็นจะมีพ่อคา้ คนกลางมารับและคัดเลือกพริกไปขายที่ตลาดศรเี มือง ภาพท่ี 17 ผลพริกท่สี ามารถเก็บไปขายได้ ภาพท่ี 18 อุปกรณ์ทใี่ ชใ้ นการเก็บ
ภาพท่ี 19 เกษตรกรเกบ็ พริก เกษตรกรเก็บพริกได้วันละ 70-80 กิโลกรัม รับจ้างเก็บในราคา คิดเป็น 1 กิโลกรัม = 15 บาท จะใชแ้ รงงานในการเก็บพรกิ 3 คนตอ่ 1 รอ่ ง 3. ฟกั แฟง ลักษณะทวั่ ไป เป็นพืชอายุสั้น มีลำต้นสีเขียวมีขนขึ้นปกคลุมอยู่ทั่วลำต้น แตกกิ่งก้านสาขามากมาย ใบมี ลกั ษณะเปน็ หยกั คล้ายฝา่ มือ ปลายแฉกแหลมใบหยาบเรียงสลับกันตามขอ้ ตน้ ใบกว้าง มีขนปกคลุม ก้านใบ ยาว มีดอกเดี่ยว (Solitary Flower) สีเหลอื ง ผลมีลักษณะเป็นรูปกลมยาวและกว้าง เปลือกแข็งสีเขียวเน้อื ในมสี ีขาว ภาพที่ 20 ผลของฟักแฟง
ภาพท่ี 21 ใบของฟักแฟง ภาพท่ี 22 ดอกของฟกั แฟง วิธีการปลกู เกษตรกรทำการเพาะกล้า นำพีทมอสผสมกับดิน จากนั้นนำดินที่ผสมใส่ในถาดเพาะขนาด 104 หลุม นำเมล็ดฟักแฟงพันธุ์ ปิ่นทอง F1 หยอดลงในถาดเพาะ หลุมละ 1 เมล็ด ทำการรดน้ำทุกวัน หลังจาก เพาะกล้าได้ 10 วัน ทำการย้ายต้นกล้าปลูกลงแปลง วางต้นกล้าตามแนวคลาดดินเป็นร่อง ระยะปลูก 1.5X1.5 เมตร การทำค้างของแฟงจะผูกเป็นนั่งร้านคร่อมร่องสวนที่มีน้ำ สูงประมาณ 1.5-2 เมตร เพื่อให้ แฟงเล้อื ยเกาะข้ึนไป
ภาพท่ี 23 น่งั ร้านครอ่ มร่องสวน การเกบ็ เกย่ี ว หลังจากปลูกแฟงประมาณ 90 วัน ในตอนเช้า เวลา 8 โมง เกษตรกรจะออกเก็บฟักแฟง เลือก เก็บผลขว้ั ท่ียาวและข้ัวที่มสี ีนวล เกษตรกรจะยนื บนเรือเก็บทลี ะผล เมื่อเกบ็ เสรจ็ นำแฟงมาล้างและใส่เข่งไว้ เพอื่ รอให้พ่อคา้ คนกลางมารบั 4. มะละกอ ลักษณะทวั่ ไป ลักษณะทรงพุ่มเตี้ย ก้านใบสีเขยี วอ่อนมีลักษณะสั้น ก้านใบตั้งตรง มีการออกดอกติดผลเร็ว ผล มขี นาดปานกลาง ส่วนหวั และปลายผลมขี นาดเท่ากัน ผลในขณะทีย่ ังดบิ เปลือกมสี เี ขียวเข้ม เปลือกหนา ผล สุกมีสีส้มอมแดง เนื้อสี แดงเข้ม ภาพท่ี 24 ผลของมะละกอ
ภาพท่ี 25 ดอกของมะละกอ ภาพที่ 26 ใบของมะละกอ วธิ ีการปลกู เกษตรกรจะเริ่มการปลูกในฤดูฝน ประมาณเดือนสิงหาคม นำมะละกอที่เก็บจากต้น โดย เกษตรกรจะเลอื กเกบ็ มะละกอท่ีมีสีเหลืองไม่มโี รคและแมลง มาผา่ ผลออก และวางทง้ิ ไว้ 3 คืน เพอื่ ให้เย่ือที่ หุ้มเมล็ดสลายไป จากน้นั นำเมล็ดมาล้างน้ำ ใหด้ ูเมล็ดว่าจมหรอื ลอย เลอื กเอาเมลด็ ทจ่ี มไปปลูก นำเมล็ดมา หยอดลงตามแนวทีค่ ลาดดินไว้ ประมาณ 1-3 เมลด็ ระยะปลกู 2X2 เมตร และคลมุ เมล็ดดว้ ยฟาง
ภาพท่ี 27 สวนมะละกอ การเกบ็ ผลผลติ หลังจากปลูกมะละกอประมาณ 150 วัน ในตอนเช้า เวลา 8 โมง เกษตรกรจะออกเก็บมะละกอ โดยจะตัดผลจากต้นโยนลงร่องสวนที่มีน้ำเพื่อล้างยางออก เมื่อตัดเสร็จนำเรือล่องมาเก็บผลใส่เข่งไว้รอให้ พ่อค้าคนกลางมารบั 5. กวางตุ้ง ลักษณะทั่วไป เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็ก อยู่ในตระกูลกะหล่ำและผักกาด มีก้านใบยาว ออกเรียงสลับโดยรอบๆ ปกคลุมที่ฐานลำต้น มีก้านใบหนาและยาวอวบน้ำ มีสีเขียวอ่อน หรือสีขาวตามสายพันธุ์ ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลบั มีลักษณะทรงกลมรี ใบกว้างใหญ่ ผิวใบบางเรียบ ใบมสี เี ขยี ว ภาพท่ี 28 กวางตงุ้
วิธีการปลกู เกษตรกรโรยเมล็ดกวางตุ้งพันธุ์ปทุมรัตน์เป็นแถว ระยะห่างระหว่างแถว ๑๐ เซนติเมตร และ คลุมเมล็ดด้วยฟาง ภาพท่ี 29 สวนกวางตงุ้ การเก็บผลผลติ หลังจากปลูกกวางตุ้งประมาณ 30-35 วัน ในตอนเช้า เวลา 8 โมง เกษตรกรจะออกเก็บกวางตุ้ง ใช้มีดตัดบริเวณโคนตน้ ใหช้ ดิ ดนิ ขณะเก็บจะตัดใบที่แก่และเน่าเสียออกจากแปลง เมื่อเก็บเสร็จนำกวางตงุ้ ไปล้างและบรรจุใส่ถุง ถงุ ละ 5 กิโลกรมั ภาพที่ 30 เกษตรกรเก็บกวางตงุ้
เกษตรกรรับจ้างเก็บในราคา คิดเป็น 1 ชั่วโมง = 45 บาท จะใช้แรงงานในการเก็บกวางตุ้ง 4-5 คน ต่อ 1 ร่อง 6. แตงรา้ น ลักษณะท่วั ไป เป็นไม้เลื้อย มีอายุสั้น มีลำต้นเดี่ยว ลำต้นมีลักษณะกลมๆ ลำต้นเป็นเถาเลื้อย เถาแข็งและ เหนียว มีสีเขียว ใบมีลักษณะรูปสามเหล่ียมยาว สีเขียว ดอกมีสีเหลือง ผลมีลักษณะทรงกลม ทรงกระบอก เรียวยาว ผลอ่อนมหี นามสนั้ ๆ ผลมีสเี ขียวเข้ม ภาพที่ 31 ดอกของแตงรา้ น ภาพท่ี 32 ใบของแตงรา้ น
ภาพท่ี 33 ผลของแตงร้าน วธิ ีปลูก เกษตรกรนำเมล็ดแตงร้าน หยอดตามแนวคลาดดินเป็นร่อง 3 เมล็ด มีระยะปลูก 15X15 เซนติเมตร คลุมเมล็ดด้วยฟาง จะมีการทำค้าง โดยปักไม้ตามความยาวแปลงและใช้เชอื กฟางผูกกบั ไมท้ ีป่ ัก นำตาข่ายสอดเขา้ กับเชือกฟางท่ีเตรียมไวต้ ามแนวยาวของแปลง เพอื่ แตงร้านพนั หรอื เลอ้ื ยขน้ึ ไปตามตาข่าย ทขี่ งึ ไว้ การเก็บผลผลติ หลังจากปลูกแตงร้านประมาณ 45 วัน ในตอนเช้า เวลา 8 โมง เกษตรกรจะออกเก็บแตงร้าน เลือกเก็บผลทม่ี ขี นาด 1 คืบ เม่ือเก็บเสรจ็ นำแตงรา้ นไปล้างแล้วผ่ึงให้แห้งและบรรจใุ ส่ถงุ ถุงละ 10 กิโลกรัม
ภาพที่ 34 เกษตรกรเกบ็ แตงรา้ น เกษตรกรเก็บพริกได้วันละ 500-1,000 กิโลกรัม รับจ้างเก็บในราคา คิดเป็น 1 ชั่วโมง = 45 บาท จะใชแ้ รงงานในการเกบ็ แตงร้าน 2 คนต่อ 1 รอ่ ง ภาพท่ี 35 ลักษณะผลทส่ี ามารถเก็บได้
ลักษณะการแตง่ กายของคนเก็บผลผลติ พชื เกษตรกรจะแต่งกายด้วยเสื้อแขนยาว กางเกงขายาว รองเท้าบูท หมวก ผ้าคลุมหน้า และมีถุง กระสอบคาดเอวไว้ในการออกเก็บผลผลิตพชื ทกุ คร้ัง ภาพท่ี 36 ลกั ษณะการแต่งกายของคนเกบ็ ผลผลติ พชื โรคและศัตรูพชื เกดิ ในพืชที่ปลกู ในสวนเตยี น โรคท่ีเกิดจากไวรัส สาเหตุทท่ี ำใหเ้ กดิ โรคน้ี คือ ศตั รูพชื ได้แก่ เพล้ียออ่ น เพล้ยี ไฟ ไรแดง แมลงหว่ี ขาว ทำให้พืชมีลักษณะอาการใบหงิก ใบด่าง ใบเหลือง ผลมีขนาดเล็กกว่าปกติ ระบาดในช่วงแห้งแล้ง ป้องกันโดยฉีดพ่นสารกำจัดศัตรูพืชตามชนิดของศัตรูพืชนั้น (ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดเลย (เกษตรทส่ี ูง), ๒๕๖๒) การป้องกันกำจัด ฉีดพ่นสารเคมีอะมิทราส ป้องกันกำจัดไรแดง และอิมิดาคลอพริด ป้องกันกำจดั เพลี้ยอ่อน
ภาพท่ี 37 ใบเหลืองและใบด่างของพชื ทีเ่ ปน็ โรคเกดิ จากไวรสั การจัดการและการดแู ลพืช การใหน้ ้ำ ในอดีตเกษตรกรจะใช้หนาดในการให้น้ำ โดยใน 1 ร่องจะมีคน 2 คนยืนบนร่องซ้ายและขวาใช้ หนาดวิดน้ำให้กับต้นพืช ปัจจุบันเกษตรกรจะใช้เรือ ลงไปนั่งในเรือเครื่องแล้วบังคับเรือในการให้น้ำ หลังจากหยอดเมล็ดเกษตรกรจะให้น้ำวันละ 2 ครั้ง สัปดาห์ที่ 2-4 เกษตรกรให้น้ำ วันละ 1 ครั้ง และ สปั ดาห์ที่ 5 ขนึ้ ไป เกษตรกรให้น้ำสัปดาหล์ ะ 3 ครั้ง การให้น้ำขน้ึ อยู่กบั สภาพความชื้นของดนิ ภาพที่ 38 เรือที่ใชใ้ นการให้น้ำ
ภาพท่ี 39 การใหน้ ้ำของเกษตรกร การใสป่ ๋ยุ เกษตรกรจะใส่ปุ๋ยตามอายุการเก็บเกี่ยวของพืช ใส่ปุ๋ยครั้งแรกหลังจากหยอดเมล็ด 10 วัน เกษตรกรจะเน้นใส่ปุ๋ยกวางตุ้ง ได้แก่ ปุ๋ย 21-0-0 ครั้งที่สอง 20 วัน จะเน้นใส่ปุ๋ยถั่วฝักยาวหรือแตงร้าน ได้แก่ ปุ๋ย 16-16-16 ผสมกับ ปุ๋ย 21-0-0 และ 30 วันขึ้นไปจะเน้นใส่ปุ๋ยฟักแฟง พริก และมะละกอ ได้แก่ ปุ๋ย 15-15-15 กบั ปุย๋ 13-13-21 การฉีดพ่นสารกำจัดวัชพืชและสารกำจัดโรคและแมลง ทำการฉีดพ่นสัปดาห์ละ 1 ครั้ง โดยใน สัปดาห์ที่ 10 ขึ้นไป มักจะมีโรคที่เกิดจากไวรัส จะมีการแก้ไขคือฉีดพ่นสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ทำให้เกิด โรคน้ี การจัดการแปลงหลังการเกบ็ เกย่ี ว เกษตรกรจะจัดการแปลงโดยถอนต้นพืชที่เก็บเกี่ยวเสร็จวางไว้บนแปลงเพื่อตากพืชไว้ให้แห้ง ประมาณ 1-2 วัน แล้วจึงนำออกจากแปลง
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: