ประมวลรายวิชา (Course Syllabus) 1.รหัสและชอื่ รายวชิ า SOC1021 หนาทพ่ี ลเมอื งและศีลธรรม 2.จำนวนหนวยกติ 3 หนว ยกิต (2-2-4) 3.หลกั สูตรและประเภทของรายวิชา 4.ภาคการศึกษา / ชน้ั ปทเ่ี รียน หลกั สตู รศลิ ปกรรมบัณฑิตทุกสาขา 1/ 2565 5. สถานทเี่ รยี น ชัน้ ปท ่ี 1 สาขาประตมิ ากรรม ชัน้ ปที่ 2 สาขาจิตรกรรม สาขาเซรามิกส สาขาออกแบบนเิ ทศศลิ ป ภาคปกตแิ ละภาคสมทบ ชนั้ ปท ี่ 3 สาขาหัตถศลิ ป อาคาร 5 หอ ง 522 คณะศิลปศาสตร วทิ ยาลยั เพาะชาง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสนิ ทร 6. คำอธิบายรายวชิ า สิทธิ หนา ท่ขี น้ั พน้ื ฐานภายใตกรอบกตกิ าของสงั คม บทบาทของความเปน พลเมอื ง การเรียนรูแ ละปฏบิ ัติตน อยางรบั ผดิ ชอบตอ สงั คมคุณธรรมจริยธรรมและศลี ธรรมทสี่ ามารถพฒั นาตนเองใหเกิดคณุ คาบนวิถหี นาทพ่ี ลเมอื งทดี่ ี ความเปนพลเมอื งโลกตามกรอบเปาหมายการพฒั นาทยี่ งั่ ยืนหนาทพี่ ลเมอื งและรบั ผดิ ชอบสงั คมในการตอ ตา นทุจริตและ หา งไกลยาเสพติด 7.จดุ มงุ หมายรายวชิ า 1. เรียนรสู ทิ ธแิ ละหนาท่ขี ้ึนพ้นื ฐานภายใตกรอบกติกาของสงั คม เขาใจถึงบทบาทของความเปนพลเมอื ง 2. เกดิ ทักษะในการเรียนรแู ละปฏิบตั ิตนอยา งรบั ผดิ ชอบตอ สงั คม 3. มีคุณธรรม จริยธรรมและศลี ธรรม เพือ่ สามารถพฒั นาตนเองใหเ กิดคุณคาบนวถิ ีหนาที่พลเมอื งทด่ี ี 4. มีมาตรการทางสงั คมทดี่ ใี นการปอ งกันการทุจริตและหางไกลยาเสพตดิ 8. จำนวนชว่ั โมงทีใ่ ชต อภาคการศกึ ษา บรรยาย สอนเสริม การฝกปฏิบตั /ิ งานภาคสนาม/การ การศกึ ษาดวยตนเอง ฝก งาน 4 ชวั่ โมง/สปั ดาห บรรยาย 30 ชั่วโมง 3 ช่ัวโมงหรือตามท่ี /ภาคการศึกษา นักศกึ ษารองขอ 30 ช่วั โมง
9.อาจารยผ ูร ับผดิ ชอบรายวชิ า ดร. มณรดา ศลิ ปบรรเลง 10. วธิ ีการจดั การเรยี นการสอน อาคาร 5 คณะศลิ ปศาสตร พ้ืนท่ีวทิ ยาลัยเพาะชา ง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสนิ ทร [email protected]/ บรรยาย อภิปรายแลกเปลย่ี นขอ มลู คนควา เพิม่ เติมดว ยตนเอง ใบงาน กจิ กรรมกลุมและการนำเสนอ อ่นื ๆ 11. สื่อการเรียนการสอน Power point เอกสารประกอบการสอน แบบฝก หัด ศึกษานอกสถานท่ี 12. การวดั ผล การวดั ผลของผูสอน (60%) ใบงานความรหู รือการคนควา เฉพาะบคุ คล 40% 10% การนำเสนอหนาชนั้ เรยี น 10% การเขาชน้ั ความมสี วนรวมในชัน้ เรียน 20% 20% การวัดผลกลาง (40%) การสอบกลางภาค 100% การสอบปลายภาค 13. เกณฑก ารประเมนิ ผล รวม คะแนนอิงเกณฑและองิ กลมุ ประกอบกัน โดยแบง ตามชว งคะแนน ดังนี้ 80 คะแนนขึ้นไป A 75 – 79 คะแนน B+ 70 – 74 คะแนน B 65 – 69 คะแนน C+ 55 – 64 คะแนน C 50 – 54 คะแนน D+ 45 – 49 คะแนน D นอ ยกวา 45 คะแนน F
14.เน้ือหารายวิชาและแผนการเรียนการสอน สปั ดาหท่ี เน้อื หา วนั ที่ ผูสอน 1 แนะนำรายวชิ าและการประเมนิ ผล 21 มถิ นุ ายน 2565 ดร.มณรดา 2 ศาสนาทสี่ ำคัญของโลก 28 มถิ ุนายน 2565 ดร.มณรดา 3 ศกึ ษาดูงานนอกสถานที่ 5 กรกฎาคม 2565 ดร.มณรดา 4 สิทธิ หนาท่ี หนา ที่ เสรีภาพและความเปนพลเมอื ง 12 กรกฎาคม 2565 ดร.มณรดา 5 กฎหมายทีค่ วรรแู ละกฎหมายลขิ สทิ ธ์ิ 19 กรกฎาคม 2565 ดร.มณรดา 6 สิทธิมนุษยชน 26 กรกฎาคม 2565 ดร.มณรดา 7 นำเสนองานเฉพาะบุคคล 2 สงิ หาคม 2565 ดร.มณรดา 8 ทบทวนความรู 9 สิงหาคม 2565 ดร.มณรดา 9 สัปดาหส อบกลางภาค 15 - 21 สิงหาคม 2565 10 ทนุ ทางสงั คม 23 สงิ หาคม 2565 ดร.มณรดา 11 ทุนทางวัฒนธรรม 30 สิงหาคม 2565 ดร.มณรดา 12 เศรษฐกจิ สรา งสรรค 6 กนั ยายน 2565 ดร.มณรดา 13 การเขียนโครงการทางศลิ ปะเพ่ือสังคม 1 13 กันยายน 2565 ดร.มณรดา 14 การเขียนโครงการทางศลิ ปะเพื่อสังคม 2 20 กันยายน 2565 ดร.มณรดา 15 นำเสนองาน 27 กันยายน 2565 ดร.มณรดา 16 ทบทวนความรู 4 ตุลาคม 2565 ดร.มณรดา 17 สปั ดาหส อบปลายภาค 10 - 16 ตลุ าคม 2565 ***หมายเหตุ กิจกรรมการเรยี นการสอนอาจมีความเปล่ียนแปลงตามความเหมาะสม และประกาศเฉพาะกิจของวทิ ยาลยั เพาะชา งและมหาวิทยาลัย 15.เอกสารอานประกอบและคนควาเพมิ่ เติม 1. ตำราและเอกสารหลัก กรกลม จึงสำราญและสุชาดา กลางสอน. พลเมอื งท่ีเขม แขง็ . กรงุ เทพฯ: สำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. คณะกรรมการการเลอื กต้งั . 2557. หนา ทพ่ี ลเมอื งในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมขุ . กรงุ เทพมหานคร : สำนกั พมิ พมลู นธิ โิ กมล.
นิรมล ชน่ื สงวน. 2563. พลเมอื งไทยสูประชาธิปไตยทีย่ ่ังยืน. กรงุ เทพฯ: แดเน็กซ อนิ เตอรคอรปอเรช่นั . มนต ทองชชั . 2530. 4 ศาสนาสำคญั ของโลกปจ จบุ นั : พราหมณ-ฮนิ ดู พทุ ธ ครสิ ตแ ละอิสลาม. กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร. สมยศ เช้อื ไทย. 2564. ความรกู ฎหมายท่ัวไป. กรุงเทพฯ: วญิ ชู น. เอนก เหลาธรรมทัศน. 2554. การเมืองของพลเมือง : สูสหัสวรรษใหม. พิมพครั้งที่ 3.กรุงเทพมหานคร: โครงการ จัดพิมพคบไฟ. อุดมศกั ดิ์ สนิ ธพิ งษ. 2561. สิทธมิ นษุ ยชน. กรุงเทพฯ: วิญชู น. 2. เอกสารและขอมูลสำคญั จิตร ภูมศิ ักด์.ิ 2564. สงั คมไทยลมุ แมน ้ำเจา พระยากอ นสมยั ศรีอยุธยา. พมิ พค รั้งที่ 5. นนทบุรี: ศรปี ญ ญา. ปรีชา ชางขวัญยืนและสมภาร พรมทา. 2556. มนุษยกับศาสนา. พิมพคร้ังที่5. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพรผลงาน วชิ าการ คณะอกั ษรศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั . ทองหลอ วงษธรรมา. 2551. ศาสนาสำคญั ของโลก. กรงุ เทพฯ: โอเดยี สโตร. ธนู แกว โอภาส. ศาสนาโลก. พิมพครัง้ ท2่ี . กรงุ เทพฯ: สขุ ภาพใจ. พิษณุ เสง่ียมพงษ. 2565. สังคมกับนโยบายสาธารณะ. กรงุ เทพฯ: สำนกั พิมพจุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั . ผาสกุ พงษไพจติ ร. 2562. สูสังคมไทยเสมหนา . กรุงเทพฯ: มติชน. 3. เอกสารและขอมลู แนะนำ กรมสงเสริมอุตสาหกรรม. 2559. เสนหไทย...ในวิถีรวมสมัย: รวมผลงานตนแบบผลิตภัณฑทุนทางวัฒนธรรมและภูมิ ปญญา ป 2557 – 2558. กรงุ เทพฯ: สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมชุมชน กรมสงเสริมอตุ สาหกรรม. ชัยอนันต สมทุ วณิช. 2540. วฒั นธรรมคอื ทนุ . กรุงเทพฯ: พี. เพรส. ชาญณรงค ชัยพัฒน. 2553. บทบาทและสภาพกาณณของอุตสาหกรรมสรางสรรคในประเทศไทย. วารสารนักบริหาร, 30(1), 18 – 22. ไชยยศ เหมะรัชตะ. 2562. ลักษณะของกฎหมายทรัพยสินทางปญญา: พื้นฐานความรู ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมาย การคา สง บงชีท้ างภูมิศาสตร แบบผังภูมขิ องวงจรรวม พันธพืชใหม. กรุงเทพฯ: นติ ิธรรม. ไชยสิทธ์ิ ชาญอาวธุ . 2559. การสรางมลู คาศลิ ปะขางถนนสเู ศรษฐกิจสรา งสรรค. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ .ี เทิดชาย ชวยบำรุง. 2551. การทองเท่ียวเชิงศิลปวฒั นธรรม: จุดเปลี่ยนอันดามันสูความย่ังยืน. กรุงเทพฯ: สำนักงาน กองทนุ สนับสนนุ การวิจยั (สกว.). นฤมล นิราทร. 2560. การเปลีย่ นแปลงทางสงั คมและปญหาสังคม. กรุงเทพฯ: สำนกั พิมพมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร. ปวรศิ ร เลิศธรรมทว.ี 2562. ความรูเก่ยี วกับทรพั ยสนิ ทางปญ ญา. กรงุ เทพฯ: วิญูชน. ประภาพรรณ ศิริวัลลภ. 2540. การใชกฎหมายลิขสิทธิ์ในการคุมครองมัลติมีเดีย. วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั .
ปรญิ ญา ดีผดุง. 2563. หลักกฎหมายลิขสิทธ์ิและบทวเิ คราะห. กรุงเทพฯ: สำนักพมิ พจุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั . ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. 2555. การศึกษาเพือ่ สรางพลเมือง : พฒั นาการเมอื งไทยโดยสรา งประชาธิปไตย ทค่ี น. กรงุ เทพมหานคร: นานมบี ุคส. พทุ ธทาส อินทปญ โญ. 2548. ศลี ธรรมกับการแกปญ หาสังคม. กรงุ เทพฯ: สุขภาพใจ. รงั สรรค ธนะพรพนั ธ. 2546. ทนุ วัฒนธรรม: วัฒนธรรมในระบบทุนนิยมโลก. กรุงเทพฯ: มติชน. วิริยะ สวางโชติ. 2561. อุตสาหกรรมทางวัฒนธรรมกับเศรษฐกิจสรางสรรค. กรงุ เทพฯ: ศูนยผนู ำธุรกิจเพ่ือสังคมแหง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. สุริชัย หวันแกว. 2546. พลังทองถ่ินในกระแสความเปล่ียนแปลงวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการ วฒั นธรรมแหงชาติ กระทรวงวัฒนธรรม กองทุนสงเสรมิ งานวัฒนธรรม. สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม. 2555. ขุมทรัพยทางวัฒนธรรมสูการเพิ่มมูลคาบนเสนทาง เศรษฐกิจสรางสรรค. กรงุ เทพฯ: สำนกั งานสง เสรมิ วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ ม กระทรวงอตุ สาหกรรม. อรสา ลลี าทววี ุฒ.ิ 2539. ปญหากฎหมายลขิ สทิ ธใิ์ นอุตสาหกรรมดนตรี. วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบณั ฑิต บณั ฑติ วิทยาลัย จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั .
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: