Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นาย อรรถพล ภูแสงศรี เลขที่23

นาย อรรถพล ภูแสงศรี เลขที่23

Published by chompupuntong2148, 2020-07-31 08:04:18

Description: นาย อรรถพล ภูแสงศรี-แปลง

Search

Read the Text Version

เร่ือง 1.ลกั ษณะประชาธิปไตย 2.หลกั การพระพทุ ธศาสนากบั วิทยาศาสตร์ 3.การคิดตามนยั พระพทุ ธศาสนากบั วิทยาศาสตร์ 4.พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสตร์แห่งการศกึ ษา 5.พระพทุ ธศาสนาเน้นความสมั พนั ธ์ของเหตปุ ัจจยั และวิธีการแก้ปัญหา จัดทำโดย นำย อรรถพล ภูแสนศรี ม.4/3 เลขท่ี 23 เสนอโดย นำง เพญ็ ประภำ คำพำ รำยวชิ ำสังคมศึกษำ

ลกั ษณะประชาธิปไตย หลกั ประชาธิปไตยทวั่ ไปในพระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประชาธิปไตยมาตงั้ แตเ่ ร่ิมแรก ก่อนทพ่ี ระพทุ ธเจ้าจะทรงมอบให้พระสงฆ์เป็นใหญ่ในกิจการทงั้ ปวงเสียอีกลกั ษณะที่เป็นประช าธิปไตยในพระพทุ ธศาสนามีตวั อย่างดงั ตอ่ ไปนี ้ 1. พระพทุ ธศาสนามีพระธรรมวนิ ยั เป็นธรรมนญู หรือกฎหมายสงู สดุ พระธรรม คอื คาสอนท่พี ระพทุ ธเจ้าทรงแสดง พระวินยั คอื คาสง่ั อนั เป็นข้อปฏบิ ตั ิทพี่ ระพทุ ธเจ้าทรงบญั ญตั ิขนึ ้ เมือ่ รวมกนั เรียกวา่ พระธรรมวินยั ซง่ึ มีความสาคญั ขนาดที่พระพทุ ธเจ้าทรงมอบให้เป็นพระศาสดาแทนพระองค์ ก่อนทพี่ ระองค์จะปรินิพพานเพยี งเลก็ น้อย 2. มีการกาหนดลกั ษณะของศาสนาไว้เรียบร้อย ไมป่ ลอ่ ยให้เป็นไปตามยถากรรม ลกั ษณะของพระพทุ ธศาสนาคอื สายกลาง ไม่ซ้ายสดุ ไมข่ วาสดุ ทางสายกลางนเี ้ป็นครรลอง

อาจปฏบิ ตั ิคอ่ นข้างเคร่งครัดกไ็ ด้ โดยใช้สทิ ธิในการแสวงหาอดเิ รกลาภตามท่ีทรงอนญุ าตไว้ ในสมยั ต่อมา เรียกแนวกลางๆ ของพระพทุ ธศาสนาว่า วิภชั ชวาที คือศาสนาทกี่ ลา่ วจาแนกแจกแจง ตามความเป็นจริงบางอยา่ งกลา่ วยืนยนั โดยสว่ นเดียวได้ บางอยา่ งกลา่ วจาแนกแจกแจงเป็นกรณี ๆ3. พระพทุ ธศาสนา มคี วามเสมอภาคภายใต้พระธรรมวินยั บคุ คลท่ีเป็นวรรณะกษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศทู รมาแตเ่ ดมิ รวมทงั้ คนวรรณะตา่ กว่านนั้ เช่นพวกจณั ฑาล พวกปกุ กสุ ะคนเกบ็ ขยะ และพวกทาส เมอ่ื เข้ามาอปุ สมบทในพระพทุ ธศาสนาอย่างถกู ต้องแล้ว มคี วามเท่าเทียมกนั คือปฏิบตั ติ ามสกิ ขาบทเทา่ กนั และเคารพกนั ตามลาดบั อาวโุ ส คอื ผ้อู ปุ สมบทภายหลงั เคารพผ้อู ปุ สมบทก่อน 4. พระภกิ ษุในพระพทุ ธศาสนา มสี ิทธิ เสรีภาพภายใต้พระธรรมวินยั เช่นในฐานะภกิ ษุเจ้าถิ่น จะมสี ทิ ธิได้รับของแจกก่อนภิกษุอาคนั ตกุ ะ ภิกษุที่จาพรรษาอยดู่ ้วยกนั มีสิทธิได้รับของแจกตามลาดบั พรรษา มสี ิทธิรับกฐิน และได้รับอานิสงส์กฐินในการแสวงหาจีวรตลอด 4 เดือนฤดหู นาวเท่าเทียมกนั นอกจากนนั้ ยงั มีเสรีภาพทจี่ ะเดนิ ทางไปไหนมาไหนได้ จะอยจู่ าพรรษาวดั ใดกไ็ ด้เลอื กปฏิบตั ิกรรมฐานข้อใด ถือธุดงค์วตั รข้อใดกไ็ ด้ทงั้ สิน้ 5. มีการแบ่งอานาจ พระเถระผ้ใู หญ่ทาหน้าทบ่ี ริหารปกครองหม่คู ณะ การบญั ญตั พิ ระวินยั พระพทุ ธเจ้าทรงบญั ญตั เิ อง เช่นมีภิกษุผ้ทู าผิดมาสอบสวนแล้วจงึ ทรงบญั ญตั ิพระวินยั สว่ นการตดั สินคดตี ามพระวินยั ทรงบญั ญตั ิแล้วเป็นหน้าท่ีของพระวินยั ธรรมซง่ึ เทา่ กบั ศาล 6. พระพทุ ธศาสนามีหลกั เสียงข้างมาก คือ ใช้เสยี งข้างมาก เป็นเกณฑ์ตดั สนิ เรียกว่า วิธีเยภยุ ยสิกา การตดั สินโดยใช้เสยี งข้างมาก ฝ่ายใดได้รับเสียงข้างมากสนบั สนนุ ฝ่ายนนั้ เป็นฝ่ายชนะคดี หลกั ประชาธิปไตยในการท่ีพระพทุ ธเจ้าทรงมอบความเป็นใหญ่แกส่ งฆ์

การมอบความเป็นใหญ่แกส่ งฆ์มลี กั ษณะตรงกบั หลกั ประชาธิปไตยหลายประการ สว่ นมากเป็นเรื่องสงั ฆกรรม คอื การประชมุ กนั ทากิจสงฆ์อยา่ งใดอย่างหนง่ึ ให้สาเร็จ การทาสงั ฆกรรมประกอบด้วยสว่ นสาคญั 5 ประการ ถ้าทาผิดพลาดประการใดประการหนงึ่ จะทาให้สงั ฆกรรมนนั้ เสยี ไป ใช้ไมไ่ ด้ ไม่มผี ล คือเป็นโมฆะ สว่ นสาคญั 5 ประการมดี งั นคี ้ ือ 1 จานวนสงฆ์อย่างตา่ ทเี่ ข้าประชมุ การกาหนดจานวนสงฆ์ผ้เู ข้าประชมุ อย่างต่าวา่ จะทาสงั ฆกรรมอย่างใดได้บ้างมี 5 ประเภท คือ 1.1 ภกิ ษุ 4 รูปเข้าประชมุ เรียกวา่ สงฆ์จตรุ วรรค 1.2 ภกิ ษุ 5 รูป เข้าประชมุ เรียกวา่ สงฆ์ปัญจวรรค 1.3 ภิกษุ 10 รูป เข้าประชมุ เรียกวา่ สงฆ์ทสวรรค 1.4 ภิกษุ 20 รูปเข้าประชมุ เรียกวา่ สงฆ์วสี ติวรรค 1.5 ภกิ ษุกวา่ 20 รูปเข้าประชมุ เรียกว่า อตเิ รกวีสตวิ รรค 2 สถานท่ีประชมุ ของสงฆ์เพ่อื ทาสงั ฆกรรม เรียกว่า สมี า แปลวา่ เขตแดน สีมา หมายถึงพนื ้ ดิน ไมใ่ ช่อาคาร อาคารจะสร้างเป็นรูปทรงอยา่ งไรหรือไม่มอี าคารเลยก็ได้ สีมามี 2 ประเภทใหญ่ๆ คอื พทั ธสีมา สมี าทผ่ี กู แล้ว และอพทั ธสมี า สีมาทไี่ ม่ต้องผกู พทั ธสมี ามีหลายชนิด 4 สทิ ธิของภิกษุผ้เู ข้าประชมุ ภกิ ษุผ้เู ข้าร่วมประชมุ ทาสงั ฆกรรมทกุ รูปมสี ทิ ธิแสดงความคดิ เหน็ ทงั้ ในทางเห็นด้วยและในทาง คดั ค้าน

5 มตทิ ป่ี ระชมุ การทาสงั ฆกรรมทงั้ หมด มติของท่ีประชมุ ต้องเป็นเอกฉนั ท์ คือเป็นทยี่ อมรับของภกิ ษุทกุ รูป ทงั้ นีเ้พราะในสงั ฆมณฑลนนั้ ภกิ ษุทงั้ หลายต้องอยรู่ ่วมกนั มคี วามไว้เนอื ้ เช่อื ใจกนั กลา่ วคอื มีศีลและมีความเห็นเหมือน ๆ กนั จึงจะมีความสามคั คี สืบตอ่ พระพทุ ธศาสนาได้อยา่ งถาวร แตใ่ นบางกรณี เม่อื ภกิ ษุมีความเห็นแตกตา่ งกนั เป็นสองฝ่ายและมีจานวนมากด้วยกนั ต้องหาวิธีระงบั โดยวธิ ีจั บฉลาก หรือการลงคะแนนเพอ่ื ดวู ่าฝ่ายไหนได้เสียงข้างมาก ก็ตดั สนิ ไปตามเสยี งข้างมากนนั้ วิธีนเี ้รียกวา่ เยภยุ ยสิกา หลกั การของพระพทุ ธศาสนากบั หลกั วิทยาศาสนา หลกั ของวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คือ วชิ าที่เกิดจากการศึกษาคน้ ควา้ หาหลกั ฐานและเหตผุ ลแลว้ จึงนามาจดั เขา้ เป็นระเบียบหรือวชิ าที่ มนุษยพ์ ยายามศึกษาเรื่องราวของตนเองและจกั รวาลจนเกิดความรู้ ซ่ึงไดม้ าโดยการสังเกตและคน้ ควา้ จากธรรมชาติแลว้ นามาจดั ระเบียบ หลกั การของวิทยาศาสตร์ มีดงั น้ี

1. วทิ ยาศาสตร์เนน้ ดา้ นวตั ถนุ ิยม คือสสารและพลงั งาน และความสุขทางวตั ถุ 2. วิทยาศาสตร์เช่ือวา่ ความจริงรับรู้ไดด้ ว้ ยประสาทสัมผสั ไดแ้ ก่ ตา หู จมกู ลิน้ และกาย 3. วทิ ยาศาสตร์ไม่ยอมรับความจริงท่ีเป็นนามธรรม (หรือจิตใจ) ซ่ึงสัมผสั จบั ตอ้ งไมไ่ ด้ 4. วทิ ยาศาสตร์เนน้ ให้คนแสวงหาความสุขทางกาย 5. วิทยาศาสตร์ใหค้ วามสาคญั กบั มูลค่า หรือผลสาเร็จคิดเป็นราคา ตน้ ทุน และกาไร หลกั การของพระพุทธศาสนา หลกั การสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา คือ การเขา้ ถึงความหลดุ พน้ จากความทุกข์ โดยจาแนกเป็นขอ้ ๆ ไดด้ งั น้ี 1. พระพทุ ธศาสนายอมรับความจริงอื่นนอกจากวตั ถุ 2. พระพุทธศาสนายอมรับความจริงที่เป็นนามธรรม (จิตใจ) เช่น กรรมดี กรรมชวั่ 3. พระพุทธศาสนายอมรับในประสาทสัมผสั ท้งั หา้ และประสาทสมั ผสั ทางจิต 4. พระพทุ ธศาสนาเนน้ ใหค้ นเป็นคนดี โดยมุ่งฝึกฝนอบรมทางจิต 5. พระพุทธศาสนามุ่งเนน้ ความสงบสุขทางใจ หรือความสุขจากการสละกิเลสตณั หา 6. พระพุทธศาสนามีเป้าหมายใหช้ าวพทุ ธหลดุ พน้ จากความทุกข์ ท้งั ในการดาเนินชีวิตประจาวนั (การดารงชีวิตในสังคม) และดบั ทกุ ขโ์ ดยส้ินเชิง (นิพพาน) เปรียบเทียบหลกั การของพระพุทธศาสนากบั หลกั วิทยาศาสตร์ หลกั การของพระพทุ ธศาสนากบั วิทยาศาสตร์ มีท้งั เหมือนกนั และแตกต่างกนั ดงั น้ี 1. หลกั การท่ีเหมือนกนั มี 3 ประการ คือ (1) ความจริงท่ีคน้ พบ เกิดจากการพสิ ูจนใ์ หป้ ระจกั ษด์ ว้ ยประสบการณ์ของตนเอง

(2) จุดมุ่งหมาย มุ่งแสวงหาความจริงที่เกิดประโยชนต์ อ่ มนุษยชาติ (3) วธิ ีการแสวงหาความจริง เนน้ การลงมือปฏิบตั ิ ทดลอง และพิสูจน์ 2. หลักการที่แตกต่างกนั คือ พระพทุ ธศาสนามุ่งคน้ หาความจริงท่ีเป็นประสบการณ์ ดา้ นจิตใจแตว่ ทิ ยาศาสตร์มงุ่ แสวงหาความจริงหรือคาตอบที่ตอ้ งการเป็นวตั ถุ (สสารและพลงั งาน) การคดิ ตามนยั แหง่ พระพุทธศาสนาและการคดิ แบบวทิ ยาศ าสตร์ การคิดตามนยั แห่งพระพทุ ธศาสนาและการคดิ แบบวทิ ยาศาสตร์นนั้ มีความสอดคล้องกนั เป็นอนั มากจนมีบางคนกลา่ วว่า พระพทุ ธศาสนาเป็นวิทยาศาสตร์ทางจิตใจ (Spiritual / Mental Science) และโดยเหตทุ ี่พระพทุ ธศาสนาอบุ ตั ขิ นึ ้ ในโลกมนษุ ย์กอ่ นวทิ ยาศาสตร์กว่า 2 พนั ปี จงึ น่าจะกลา่ วได้วา่ หลกั เกณฑ์ต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ซง่ึ เกิดขนึ ้ ภายหลงั

ไปสอดคล้องกบั หลกั การและวธิ ีการของพระพทุ ธศาสนามากกว่า ทงั้ พระพทุ ธศาสนาและวทิ ยาศาสตร์มจี ดุ เน้นเหมือนกนั คือ สอนมใิ ห้คนงมงาย ควรนาส่ิงตา่ ง ๆ มาพิจารณาด้วยเหตผุ ล มีการทดสอบทดลอง ตรวจสอบ จนเกิดความแนใ่ จและเชื่อด้วยตนเอง ด้วยปัญญาท่ีสง่ั สมไว้ของตนเอง พระพทุ ธเจ้าได้ตรัสเตอื นมิให้คนเช่ืออะไรง่าย ๆ (กาลามสตู ร ตกิ นบิ าต องั คตุ รนิกาย) หรือมศี รัทธาแบบตาบอด 10 ประการ คอื 1. อย่าเชื่อโดยฟังตามกนั มา 2. อยา่ เชอ่ื โดยเข้าใจว่าเป็นของเก่าสืบ ๆ กนั มา 3. อยา่ เชื่อเพราะตน่ื ขา่ ว 4. อยา่ เชื่อเพราะตารากลา่ วไว้ 5. อย่าเชอ่ื โดยนึกเดา 6. อยา่ เชื่อโดยการคาดคะเน 7. อยา่ เชื่อโดยพิจารณาตามอาการ 8. อยา่ เชอ่ื เพราะชอบใจว่าสอดคล้องกบั ความเช่อื เดิมหรือลทั ธิของตน 9. อยา่ เชอ่ื เพราะนบั ถือตวั ผ้พู ดู ว่าควรเชื่อได้ 10. อย่าเชื่อเพราะผ้บู อกเป็นครู อาจารย์ของตน วิทยาศาสตร์ 2. พลงั งาน เช่น ความร้อน… แสง เสยี ง ฯลฯ พระพทุ ธศาสนา 2. นามหรือ “จติ ” หรือ “วิญญาณ” เป็น “ธาตรุ ู้” หรือธรรมชาติที่รู้ได้ ซงึ่ เป็นองค์ประกอบสาคญั ของชีวติ จากข้อมลู เปรียบเทียบด้านบนจะเห็นได้วา่ วทิ ยาศาสตร์อธิบาย “ธรรมชาติ” โดยมแี นวคิดว่ามี 2 องค์ประกอบ คือ สสารกบั พลงั งาน และใช้แนวคิดนอี ้ ธิบายส่งิ ตา่ ง ๆ ได้เป็นสว่ นมาก (กลา่ วแล้วในตอน 1.1) แนวคดิ ดงั กลา่ วนสี ้ อดคล้องพอดีกบั “รูป” ในทางพระพทุ ธศาสนา ซึ่งประกอบด้วย สสารและพลงั งาน

แตพ่ ระพทุ ธศาสนายงั มอี งค์ประกอบตวั ใหม่ซงึ่ ไม่มใี นวิทยาศาสตร์ นนั่ คอื องค์ประกอบทีเ่ รียกว่า “นาม” หรือ “จติ ” หรือ “มโน” หรือ “วญิ ญาณ” ซง่ึ เป็นธรรมชาตทิ ่ีแตกต่างไปจากรูปนาม ประกอบด้วย 1. ความรู้สกึ 2. ความจา 3. ความคิดปรุงแตง่ ซง่ึ ประกอบด้วยการวิเคราะห์ / สงั เคราะห์ 4. การรับรู้ทกุ สงิ่ พระพทุ ธศาสนาอธิบายว่า “ชีวิต” ยอ่ มประกอบด้วยรูป หรือสว่ นท่เี ป็นร่างกายและนาม คือสว่ นท่เี ป็นจติ ใจซงึ่ มีความสามารถ 4 ประการ ดงั กลา่ ว และจากหลกั การข้อนี ้ พระพทุ ธศาสนาสามารถอธิบายได้ถึงสภาพการเกิดทกุ ข์ สาเหตขุ องการเกิดทกุ ข์ การเวยี นว่ายตายเกิด กฏแห่งกรรม ตลอดจนวิถีทางทาให้ทกุ ข์ลดลง จนกระทง่ั ดบั ไปในทส่ี ดุ สง่ิ เหลา่ นวี ้ ทิ ยาศาสตร์ยงั ไมท่ ราบ จึงถือได้ว่าพระพทุ ธศาสนาก้าวไกลกวา่ วทิ ยาศาสตร์มากมายนกั ในการอธิบายธรรมชาตขิ องชี วติ พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสตร์แห่งการศกึ ษา

• ความหมายของคาว่าการศึกษา พระพทุ ธศาสนาเป็ นศาสตร์แห่งการศกึ ษา ความหมายของคาว่าการศึกษา พระพุทธศาสนาเป็ นศาสตร์แห่งการศึกษา ความหมายของคาว่าการศึกษา คาวา่ “การศึกษา” มาจากคาวา่ “สิกขา” โดยทวั่ ไปหมายถึง “กระบว นการเรียน “ “การฝึกอบรม” “การคน้ ควา้ ” “การพฒั นาการ” และ “การรู้แจง้ เห็นจริงในส่ิงท้งั ปวง” จะเห็นไดว้ า่ การศึกษาในพระพทุ ธศาสนามีหลายระดบั ต้งั แต่ระดบั ต่าสุดถึงระดบั สูงสุด เมื่อแบ่งระดบั อยา่ งกวา้ ง ๆ มี 2 ประการคือ 1. การศึกษาระดบั โลกิยะ มีความมงุ่ หมายเพ่อื ดารงชีวิตในทางโลก 2. การศึกษาระดบั โลกุตระ มีความมุ่งหมายเพื่อดารงชีวติ เหนือกระแสโลก ในการศึกษาหรือการพฒั นาตามหลกั พระพุทธศาสนา น้นั พระพทุ ธเจา้ สอนใหค้ นไดพ้ ฒั นาอยู่ 4 ดา้ น คือ ดา้ นร่างกาย ดา้ นศีล ดา้ นจิตใจ และดา้ นสติปัญญา โดยมีจุดมงุ่ หมายใหม้ นุษยเ์ ป็นท้งั คนดีและคนเก่ง มิใช่เป็ นคนดีแต่โง่ หรือเป็นคนเก่งแตโ่ กง การจะสอนใหม้ นุษยเ์ ป็นคนดีและคนเก่งน้นั จะตอ้ งมีหลกั ในการศึกษาที่ถกู ตอ้ งเหมาะสม

ซ่ึงในการพฒั นามนุษยน์ ้นั พระพุทธศาสนามุง่ สร้างมนุษยใ์ หเ้ ป็นคนดีก่อน แลว้ จึงค่อยสร้างความเก่งทีหลงั นนั่ คือสอนใหค้ นเรามีคุณธรรม ความดีงามก่อนแลว้ จึงใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจหรือสติปัญญาภายหลงั ดงั น้นั หลกั ในการศึกษาของพระพทุ ธศาสนา น้นั จะมี ลาดบั ข้นั ตอนการศึกษา โดยเร่ิมจาก สีลสิกขา ตอ่ ดว้ ยจิตตสิกขาและข้นั ตอนสุดทา้ ยคือ ปัญญาสิกขา ซ่ึงข้นั ตอนการศึกษาท้งั 3 น้ี รวมเรียกวา่ \"ไตรสิกขา\" ซ่ึงมีความหมายดงั น้ี 1. สีลสิกขา การฝึกศึกษาในดา้ นความประพฤติทางกาย วาจา และอาชีพ ใหม้ ีชีวติ สุจริตและเก้ือกูล (Training in Higher Morality) 2. จิตตสิกขา การฝึกศึกษาดา้ นสมาธิ หรือพฒั นาจิตใจใหเ้ จริญไดท้ ่ี (Training in Higher Mentality หรือ Concentration) 3. ปัญญาสิกขา การฝึกศึกษาในปัญญาสูงข้ึนไป ใหร้ ู้คิดเขา้ ใจมองเห็นตามเป็นจริง (Training in Higher Wisdom) ความสัมพนั ธ์ของไตรสิกขา ความสัมพนั ธแ์ บบต่อเน่ืองของไตรสิกขาน้ี มองเห็นไดง้ ่ายแมใ้ นชีวติ ประจาวนั กล่าวคือ (ศีล -> สมาธิ) เมื่อประพฤติดี มีความสัมพนั ธ์งดงาม ไดท้ าประโยชนอ์ ยา่ งนอ้ ยดาเนินชีวิตโดยสุจริต มน่ั ใจในความบริสุทธ์ิของ ตน ไม่ตอ้ งกลวั ต่อการลงโทษ ไม่สะดุง้ ระแวงต่อการประทุษร้ายของคู่เวร ไมห่ วาดหวน่ั เสียวใจต่อเสียงตาหนิหรือความรู้สึก ไมย่ อมรับของสงั คม และไมม่ ีความฟุ้งซ่านวนุ่ วายใจ เพราะความรู้สึกเดือดร้อนรังเกียจในความผดิ ของตนเอง จิตใจก็เอิบอ่ิม ชื่นบานเป็ นสุข ปลอดโปร่ง สงบ และแน่วแน่ มุ่งไปกบั ส่ิงท่ีคิด คาที่พดู และการท่ีทา (สมาธิ -> ปัญญา) ยงิ่ จิตไมฟ่ ้งุ ซ่าน สงบ อยกู่ บั ตวั ไร้สิ่งข่นุ มวั สดใส ม่งุ ไปอยา่ งแน่วแน่เท่าใด การรับรู้ การคิดพินิจพจิ ารณามอง เห็นและเขา้ ใจส่ิงต่างๆกย้ ง่ิ ชดั เจน ตรงตามจริง แล่น คล่อง เป็นผลดีในทางปัญญามากข้ึนเทา่ น้นั อุปมาในเรื่องน้ี เหมือนวา่ ต้งั ภาชนะน้าไวด้ ว้ ยดีเรียบร้อย ไมไ่ ปแกลง้ ส่นั หรือเขยา่ มนั ( ศีล ) เม่ือน้าไม่ถูกกวน คน พดั หรือเขยา่ สงบน่ิง ผงฝ่ นุ ตา่ งๆ กน็ อนกน้ หายข่นุ น้าก็ใส (สมาธิ) เมื่อน้าใส กม็ องเห็นสิ่งต่างๆ ไดช้ ดั เจน ( ปัญญา )

ในการปฏิบตั ิธรรมสูงข้ึนไป ท่ีถึงข้นั จะใหเ้ กิดญาณ อนั รู้แจง้ เห็นจริงจนกาจดั อาสวกิเลสได้ ก็ยงิ่ ตอ้ งการจิตท่ีสงบน่ิง ผอ่ งใส มีสมาธิแน่วแน่ยง่ิ ข้ึนไปอีก ถึงขนาดระงบั การรับรู้ทางอายตนะตา่ งๆ ไดห้ มด เหลืออารมณ์หรือส่ิงท่ีกาหนดไวใ้ ชง้ าน แต่เพียงอยา่ งเดียว เพือ่ ทาการอยา่ งไดผ้ ล จนสามารถกาจดั กวาดลา้ งตะกอนที่นอนกน้ ไดห้ มดส้ิน ไม่ใหม้ ีโอกาสข่นุ อีกตอ่ ไป ไตรสิกขาน้ี เม่ือนามาแสดงเป็นคาสอนในภาคปฏิบตั ิทว่ั ไป ไดป้ รากฏในหลกั ท่ีเรียกวา่ โอวาทปาฏิโมกข์ ( พทุ ธโอวาทที่เป็นหลกั ใหญ่ อยา่ ง ) คือ สพพปาปสส อกรณ การไมท่ าความชว่ั ท้งั ปวง ( ศีล ) กสุ ลสสูปสมปทา การบาเพญ็ ความดีใหเ้ พียบพร้อม (สมาธิ ) สจิตตปริโยทปน การทาจิตของตนใหผ้ อ่ งใส (ปัญญา ) นอกจากน้ียงั มีวิธีการเรียนรู้ตามหลกั โดยทว่ั ไป ซ่ึงพระพทุ ธเจา้ พระพทุ ธเจา้ ตรัสไว้ 5 ประ การ คือ 1. การฟัง หมายถึงการต้งั ใจศึกษาเลา่ เรียนในห้องเรียน 2. การจาได้ หมายถึงการใชว้ ธิ ีการต่าง ๆ เพอื่ ใหจ้ าได้ 3. การสาธยาย หมายถึงการทอ่ ง การทบทวนความจาบ่อย ๆ 4. การเพ่งพนิ ิจดว้ ยใจ หมายถึงการต้งั ใจจินตนาการถึงความรู้น้นั ไวเ้ สมอ 5. การแทงทะลุดว้ ยความเห็น หมายถึงการเขา้ ถึงความรู้อยา่ งถกู ตอ้ ง เป็น ความรู้อยา่ งแทจ้ ริง ไมใ่ ช่ติดอยแู่ ตเ่ พียงความจาเทา่ น้นั แต่เป็นความรู้ความจาท่ีสามารถนามาประพฤติปฏิบตั ิได้ จะเห็นไดว้ า่ สีลสิกขา จิตตสิกขา และปัญญาสิกขา การศึกษาท้ั 3 ข้นั น้ี ตา่ งก็เป็นพ้นื ฐานกนั และกนั ซ่ึงในการศึกษา พุทธศาสนามุง่ สอนใหค้ นเป็นคนดี คนเก่งและสามารถอยใู่ นสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข จากกระบวนการศึกษาท่ีกลา่ วมาท้งั 3 ข้นั ตอนของพทุ ธศาสนาน้ี หากสามารถนาไปปฏิบตั ิอยา่ งจริงจงั ก็จะเกิดผลดีกบั ผปู้ ฏิบตั ิ ซ่ึงหลกั การท้งั 3 น้นั เป็นที่ยอมรับจากชาวโลก ทาใหพ้ ุทธศาสนาไดแ้ พร่หลายไปในประเทศตา่ ง ๆ ทว่ั โลก จึงนบั ไดว้ า่ พุทธศาสนาเป็ นศาสตร์แห่งการศึกษาอยา่ งแทจ้ ริง

พระพุทธศาสนาเน้นความสัมพนั ธ์ของเหตุปัจจยั และวธิ ีการแ ก้ปัญหา พระพุทธศาสนาเน้นความสัมพนั ธ์ของเหตุปจั จัย หลกั ของเหตุปัจจยั หรือหลกั ความเป็นเหตุเป็นผล ซ่ึงเป็นหลกั ของเหตุปัจจยั ที่อิงอาศยั ซ่ึงกนั และกนั ที่เรียกวา่ \"กฎปฏิจจสมุปบาท\" ซ่ึงมีสาระโดยยอ่ ดงั น้ี \"เมื่ออนั น้ีมี อนั น้ีจึงมี เมื่ออนั น้ีไม่มี อนั น้ีก็ไม่มี เพราะอนั น้ีเกิด อนั น้ีจึงเกิด เพราะอนั น้ีดบั อนั น้ีจึงดบั \"นี่เป็นหลกั ความจริงพ้นื ฐาน วา่ ส่ิงหน่ึงสิ่งใดจะเกิดข้ึนมาลอย ๆ ไม่ได้ หรือในชีวิตประจาวนั ของเรา \"ปัญหา\"ที่เกิดข้ึนกบั ตวั เราจะเป็นปัญหาลอย ๆ ไมไ่ ด้ จะตอ้ งมีเหตปุ ัจจยั หลายเหตทุ ี่ก่อใหเ้ กิดปัญหาข้ึนมา หากเราตอ้ งการแกไ้ ขปัญหาก็ตอ้ งอาศยั เหตปุ ัจจยั ในการแกไ้ ขหลายเหตุปัจจยั ไม่ใช่มีเพยี งปัจจยั เดียวหรือมีเพยี งหนทางเดียวในการแกไ้ ขปัญหา เป็นตน้ คาวา่ \"เหตปุ ัจจยั \" พทุ ธศาสนาถือวา่ ส่ิงที่ทาใหผ้ ลเกิดข้ึนไมใ่ ช่เหตุอยา่ งเดียว ตอ้ งมีปัจจยั ต่าง ๆ ดว้ ยเมื่อมีปัจจยั หลายปัจจยั ผลก็เกิดข้ึน ตวั อยา่ งเช่น เราปลกู มะมว่ ง ตน้ มะมว่ งงอกงามข้ึนมาตน้ มะมว่ งถือวา่ เป็นผลที่เกิดข้ึน

ดงั น้นั ตน้ มะมว่ งจะเกิดข้ึนเป็นตน้ ที่สมบูรณ์ไดต้ อ้ งอาศยั เหตุปัจจยั หลายปัจจยั ท่ีก่อใหเ้ กิดเป็นต้ นมะม่วงได้ เหตุปัจจยั เหล่าน้นั ไดแ้ ก่ เมลด็ มะมว่ ง ดิน น้า ออกซิเจน แสงแดด อุณหภูมิท่ีพอเหมาะ ป๋ ยุ เป็นตน้ ปัจจยั เหลา่ น้ีพรั่งพร้อมจึงก่อให้เกิดตน้ มะมว่ ง ตวั อยา่ งความสมั พนั ธข์ องเหตุปัจจยั เช่น ปัญหาการมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า ซ่ึงเป็นผลที่เกิดจากการเรียนของนกั เรียน มีเหตุปัจจยั หลายเหตปุ ัจจยั ที่ก่อใหเ้ กิดการเรียนอ่อน เช่น ปัจจยั จากครูผสู้ อน ปัจจยั จากหลกั สูตรปัจจยั จากกระบวนการเรียนการสอนปัจจยั จากการวดั ผลประเมินผล ปัจจยั จากตวั ของนกั เรียนเอง เป็นตน้ ความสมั พนั ธข์ องเหตปุ ัจจยั หรือหลกั ปฏิจจสมุปบาท แสดงใหเ้ ห็นอาการของสิ่งท้งั หลายสมั พนั ธ์เน่ืองอาศยั เป็นเหตุปัจจยั ต่อกนั อยา่ งเป็นกระแส ในภาวะท่ีเป็นกระแสน้ี ขยายความหมายออกไปให้เห็นแงต่ ่าง ๆ ไดค้ ือ - สิ่งท้งั หลายมีความสมั พนั ธ์ตอ่ เนื่องอาศยั เป็นปัจจยั แก่กนั - ส่ิงท้งั หลายมีอยโู่ ดยความสมั พนั ธก์ นั - สิ่งท้งั หลายมีอยดู่ ว้ ยอาศยั ปัจจยั - สิ่งท้งั หลายไม่มีความคงที่อยอู่ ยา่ งเดิมแมแ้ ต่ขณะเดียว (มีการเปล่ียนแปลงอยตู่ ลอดเวลา ไม่อยนู่ ิ่ง) - สิ่งท้งั หลายไมม่ ีอยโู่ ดยตวั ของมนั เอง คือ ไม่มีตวั ตนที่แทจ้ ริงของมนั - ส่ิงท้งั หลายไมม่ ีมูลการณ์ หรือตน้ กาเนิดเดิมสุด แตม่ ีความสัมพนั ธแ์ บบวฏั จกั ร หมุนวนจนไม่ทราบวา่ อะไรเป็นตน้ กาเนิดที่แทจ้ ริง หลกั คาสอนของพระพุทธศาสนาของพระพุทธศาสนาที่เนน้ ความสัมพนั ธข์ องเหตปุ ัจจยั มีมาก มาย ในท่ีน้ีจะกลา่ วถึงหลกั คาสอน 2 เร่ือง คือ ปฏจิ จสมุปบาท และอริยสัจ 4 ปฏจิ จสมุปบาท คือ การที่ส่ิงท้งั หลายอาศยั ซ่ึงกนั และกนั เกิดข้ึน เป็นกฎธรรมชาติที่พระพุทธเจา้ ทรงคน้ พบ การที่พระพทุ ธเจา้ ทรงคน้ พบกฎน้ีนี่เอง พระองคจ์ ึงไดช้ ื่อวา่ พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า กฏปฏิจจสมุปบาท เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ กฏอิทัปปัจจยตา ซ่ึงก็คือ กฏแห่งความเป็นเหตเุ ป็นผลของกนั และกนั นนั่ เอง

กฏปฏิจจสมุปบาท คือ กฏแห่งเหตผุ ลท่ีวา่ ถ้าสิ่งนมี้ ี ส่ิงนั้นกม็ ี ถ้าสิ่งนดี้ บั สิ่งน้นั ก้ดับ ปฏิจจสมปุ บาทมีองคป์ ระกอบ 12 ประการ คือ 1) อวชิ ชา คือ ความไมร่ ู้จริงของชีวติ ไมร่ ู้แจง้ ในอริยสจั 4 ไมร่ ู้เทา่ ทนั ตามสภาพที่เป็นจริง 2) สังขาร คือ ความคิดปรุงแตง่ หรือเจตนาท้งั ที่เป็นกุศลและอกศุ ล 3) วญิ ญาณ คือ ความรบั รู้ต่ออารมณ์ต่างๆ เช่น เห็น ไดย้ นิ ไดก้ ลิ่น รู้รส รู้สมั ผสั 4) นามรูป คือ ความมอี ยใู่ นรูปธรรมและนามธรรม ไดแ้ ก่ กายกบั จิต 5) สฬายตนะ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ 6) ผสั สะ คือ การถกู ตอ้ งสัมผสั หรือการกระทบ 7) เวทนา คือ ความรูส้ ึกวา่ เป็นสุข ทกุ ข์ หรืออุเบกขา 8) ตัณหา คือ ความทะเยอทะยานอยากหรือความตอ้ งการในสิ่งที่อานวยความสุขเวทนา และความดิ้นรนหลีกหนีในส่ิงที่ก่อทกุ ขเวทนา 9) อปุ าทาน คือ ความยดึ มน่ั ถือมนั่ ในตวั ตน 10) ภพ คือ พฤติกรรมที่แสดงออกเพือ่ สนองอุปาทานน้นั ๆ เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าและใหเ้ ป้นไปตามความยดึ มน่ั ถือมน่ั 11) ชาติ คือ ความเกิด ความตระหนกั ในตวั ตน ตระหนกั ในพฤติกรรมของตน 12) ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาสะ คือ ความแก่ ความตาย ความโศกเศร้า ความคร่าครวญ ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ และความคบั แคน้ ใจหรือความกลดั กลุม่ ใจ องคป์ ระกอบท้งั 12 ประเภทน้ี พระพทุ ธเจา้ เรียกวา่ องค์ประกอบแห่งชีวิต หรือกระบวนการของชีวิต ซ่ึงมคี วามสัมพนั ธ์เกย่ี วเนื่องกนั ทานองปฏกิ ริ ิยาลกู โซ่ เป็นเ หตปุ ัจจยั ต่อกนั โยงใยเป็นวงเวียนไมม่ ีตน้ ไม่มีปลาย ไม่มีท่ีสิ้นสุด กลา่ วคือองคป์ ระกอบของชีวติ ตามกฏปฏิจจสมุปบาทดงั กล่าวน้ีเป็นสายเกิดเรียกวา่ สมุ ทัยวาร วธิ ีแก้ปัญหาตามแนวพระพทุ ธศาสนา

พระพุทธศาสนาเนน้ การแกป้ ัญหาดว้ ยการกระทาของมนุษยต์ ามหลกั ของเ หตุผล ไมห่ วงั การออ้ นวอนจากปัจจยั ภายนอก เช่น เทพเจา้ รุกขเทวดา ภูตผปี ี ศาจ เป็นตน้ จะเห็นไดจ้ ากตวั อยา่ งคาสอนในคาถาธรรมบท แปลความวา่ มนุษยท์ ้งั หลายถูกภยั คุกคามแลว้ พากนั ถึงเจา้ ป่ าเจา้ เขา เจา้ ภผู า ตน้ ไมศ้ กั ด์ิสิทธ์ิ เป็นท่ีพ่ึงแตส่ ิ่งเหลา่ น้นั ไม่ใช่สรณะอนั เกษม เม่ือยดึ เอาส่ิงเหลา่ น้นั เป็นสรณะ (ที่พ่งึ ) ยอ่ มไม่สามารถหลดุ พนั จากความทุกขท์ ้งั ปวง…แตช่ นเหลา่ ใดมาถึงพระพทุ ธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นสรณะ รู้เขา้ ใจอริยสจั 4 เห็นปัญหา เหตุเกิดของปัญหา ภาวะไร้ปัญหา และวธิ ีปฏิบตั ิใหถ้ ึงความส้ินปัญหาจึงจะสามารถหลุดพน้ จากทุกขท์ ้งั ปวงได\"้ ดงั น้นั มนุษยต์ อ้ งแกป้ ัญหาดว้ ยวิธีการของมนุษยท์ ี่เพียรทาการดว้ ยปัญญาท่ีรู้เหตุปัจจยั หลกั การแกป้ ัญหาดว้ ยปัญญาของมนุษยค์ ือ 1. ทุกข์ คือ การเกิดปัญหา หรือรู้ปัญหาท่ีเกิดข้ึน หรือรู้วา่ ปัญหาท่ีเกิดข้ึนคืออะไร 2. สมุทยั คือ การสืบหาสาเหตุของปัญหา 3. นิโรธ คือ กาหนดแนวทางหรือวธิ ีการแกไ้ ขปัญหาที่เกิดจากสาเหตุต่าง ๆ เหลา่ น้นั 4. มรรค คือ ปฏิบตั ิตามวธิ ีการให้ถึงการแกไ้ ขปัญหา หรือวธิ ีการดบั ปัญหาได้ หลกั การแกป้ ัญหาตามหลกั อริยสัจ 4 น้ี มีคุณคา่ เด่นท่ีสาคญั พอสรุปไดด้ งั น้ี 1. เป็นวิธีการแห่งปัญญา ซ่ึงดาเนินการแกไ้ ขปัญหาตามระบบแห่งเหตุผล เป็ นระบบวิธีแบบอยา่ ง ซ่ึงวิธีการแกป้ ัญหาใด ๆ ก็ตาม ที่จะมีคุณค่าและสมเหตผุ ล จะตอ้ งดาเนินไปในแนวเดียวกนั เช่นน้ี 2. เป็นการแกป้ ัญหาและจดั การกบั ชีวติ ของตน ดว้ ยปัญญาของมนุษยเ์ อง โดยนาเอาหลกั ความจริงท่ีมีอยตู่ ามธรรมชาติมาใชป้ ระโยชน์ ไม่ตอ้ งอา้ งอานาจดลบนั ดาลของตวั การพเิ ศษเหนือธรรมชาติ หรือสิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิใด ๆ 3. เป็นความจริงท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ชีวติ ของคนทกุ คน ไมว่ า่ มนุษยจ์ ะเตลิดออกไปเกี่ยวขอ้ งสมั พนั ธ์กบั สิ่งท่ีอยหู่ ่างไกลตวั กวา้ งขวางมากมายเพียงใดก็ต าม

แตถ่ า้ เขายงั จะตอ้ งมีชีวิตของตนเองที่มีคุณคา่ และสมั พนั ธก์ บั สิ่งภายนอกเหล่าน้นั อยา่ งมีผลดีแล้ ว เขาจะตอ้ งเก่ียวขอ้ งและใชป้ ระโยชน์จากหลกั ความจริงน้ีตลอดไป 4. เป็นหลกั ความจริงกลาง ๆ ที่ติดเนื่องอยกู่ บั ชีวติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook