สื่อการสอนวชิ าภาษาไทย เรือ่ ง การอ่านจบั ใจความสาคญั
การอ่านจับใจความสาคัญ เป็นการอ่านเพื่อค้นหา สาระสาคัญของเรื่องที่อ่านที่ผู้เขียนต้องการสื่อ ซึ่งในแต่ละย่อหน้าจะมี ประโยคใจความสาคัญเพียงประโยคเดียวหรืออย่างมากไม่เกิน 2 ประโยค จะแบง่ เป็นประโยคใจความสาคัญ และประโยคใจความรอง (พลความ)
ประโยคใจความสาคัญหรือประโยคหลัก คือประโยคที่สรุปความคิดของข้อเขียนตอนนั้นไว้ทั้งหมด ประโยคนี้จะอยู่ส่วนใดของย่อหน้าก็ได้ บางย่อหน้าอาจไม่มี ประโยคใจความสาคัญ ผู้อ่านจะต้องสรปุ ใจความสาคญั เอง
ประโยคใจความรอง (พลความ) เป็นประโยคทีข่ ยายความประโยคใจความสาคญั สนบั สนนุ ใจความสาคญั ให้ชัดเจนมากยิง่ ขึน้
หลักการอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ 1. ต้งั จดุ มงุ่ หมายในการอา่ นให้ชดั เจน 2. อ่านเรือ่ งราวอย่างครา่ ว ๆ พอเขา้ ใจและเกบ็ ใจความสาคญั ของแตล่ ะยอ่ หน้า
3. เมื่ออ่านจบให้ตั้งคาถามกับตนเองว่าเรื่องที่อ่านมี ใคร ทา อะไร ทีไ่ หน เมือ่ ไหร่ อยา่ งไร 4. นาส่งิ ที่สรุปไดม้ าเรียบเรียงใจความสาคัญใหม่ด้วยสานวน ของตนเอง เพือ่ ให้เกิดความสละสลวย
วิธีจับใจความสาคัญ 1. พจิ ารณาทีละยอ่ หนา้ หาประโยคใจความสาคัญ 2. ตัดส่วนที่เป็นรายละเอียดออกได้ เช่น ตัวอย่างส านวนโวหาร อุปมาอปุ ไมย (การเปรียบเทียบ) ตัวเลข สถติ ิ ตลอดจนคาถามหรือคาพูดของผเู้ ขียน 3. สรปุ ใจความสาคญั ดว้ ยสานวนภาษาของตนเอง
ตาแหนง่ ใจความสาคญั ของขอ้ ความ ในแต่ละย่อหนา้ จะปรากฏ ดงั นี้ 1. ใจความสาคญั อยตู่ อนตน้ ของย่อหนา้ 2. ใจความสาคัญอยู่ตอนกลางของยอ่ หน้า 3. ใจความสาคญั อยตู่ อนท้ายของย่อหน้า 4. ใจความสาคญั อยตู่ อนต้นและตอนทา้ ยของย่อหนา้ 5. ผู้อ่านสรปุ ขึน้ เอง จากการอ่านทัง้ ย่อหน้า
1. ใจความสาคญั อยู่ตอนตน้ ของย่อหน้า ความแตกต่างของมนุษย์และสัตว์อีกประการหนึ่งที่เห็นเด่นชัด คือ เรื่อง ของการใช้ภาษา มนุษย์สามารถถ่ายทอดความรู้ความคิดออกมาเป็นตัวเขียน คือ เปน็ ภาษาหนังสือสาหรบั ใหผ้ อู้ ื่นอา่ นและเข้าใจตรงตามที่ต้องการ แต่สัตว์ใช้ได้ แต่เสียงเท่านั้นในการสื่อสาร แม้แต่เสียงหลายท่านก็ยังมีความเห็นว่าสัตว์จะทา เสยี งเพือ่ แสดงความรูส้ ึก เช่น โกรธ หิว เจ็บปวดเท่านั้น เสียงของสัตว์ไม่อาจสื่อ ความหมายไดล้ ะเอียดลออเทา่ ภาษาพดู ของมนษุ ย์
1. ใจความสาคัญอย่ตู อนต้นของยอ่ หนา้ ความสมบูรณ์ของชีวิตมาจากความเข้าใจชีวิตเป็นพื้นฐาน คือเข้าใจ ธรรมชาติ เข้าใจความเป็นมนุษย์ และความสัมพันธ์ที่เกื้อกูลกันระหว่างมนุษย์กับ มนุษย์ และมนุษย์กับธรรมชาติ มีความรัก ความเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์และ ธรรมชาตอิ ย่างจริงใจ
2. ใจความสาคญั อยู่ตอนกลางของย่อหนา้ ดังได้กล่าวมาแล้วว่า การที่จะเป็นผู้ฟังที่ดีได้นั้นจะต้องมีการฝึกฝนจนเรียนรู้ ฉะนั้น ครูจึงเป็นผู้ที่มีโอกาสดีกว่าคนอื่น ๆ ในการฝึกนิสัยการฟังที่ดี ให้แก่เยาวชนที่จะเป็นผู้นา ของชาติในอนาคต ครไู มค่ วรมองข้ามความสาคัญของการฟังไป ควรระลึกไว้เสมอว่า การฟัง มีความสาคัญเท่า ๆ กับการพูด การอ่านและการเขียน ถ้าผู้ฟังรู้จักฟังแล้วการฟังก็จะมี ประโยชน์มาก แต่ถ้าผู้ฟังไม่รู้จักการฟัง ผู้ฟังก็จะไม่ได้รับผลอะไรเลย แต่ในทางตรงกัน ขา้ ม บางครัง้ ก็อาจจะมีโทษอันร้ายแรงเกดิ ขึน้ อีกด้วย
2. ใจความสาคญั อยู่ตอนกลางของย่อหนา้ โดยทั่วไปผักที่ขายตามท้องตลาดส่วนใหญ่เกษตรกรมักใช้สารกาจัดศัตรูพืช หากไม่มีความรอบคอบในการใช้ จะทาให้เกิดสารตกค้าง ทาให้มีปัญหาต่อสุขภาพ ฉะนั้น เมือ่ ซื้อผักไปรบั ประทานจึงควรล้างผักด้วยน้าหลาย ๆ ครั้ง เพราะจะช่วยกาจัดสาร ตกค้างไปได้บ้าง บางคนอาจแชผ่ กั โดยใช้น้าผสมโซเดียมไบคารบ์ อเนตก็ได้ แต่อาจ ทาใหว้ ิตามนิ ลดลง
3. ใจความสาคญั อยู่ตอนท้ายของย่อหน้า ภายในวงงานศิลปะประเภทหนึ่ง ๆ มีรูปแบบของศิลปะนั้นแยกออกไป จิตรกรรมก็มีการวาด และระบายสีบนฝาผนัง วาดเป็นเส้นบนกระดาษ วาดและระบายเป็นภาพเล็ก เป็นภาพใหญ่ เป็นรูปคน รูปภูมิประเทศ และอื่น ๆ วรรณคดีก็เข้าในลักษณะนี้รูปแบบของวรรณคดีไทยก็มีหลายแบบ ถ้านับ วรรณคดีตา่ งประเทศทั่วโลกก็มีรูปแบบเกือบจะนับไม่ถ้วน คุณภาพของวรรณคดีขึ้นอยู่กับรูปแบบ จะ มีความดีหรือความบกพร่องภายในวงของรูปแบบแต่ละรูปแบบ การพิจารณาวรรณคดีจึงเป็นไปตาม รปู แบบแตล่ ะรูป ๆ นน้ั
3. ใจความสาคัญอย่ตู อนทา้ ยของย่อหนา้ ความเครียดทาให้เพิ่มฮอร์โมนอะดรีนาลีนในเลือด ทาให้หัวใจเต้นเร็ว เส้นเลือดบีบตัว กล้ามเนื้อเขม็งตึง ระบบย่อยอาหารผิดปกติ เกิดอาการปวดหัว ปวดทอ้ ง ใจสน่ั แข้งขาอ่อนแรง ความเครียดจึงเปน็ ตวั การใหแ้ กเ่ รว็
4. ใจความสาคัญอยู่ตอนตน้ และตอนท้ายของยอ่ หนา้ ศิลปวัฒนธรรมในบ้านเมืองเรามักจะสอดคล้องกับการดาเนินชีวิตประจาวัน ตัวอย่าง บางคนชอบปลูกต้นไม้ ดอกไมผ้ ล เมื่อเกิดดอกออกผลก็ชื่นใจ เกิดความคิดที่จะทาดอกผลนั้น ให้งดงามนา่ ดยู งิ่ ขึ้น จึงมีผ้นู าผลไมม้ าประดิษฐ์ลวดลาย แล้วจัดวางในภาชนะให้มองดูแปลกตา น่ารับประทาน ลวดลายนั้นเกิดจากการตัด ผ่า ปอก คว้าน และแกะสลัก ส่วนไม้ดอกที่ออกดอก ก็นามาผูกมัดเป็นช่อบ้าง เป็นพวงเป็นพู่บ้าง เสียบเป็นพุ่มหรือปักลงในแจกันก็ได้ ตามแต่จะ เห็นงาม ชีวติ ชาวไทยกบั ศิลปะความงามจึงแยกกนั ไมอ่ อก
4. ใจความสาคัญอยตู่ อนตน้ และตอนทา้ ยของย่อหน้า เรารักษาศีลเพื่อบังคับตัวเองให้มีระเบียบวินัยในการกระทาทุกสิ่งอย่าง เช่น เรามาอยู่วัด มานุ่งขาวห่มขาว ไม่ใช่ถือแต่ศีลแปดข้อเท่านั้น แต่เราต้องนึก วา่ ศีลนั้นคือความมีระเบียบวินัย เราเดินอย่างมีระเบียบ นั่งอย่างมีระเบียบ กินอย่างมี ระเบียบ ทาอะไรก็ทาอยา่ งมีระเบียบ นนั่ เปน็ คนมีศีล ถา้ เราไมม่ ีระเบียบ กไ็ ม่มีศีล
5. ผู้อ่านสรุปขึ้นเอง จากการอา่ นทั้งย่อหน้า สุนทรภู่ได้สูญสิ้นชีวิตไปแล้ว สิ้นไปในวาระที่ท่านกลับได้ดารงเกียรติอันควรแก่ปรีชาสามารถ ของท่าน คือ เมื่อท่านไดเ้ ป็นพระศรีสุนทรโวหาร เจา้ กรมอาลักษณใ์ นสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่นาม และวรรณคดีของท่านยังคงอยู่โดยความดีงามและคุณค่าในตัวเอง เราได้รับทั้งความบันเทิงและ ความสะเทือนใจในรสแห่งคติธรรมอนั แสดงออกโดยภาษาอันไพเราะซาบซึ้งใจจากวรรณคดีที่ทา่ นฝากไว้ ใจความสาคญั : วรรณคดีของสนุ ทรภมู่ ีคณุ ค่าทางคติธรรมและคณุ ค่าทางภาษาที่ไพเราะซาบซึง้
5. ผู้อา่ นสรุปขึน้ เอง จากการอ่านท้ังยอ่ หน้า การเดิน การว่ายน้า การฝึกโยคะ การออกกาลังกายด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการฝึกหายใจลึก ๆ มีสว่ นทาใหส้ ุขภาพแขง็ แรง ใจความสาคญั : การทาให้สุขภาพแข็งแรงมีหลายวิธี
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: