ยนิ ดีต้อนรบั คณะกรรมการการประเมินทกุ ทา่ น การประเมนิ การเครยี มความพรอ้ มและพัฒนาอย่างเขม้ ตาแหน่งครผู ชู้ ่วย
การประเมนิ การเตรียมความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตาแหนง่ ครผู ู้ช่วย นางสาวพสุกานต์ ไชยวงศ์คต
ประวัติ ชือ่ นางสาวพสุกานต์ ไชยวงศ์คต เกิดเมือ่ วันที่ ๖ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ อายุ ๒๖ ปี ๑๐ เดือน ที่อยูป่ จั จุบนั เลขที่ ๔๒๗/๘ หม่ทู ี่ ๒ ตาบล พรรณา อาเภอ พรรณานิคม จังหวดั สกลนคร ๔๗๑๓๐ โทรศัพทม์ ือถือ ๐๙๔-๓๘๗๘๓๓๔ E-mail : [email protected] ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพครูเลขที่ ๖๑๑๐๙๐๐๐๐๕๒๗๕๑ หมดอายุ ณ วันที่ ๒๒ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๖
การศกึ ษา EDUCATION ประถมศกึ ษา : โรงเรียนอนบุ าลพรรณานคิ ม เกรดเฉล่ีย : ๓.๘๗ มัธยมศึกษา : โรงเรียนสกลราชวทิ ยานุกูล เกรดเฉลย่ี : ๓.๒๔ อดุ มศึกษา : มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร คณะครุศาสตร์ สาขาวชิ าการศึกษาปฐมวยั เกรดเฉล่ยี : ๓.๕๘ เกยี รตินยิ มอันดับ ๑
ภาระหนา้ ที่ด้านการสอน ครปู ระจาชนั้ อนุบาลปีที่ ๓
วินยั และการรกั ษาวนิ ยั 1.1 การแสดงออกทางอารมณ์กริ ิยา ท่าทาง และพูดส่ือสารไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะตอ่ ผเู้ รยี น 1.2 การแสดงออกทางอารมณก์ ิรยิ าท่าทาง และพูดสือ่ สารไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะต่อผ้บู ังคบั บัญชาเพ่อื นรว่ มงานผู้ปกครอง และบุคคลอ่ืน
1.3 การมีเจตนาคตเิ ชงิ บวกกบั ประเทศชาติ 1.4 การปฏบิ ตั ติ ามกฎ ระเบียบหลกั เกณฑท์ ี่เก่ยี วขอ้ งกบั ความเป็นขา้ ราชการ
1.5 การปฏบิ ัตติ ามกฎ ระเบียบหลกั เกณฑ์ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั ความเป็นขา้ ราชการครู 1.6 การปฏบิ ัติตามกฎหมาย
คุณธรรม จริยธรรม 2.1 การปฏบิ ัตติ นตามหลกั ศาสนาท่นี ับถอื อยา่ งเคร่งครดั 2.2 การเขา้ ร่วมสง่ เสรมิ สนบั สนุนศาสนกิจของศาสนาท่นี ับถอื อยา่ งสมา่ เสมอ
2.3 การเห็นความสาคัญ เข้ารว่ มส่งเสริม สนับสนุน เคารพกิจกรรมที่แสดงถงึ จารตี ประเพณี วฒั นธรรมท้องถิ่นหรอื ชมุ ชน 2.4 การเหน็ ความสาคญั เข้าร่วมส่งเสริม สนบั สนุน กิจกรรมท่ีแสดงถงึ จารีต ประเพณี วฒั นธรรมของชาติ
2.5 การมีจิตบรกิ าร และจติ สาธารณะ 2.6 การตอ่ ตา้ นการกระทาของบคุ คลหรอื กลุ่มบคุ คลที่สง่ ผลตอ่ ความม่นั คงของชาติหรอื ผลกระทบเชงิ ลบตอ่ สงั คมโดยรวม
จรรยาบรรณวิชาชีพ 3.1การพัฒนาวชิ าชีพและบุคลกิ ภาพอย่างตอ่ เน่อื ง 3.2 การมวี สิ ยั ทัศน์ รแู้ ละเขา้ ใจสนใจ ติดตามความเปลี่ยนแปลงด้านวทิ ยาการ เศรษฐกจิ สงั คม การเมืองของไทย และนานาชาตใิ น ปจั จบุ นั 3.3 การไมอ่ าศยั วิชาชพี แสวงหาผลประโยชนท์ ่ีไมถ่ กู ตอ้ ง
3.4 การมุง่ มนั่ ตอ่ การพฒั นาความรู้ความสามารถของผู้เรยี น 3.5 การใหค้ วามสาคญั ตอ่ การเขา้ ร่วมสง่ เสริม สนบั สนุนกจิ กรรมทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับวชิ าชพี ครอู ย่างสมา่ เสมอ 3.6 รกั เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลอื สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้บริการผเู้ รียนทุกคน ด้วยความเสมอภาค
3.7 การประพฤตปิ ฏิบัตติ นเปน็ ทยี่ อมรบั ของผเู้ รยี น ผบู้ ริหารเพ่อื นร่วมงานผ้ปู กครอง และชมุ ชน 3.8 การไมป่ ฏิบตั ติ นทส่ี ง่ ผลเชิงลบตอ่ กายและใจของผเู้ รยี น 3.9 การทางานร่วมกับผู้อ่นื ไดโ้ ดยยดึ หลักความสามัคคี เกื้อกลู ซงึ่ กันและกนั
3.10 การใช้ความรู้ความสามารถท่ีมอี ยู่ นามาใหเ้ กดิ ความเปลี่ยนแปลงในทางพฒั นาใหก้ บั ผ้เู รยี น โรงเรียนหรือชุมชนในด้านใด ดา้ นหนึง่ (ด้านการอนุรักษ์ศิลปะ วัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญา และสิ่งแวดล้อม) 3.11 การยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ
การดารงชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4.2 มกี ารนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรบั ประยุกต์ใช้กับการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน 4.3 มีการนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรับประยกุ ต์ใช้กบั ภารกจิ ที่ได้รับมอบหมายอ่ืน
4.4 มกี ารนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรบั ประยุกตใ์ ช้กับการดารงชวี ิตของตนเอง 4.5 เปน็ แบบอย่างในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรบั ประยุกตใ์ ช้กับภารกิจต่าง ๆ หรอื การดารงชวี ติ ของตนเอง
จิตวิญญาณความเปน็ ครู 5.1 การเขา้ สอนตรงเวลาและสอนเต็มเวลา 5.2 การตระหนักในความรู้และทกั ษะที่ถกู ต้องรวมถงึ สิง่ ดี ๆ ให้กบั ผู้เรียน 5.3 การสร้างความเสมอภาคเปน็ ธรรมกับผูเ้ รยี นทกุ คน
5.4 การรจู้ กั ให้อภยั ปราศจากอคติชว่ ยเหลือ สง่ เสริม สนับสนุนให้ผู้เรยี นประสบความสาเรจ็ ตามศกั ยภาพความสนใจ หรือ ความต้งั ใจ 5.5 การเปน็ ทพี่ ่ึงให้กบั ผเู้ รยี นไดต้ ลอดเวลา
5.6 การจดั กิจกรรมสง่ เสริมการใฝ่รู้ คน้ หา สรา้ งสรรค์ ถ่ายทอด ปลูกฝังและเปน็ แบบอยา่ งที่ดขี องผเู้ รยี น 5.7 การทมุ่ เทเสยี สละในการจัดการเรียนรูใ้ ห้กบั ผเู้ รียน
จิตสานักความรบั ผิดชอบในวิชาชีพครู 6.1 การมเี จตคตเิ ชงิ บวกกับวชิ าชีพครู 6.2 การมุ่งมั่นท่มุ เทในการสร้างสรรค์ นวตั กรรมใหม่ๆ เพื่อให้เกดิ การพฒั นาวิชาชพี และให้สังคมยอมรบั 6.3 ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนในการรักษาภาพลักษณใ์ นวชิ าชพี
6.4 การปกปอ้ ง ป้องกันมใิ หผ้ ู้รว่ มวิชาชีพประพฤติปฏบิ ตั ิในทางท่ีจะเกดิ ภาพลกั ษณ์เชิงลบตอ่ วิชาชพี 6.5 การจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การใฝ่รู้ คน้ หาสร้างสรรค์ ถ่ายทอดปลกู ฝงั และเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ขี องเพอ่ื นรว่ มงานและสงั คม
ด้านการปฏิบตั งิ าน การจดั การเรียนการสอน 1.1 การนาผลการวเิ คราะห์หลกั สตู รมาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวชว้ี ัด หรอื ผลการเรยี นรู้ มาใชใ้ นการจัดทารายวิชาและ ออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ 1.2 การออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั เพื่อให้ผ้เู รยี นมคี วามรู้ ทกั ษะ คุณลกั ษณะประจาวิชาคุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ และสมรรถนะทส่ี าคญั ตามหลกั สูตร
1.3 การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้อานวยความสะดวกในการเรยี นรู้ และสง่ เสริมการเรยี น ด้วยวิธกี ารทห่ี ลากหลายโดยเนน้ ผู้เรยี น เป็นสาคญั 1.4 การเลือกและใช้สอื่ เทคโนโลยีและแหลง่ เรียนรู้ ทส่ี อดคล้องกบั กจิ กรรมการเรียนรู้
1.5 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้วยวิธีการที่หลากหลายเหมาะสม และสอดคล้องกบั ตวั ชว้ี ดั และจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1.6 คุณภาพผเู้ รียน 1) ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผู้เรยี น 2) คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผ้เู รียน
การบริหารจดั การชัน้ เรียน 2.1 การจดั บรรยากาศท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ กระบวนการคดิ ทกั ษะชวี ติ และพฒั นาผู้เรยี น
2.2 การดาเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลอื ผู้เรยี น โดยมีการศกึ ษาและรวบรวมข้อมลู ผ้เู รยี นรายบุคคลเพื่อแกป้ ัญหาและพฒั นา ผเู้ รยี น 2.3 การอบรมบม่ นิสยั ให้ผ้เู รียนมคี ุณธรรมจรยิ ธรรม คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ และค่านิยมท่ีดีงาม
การพฒั นาตนเอง 3.1 การพัฒนาตนเองเพ่ือให้มคี วามรู้ ความสามารถ ทักษะด้วยวิธกี ารตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสม 3.2 การมสี ่วนรว่ มในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การทางานเปน็ ทีม 4.1 หลักการทางานเปน็ ทมี 4.2 การพัฒนาทีมงาน
งานกิจกรรมตามภารกิจบริหารงานของสถานศึกษา มีความร้คู วามเขา้ ใจภาระงานของสถานศึกษาเกย่ี วกบั งานบริหารท่วั ไปหรอื งานบริหารวชิ าการ หรอื งานกิจการนกั เรยี น หรอื งานบริหารงบประมาณหรอื งานบริหารทรพั ยากรบคุ คลและมีสว่ นร่วมปฏิบตั งิ านทไ่ี ด้รับมอบหมาย ได้อยา่ งเหมาะสม
การใช้ภาษาและเทคโนโลยี สามารถใชภ้ าษาและเทคโนโลยใี นการปฏิบตั งิ านตามหนา้ ที่และความรบั ผิดชอบ
ขอขอบพระคุณคณะกรรมการการประเมินทกุ ทา่ น
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: