Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความเรื่องกระบวนการ

บทความเรื่องกระบวนการ

Published by Krudarasak, 2020-04-27 22:07:10

Description: บทความเรื่องกระบวนการ-ตอนที่-1

Search

Read the Text Version

ปีท่ี 46 ฉบับท่ี 209 พฤศจกิ ายน - ธันวาคม 2560 ก(หFับอ้lกipงาpรเรeสีdยอนนCคกlณaลsติ sบั ศroดาoสา้ mตนร)์ การเรียนร้เู ร่ืองวงจรไฟฟ้า ผ่านกิจกรรม “ทา้ ประลอง...วงจรต๊กุ ตาวดั ตัวน�ำไฟฟ้า” การใช้กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เพื่อเสริมสรา้ งความคิดสรา้ งสรรค์ และทักษะการแกป้ ญั หา ตอนที่ 1 การออกแบบวิจัยปฏิบตั ิการในช้ันเรยี น: แบบวิจยั เชิงผสมวิธี

สธุ ิดา การีมี • นักวิชาการ สาขาเทคโนโลยี สสวท. • e-mail: [email protected] รอบรูเ้ ทคโนโลยี กเพา่อืรใเสช้รกิมรสะบรว้างนคกวาารมอคอิดกสแบรา้บงเชสิงรวรศิคว์ กรรม และทกั ษะการแกป้ ัญหา ตอนท่ี 1 เยาวชนไทยในยุคปัจจุบันยังขาดการฝึกฝน ศาสตรห์ ลายดา้ นเชน่ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และดา้ นคณติ ศาสตร์ ทักษะทางด้านการคิดไม่ว่าจะเป็นการคิดสร้างสรรค์เพ่ือ เพ่ือประกอบการด�ำเนินการแต่ละขั้นตอนของกระบวนการ แกป้ ัญหา การคิดสังเคราะห์จากสถานการณ์ปญั หาทพ่ี บ แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการจนได้สิ่งของเคร่ืองใช้ การฝึกฝนอย่างถูกต้องและสม่�ำเสมอจะช่วยให้ผู้เรียน หรือวิธีการ และในบางครั้งสิ่งของเคร่อื งใช้หรอื วิธกี ารเหลา่ นี้ สามารถคดิ คน้ หาวธิ กี ารหรอื แนวทางทห่ี ลากหลายภายใต้ สามารถพฒั นาการใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ไดอ้ ีกด้วย กรอบเงื่อนไขของสถานการณ์หรือปัญหาจนสามารถน�ำ แนวทางหรือวิธีการนั้นมาใช้ในการแก้ปัญหาหรือสนอง ความต้องการในชีวิตประจ�ำวันได้ สาเหตุประการหนึ่งที่ ผู้เรียนขาดการฝึกทักษะในการคิดคือการจัดการเรียนรู้ บางรูปแบบท่ีไม่ได้เน้นให้ผู้เรียนฝึกทักษะการคิด สร้างสรรค์และการคิดสังเคราะห์เพ่ือน�ำไปสู่ทักษะ การแก้ปัญหาส่งผลให้ผู้เรียนไม่มีแรงกระตุ้นในการคิด ไม่สามารถคิดค้นประดิษฐ์ส่ิงใหม่ๆ หรือสามารถคิดหา วธิ กี ารมาแก้ปัญหาหรือสนองความตอ้ งการได้ 1. กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม (Engineering Design Process) ดังนั้น การจัดการเรียนรู้รูปแบบหน่ึงท่ีจะช่วย ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะในการคิดสร้างสรรค์และทักษะ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเป็นขั้นตอน การแกป้ ญั หา คอื การจดั การเรยี นรตู้ ามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา ทนี่ �ำมาใชใ้ นด�ำเนนิ การเพอ่ื แกป้ ญั หาหรอื สนองความตอ้ งการ โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม แต่ละขั้นตอน ซ่ึงกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมจะเริ่มโดยการระบุ ของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมจะช่วยให้ผู้เรียนฝึก ปัญหาที่พบแล้วก�ำหนดเป็นปัญหาที่ต้องการแก้ไข จากนั้น การคดิ สรา้ งสรรค์ และการคดิ เชิงสงั เคราะห์จากสถานการณ์ จึงค้นหาแนวคิดที่เก่ียวข้องและวิเคราะห์เพ่ือเลือกวิธีการ ที่พบเห็นเพื่อน�ำมารวบรวมและกลั่นกรองข้อมูลจนได้ ที่เหมาะสมส�ำหรับการแก้ไข เมื่อได้วิธีการที่เหมาะสมแล้ว ข้อมูลท่ีสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ตลอดจนมีการถ่ายทอด จึงท�ำการวางแผนและพัฒนาสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการ ความคิดเพ่ืออธิบายและส่ือสารแนวคิดให้ผู้อื่นเข้าใจ เม่ือได้สร้างชิ้นงานหรือวิธีการเรียบร้อยแล้วจึงน�ำไปทดสอบ โดยแนวคิดที่เกิดจากการด�ำเนินการตามข้ันตอนของ ถ้ามีข้อบกพร่องให้ท�ำการปรับปรุงแก้ไขเพ่ือให้สิ่งของ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมแต่ละข้ันเป็นส่วนหนึ่ง เครื่องใช้หรือวิธีการนั้นสามารถใช้แก้ไขปัญหาหรือสนอง ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละทกั ษะการแกป้ ญั หาของ ความต้องการได้ และในตอนท้ายจะประเมินผลว่าส่ิงของ ผู้เรียนแต่ละบุคคล นอกจากนี้การใช้กระบวนการออกแบบ เคร่ืองใช้หรือวิธีการน้ันสามารถใช้แก้ปัญหาหรือสนอง เชิงวิศวกรรมในการด�ำเนินการยังมีการใช้องค์ความรู้จาก ความตอ้ งการไดต้ ามท่ีก�ำหนดไวห้ รือไม่ 23 ปที ี่ 46 ฉบับที่ 209 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมจึงประกอบด้วย 6 ข้นั ตอน ดงั นี้ ระบุ ปั ญหา (Problem Identification) นำ� เสนอวธิ ีการแกป้ ัญหา รวบเรกว่ียมวขขอ้ อ้ มงูลกแบั ลปะัญแนหวาคดิ ท่ี ผลการแกป้ ัญหาหรอื ช้ินงาน (Related Information Search) (Presentation) ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไข ออกแบบวิธกี ารแกป้ ัญหา วิธีการแก้ปัญหาหรอื ช้ินงาน (Solution Design) (Testing, Evaluation and Design วางแผนและดำ� เนินการแกป้ ัญหา Improvement) (Planning and Development) ขัน้ ท่ี 1 ระบุปัญหา (Problem Identification) ขัน้ ท่ี 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคิดท่ีเก่ียวข้องกับปั ญหา เป็นขั้นตอนท่ผี ู้แก้ปัญหาท�ำความเข้าใจในส่ิงทีพ่ บ (Related Information Search) เปน็ ปญั หาในชวี ติ ประจ�ำวนั ซงึ่ สามารถใชท้ กั ษะการตงั้ ค�ำถาม ขนั้ ตอนนเ้ี ปน็ การรวบรวมขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ปญั หา ดว้ ยหลกั 5W1H เมอ่ื เกดิ ปญั หาหรอื ความตอ้ งการค�ำถามจาก หรือความต้องการ เพื่อหาวิธีการท่ีหลากหลายส�ำหรับใช้ใน หลกั 5W1H ซง่ึ ประกอบด้วย การแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการที่ก�ำหนดไว้ในข้ันท่ี 1 Who เปน็ การตงั้ ค�ำถามทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั บคุ คลปญั หา โดยการค้นหาและรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น หรือความตอ้ งการ สอบถามจากผรู้ ู้ สบื คน้ หรอื ส�ำรวจจากสอ่ื และแหลง่ เรยี นรตู้ า่ งๆ What เป็นการตั้งค�ำถามว่าอะไรคือปัญหาหรือ ซึ่งการค้นหาแนวคิดท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหานี้จะเป็นการศึกษา ความตอ้ งการจากสถานการณน์ ้ันๆ องคค์ วามรทู้ ง้ั วทิ ยาศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ รวมทง้ั ศาสตรอ์ น่ื ๆ When เป็นการตั้งค�ำถามเกี่ยวกับปัญหาหรือ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง จากนน้ั น�ำขอ้ มลู ทรี่ วบรวมไดม้ าวเิ คราะหแ์ ลว้ สรปุ ความตอ้ งการของสถานการณ์นัน้ ว่าจะเกดิ ขึน้ เม่ือใด เปน็ สารสนเทศและวธิ กี ารแกป้ ญั หาหรอื สนองความตอ้ งการ Where เปน็ การตงั้ ค�ำถามปญั หาหรอื ความตอ้ งการ โดยวธิ กี ารแกป้ ญั หาหรอื สนองความตอ้ งการอาจมไี ดม้ ากกวา่ ของสถานการณน์ ้ันว่าจะเกิดข้ึนทไี่ หน หนึ่งวิธีจากน้ันจึงพิจารณาและเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือ Why เป็นการตั้งค�ำถามเพ่ือวิเคราะห์สาเหตุว่า สนองความต้องการท่ีเหมาะสมและสอดคล้องกับปัญหา ท�ำไมถงึ เกดิ ปญั หาหรอื ความต้องการ หรอื ความตอ้ งการในประเดน็ ตา่ งๆเชน่ ขอ้ ดีขอ้ เสยี ความสอดคลอ้ ง How เป็นการต้ังค�ำถามเพื่อวิเคราะห์หาแนวทาง และการน�ำไปใชไ้ ดจ้ รงิ ของวธิ กี ารแตล่ ะวธิ ี ดงั นน้ั วธิ กี ารทจ่ี ะถกู หรอื วธิ กี ารแกป้ ญั หานนั้ วา่ จะสามารถท�ำไดด้ ว้ ยวธิ กี ารอยา่ งไร พจิ ารณาคดั เลอื กจะอยภู่ ายใตก้ รอบของปญั หาหรอื ความตอ้ งการ มาเปน็ ขอ้ มลู ประกอบการตัดสินใจเลือก นิตยสาร สสวท 24

ขนั้ ท่ี 3 ออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา (Solution Design) คณติ ศาสตร์ รวมทั้งศาสตรอ์ ื่นๆ ที่ไดจ้ ากการค้นคว้าเพ่ือน�ำ เป็นข้ันตอนของการออกแบบช้ินงานหรือวิธีการ มาใช้ในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการตาม โดยการประยุกต์ใช้ข้อมูลท่ีได้จากการรวบรวมในขั้นท่ี 2 กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม ซ่ึงข้ันตอนน้ีจะช่วยส่ือสารแนวคิดของการแก้ปัญหาให้ผู้อื่น สรุปได้ว่า การใช้กระบวนการออกแบบเชิง เขา้ ใจโดยผา่ นวธิ ีการตา่ งๆ เชน่ การรา่ งภาพ และการอธบิ าย วิศวกรรมเป็นเคร่ืองมือช่วยในการจัดการเรียนการสอน เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาการเรียนรู้ของเยาวชนจะช่วย ขัน้ ท่ี 4 วางแผนและด�ำเนนิ การแกป้ ัญหา (Planning and ให้เยาวชนได้มีการฝึกทักษะในการคิดอย่างเป็นขั้นตอน Development) ซงึ่ เปน็ การตอ่ ยอดความรทู้ ม่ี อี ยเู่ ดมิ ใหข้ ยายไปจนเกดิ มมุ มอง เปน็ ขนั้ ตอนการวางล�ำดบั ขนั้ ตอนการสรา้ งชนิ้ งาน ใหม่ๆ ในการแก้ปัญหาน้ันๆ ได้อย่างครบถ้วนและถูกต้อง หรือวิธีการ จากน้ันจึงลงมือสร้างหรือพัฒนาชิ้นงานหรือ จนน�ำไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือวิธีการท่ีมีความสามารถ วธิ ีการ เพื่อน�ำผลลัพธท์ ีไ่ ดไ้ ปใชใ้ นขั้นตอนตอ่ ไป น�ำไปแข่งขันในเชิงธุรกิจ และเป็นการเพิ่มความสามารถ ทางปัญญาของเยาวชนไทยซ่ึงเป็นก�ำลังในการพัฒนา ขนั้ ท่ี 5 ทดสอบ ประเมนิ ผลและปรบั ปรุงแกไ้ ขวธิ กี ารแกป้ ัญหา ประเทศชาติต่อไปในอนาคต หรอื ชิ้นงาน (Testing, Evaluation and Design Improvement) เปน็ ขน้ั ตอนของการตรวจสอบและประเมนิ ชน้ิ งาน วิธีการที่สร้างขึ้นว่า สามารถท�ำงานหรือใช้ในการแก้ปัญหา หรือสนองความต้องการได้หรือไม่ มีข้อบกพร่องอย่างไร และควรปรบั ปรงุ แกไ้ ขชน้ิ งานหรอื แบบจ�ำลองวธิ กี ารในสว่ นใด ควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไร แล้วจึงด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไข ในส่วนนั้นจนได้ช้ินงานวิธีการท่ีสอดคล้องตามรูปแบบ ทีอ่ อกแบบไว้ ขนั้ ท่ี 6 น�ำเสนอวธิ กี ารแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือ 2. ความคดิ สรา้ งสรรค์ (Creative Thinking) ชิ้นงาน (Presentation) ความคิดสร้างสรรค์เป็นความคิดท่ีอาจเกิด เป็นข้ันตอนของการคิดวิธีการน�ำเสนอข้อมูลที่ ขึ้นมาจากจินตนาการของแต่ละบุคคล ความคิดหรือ เก่ียวข้องกับชิ้นงานหรือวิธีการที่สร้างข้ึนมาเพื่อแก้ปัญหา จินตนาการนี้มีความเกี่ยวข้องกับความรู้เดิมของตนเอง หรอื สนองความต้องการ ซง่ึ ความคดิ สรา้ งสรรคน์ ไี้ ดม้ ผี ใู้ หน้ ยิ ามไวม้ ากมายอาทเิ ชน่ จากที่กล่าวมาข้างต้นกระบวนการออกแบบเชิง กิลฟอร์ด (Guilford. 1959: 389) กล่าวว่า วิศวกรรม 6 ขั้นตอน เป็นแนวคิดท่ีสามารถน�ำมาใช้ใน ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถทางสมองเป็น การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนได้โดยผู้สอนสามารถ ความสามารถที่จะคิดได้กว้างไกลหลายทิศทางหรือ พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยน�ำกระบวนการออกแบบ ที่เรียกว่าแบบอเนกนัย (Divergent thinking) ซ่งึ ลกั ษณะ เชิงวิศวกรรมข้ันที่ 1 ระบุปัญหามาเป็นส่วนของขั้นน�ำของ ความคิดเช่นน้ี จะน�ำไปสู่การคิดประดิษฐ์แปลกใหม่ การจัดการเรียนรู้ซ่ึงเป็นการก�ำหนดสถานการณ์ปัญหาให้ รวมถึงการค้นพบวิธีการแก้ปัญหาได้ส�ำเร็จอีกด้วย และ ผ้เู รยี น เพือ่ ทีผ่ ูเ้ รียนจะไดท้ �ำการวเิ คราะหเ์ พือ่ ก�ำหนดปญั หา ความคิดสรา้ งสรรคน์ ้ีประกอบดว้ ยความคลอ่ ง (Fluency) หรือความต้องการจากสถานการณ์น้ัน ส�ำหรับข้ันท่ี 2 ถึง ความยดื หยุ่น (Flexibility) และความคดิ รเิ ร่มิ (Originality) ข้ันที่ 6 ของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมสามารถจัด อยู่ในส่วนของขั้นพัฒนาผู้เรียน ส่วนข้ันสรุปของการเรียน เป็นการสรุปร่วมกันถึงองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ 25 ปีท่ี 46 ฉบบั ที่ 209 พฤศจกิ ายน - ธันวาคม 2560

คนที่จะคิดลักษณะดังกล่าวได้จะต้องเป็นคนกล้าคิด ไม่กลัว 3. ความยดื หยนุ่ (Flexibility) เปน็ การคดิ หาค�ำตอบ ถกู วพิ ากษว์ จิ ารณแ์ ละมอี ิสระในการคดิ ได้หลายประเภทและสามารถดัดแปลงจากส่ิงหน่ึงไปเป็น ออสบอร์น (Osborn. 1957: 23) กลา่ ววา่ ความคดิ ส่ิงอ่ืนได้ สร้างสรรค์เป็นจินตนาการประยุกต์ (Applied Imagination) 4. ความละเอียดลออ (Elaboration) เป็นการคดิ คือเป็นจินตนาการท่ีมนุษย์สร้างข้ึนเพื่อแก้ปัญหายุ่งยาก ในรายละเอยี ดเพอื่ ตกแตง่ หรอื ขยายความคดิ หลกั ใหส้ มบรู ณ์ ท่ีมนุษย์ประสบ มิใช่เป็นจินตนาการที่ฟุ้งซ่านเลื่อนลอย ย่ิงขึ้น โดยท่ัวไปความคิดจินตนาการจึงเป็นลักษณะส�ำคัญของ ดังนั้น ในการจัดการเรียนรู้เพื่อฝึกและส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์ในการน�ำไปสู่ผลผลิตท่ีแปลกใหม่และ ให้ผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์อาจจ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึง เป็นประโยชน์ องค์ประกอบต่างๆ ได้แก่ ผู้สอน ผ้เู รยี น และการออกแบบ ทอรแ์ รนซ์ (Torrance. 1971: 211) กลา่ ววา่ ความคดิ การเรียนรู้โดยแต่ละองค์ประกอบจะต้องส่งเสริมและมี สรา้ งสรรคค์ อื ปรากฏการณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ไดโ้ ดยไมม่ ขี อบเขตจ�ำกดั ความสัมพันธ์กันดังนี้ บคุ คลสามารถมคี วามคดิ สรา้ งสรรคใ์ นหลายแบบและผลของ 1. ผู้สอน ต้องท�ำหน้าท่ีในการออกแบบและ ความคดิ สรา้ งสรรคท์ เ่ี กดิ ขนึ้ นน้ั มมี ากมายไมม่ ขี อ้ จ�ำกดั เชน่ กนั จัดการเรียนรู้ท่ีเอื้อต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด สร้างสรรค์ โดยผู้สอนจะต้องค�ำนึงถึงลีลาการเรียนรู้ของ จากนิยามดังกล่าวข้างต้นความคิดสร้างสรรค์ ผู้เรียน (Learning Styles) เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ จึงเป็นความสามารถในการคิดของมนุษย์ที่มีการคิด และใช้ความรู้ที่มีอยู่ผสมผสานกับองค์ความรู้ใหม่จนน�ำไปสู่ ในหลายแง่มุมที่เก่ียวข้องกับสถานการณ์ต่างๆ จนน�ำไปสู่ การพฒั นาความคดิ สร้างสรรค์ในการแก้ปัญหา รวมทง้ั การที่ การคดิ ประดษิ ฐส์ ง่ิ ของเครอื่ งใชห้ รอื วธิ กี ารใหมๆ่ โดยความคดิ ผู้สอนต้องสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ที่จะช่วยส่งเสริมให้ สร้างสรรคอ์ าจแบง่ ไดเ้ ปน็ 4 ลักษณะดังนี้ ผ้เู รียนมีความคดิ สรา้ งสรรค์ 1. ความรเิ ริม่ (Originality) เปน็ การคิดแปลกใหม่ 2. ผู้เรียน เป็นผู้ท่ีจะได้รับการพัฒนาให้สามารถ แตกต่างไปจากความคิดเดิม คิดสร้างสรรค์ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ของผู้สอน 2. ความคลอ่ ง (Fluency) เป็นการคิดหาค�ำตอบ ซง่ึ ผเู้ รยี นจะมที ศั นคตทิ ต่ี อ้ งการฝกึ พฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์ ได้อย่างคล่องแคลว่ รวดเร็ว และมีปริมาณมากในเวลาจ�ำกัด หรือไม่นั้นข้ึนอยู่กับการที่ผู้สอนเลือกวิธีการท่ีใช้ฝึกปฏิบัติ ไดถ้ กู ตอ้ งและเหมาะสมส�ำหรับผ้เู รยี น นิตยสาร สสวท 26

3. การออกแบบการเรียนรู้ เป็นการที่ผู้สอน คัดเลือกรูปแบบวิธีการสอนท่ีจะช่วยพัฒนาความคิด สร้างสรรค์ของผู้เรียนไม่ว่าจะเป็นการใช้วิธีการต้ังค�ำถาม เพ่ือส่งเสริมและฝึกความคิดสร้างสรรค์ให้ผู้เรียนศึกษา และฝึกแก้ปัญหาจากสถานการณ์จ�ำลองการให้ผู้เรียน ได้ฝึกสังเกตสิ่งต่างๆ ท่ีอยู่รอบตัวของผู้เรียน ซึ่งการฝึก ด้วยตัวอย่างวิธีการดังกล่าวข้างต้นจะเป็นสิ่งที่ช่วยส่งเสริม ใหผ้ ู้เรียนไดพ้ ัฒนาความคิดสร้างสรรค์ โดยองค์ประกอบดังกล่าวข้างต้นนี้อาจน�ำมาใช้ พิจารณาร่วมในการเลือกรูปแบบวิธีการสอนซ่ึงจะช่วยให้ ผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์ด้วย ในตอนต่อไปจะเป็น ก า ร น�ำ เ ส น อ ทั ก ษ ะ ด ้ า น อ่ื น ท่ี จ ะ เ กิ ด ข้ึ น เ มื่ อ ผู ้ ส อ น ใ ช ้ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเป็นแนวการด�ำเนิน กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการเรียนรู้ และทกั ษะของเยาวชน บรรณานุกรม Clinton, Gregory & Hokanson, Brad. (February 2012), Creativity in the training and practice of instructional designers: the Design/Creativity Loops model. Educational Technology Research and Development, 60(1), 111–130. Middleton, Howard. (2005). Creative Thinking, Values and Design and Technology Education. International Journal of Technology and Design Education, 15, 61–71. ชาญณรงค์ พรรงุ่ โรจน.์ (2546). ความคดิ สรา้ งสรรค.์ กรงุ เทพมหานคร: ส�ำนกั พมิ พจ์ ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . วรภทั ธ์ ภเู่ จรญิ . (2550). คดิ อยา่ งเปน็ ระบบและเทคนคิ การแกป้ ญั หา. กรงุ เทพมหานคร: หจก.สามลดา. ศนู ยส์ ะเตม็ ศกึ ษาแหง่ ชาต.ิ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2557). สะเตม็ ศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร: สถาบนั สง่ เสรมิ การสอน วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2557). ความรเู้ บอ้ื งตน้ สะเตม็ . กรงุ เทพมหานคร: สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลย.ี ส�ำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต.ิ (2560). แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ.2560-2564). สบื คน้ เมอ่ื 15 กนั ยายน 2560, จาก http://www.nesdb.go.th/ewt_news.php?nid=6420. ส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั นครราชสมี า. ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ. หนงั สือเรียนรายวิชาเลือกสาระทักษะการเรยี นรวู้ ชิ า แก้ปญั หาดว้ ยกระบวนการคดิ เปน็ (ทร 23021) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551. 2559. สบื คน้ เมอ่ื 7 มกราคม 2559, จาก http://202.143.165.163/ebook_think/. สรุ เชษฐ์ ไชยอปุ ละ. ความคดิ สรา้ งสรรคก์ บั กระบวนการเทคโนโลย.ี เอกสารประกอบ “การประชมุ เสวนาวชิ าการเรอื่ ง ความคดิ สรา้ งสรรคก์ บั การออกแบบและเทคโนโลย”ี . กรงุ เทพมหานคร. สรุ เชษฐ์ ไชยอปุ ละ. ความคดิ สรา้ งสรรคก์ บั การออกแบบและเทคโนโลย.ี เอกสารประกอบ “การประชมุ เสวนาวชิ าการเรอื่ ง ความคดิ สรา้ งสรรคก์ บั การออกแบบและเทคโนโลย”ี . กรงุ เทพมหานคร. 27 ปีที่ 46 ฉบบั ท่ี 209 พฤศจกิ ายน - ธันวาคม 2560


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook