Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อารยธรรมอียิป

อารยธรรมอียิป

Published by Arinchaya Rungrueang, 2023-02-27 17:02:47

Description: อารยธรรมอียิป

Search

Read the Text Version

ที่ตงั้ ทางภมู ิศาสตร์ อา ร ย ธ ร ร ม ลุ่ ม แ ม่น้ า ไ น ล์ห รือ อ า ร ย ธ ร ร ม อียิป ต์โ บ ร า ณ ก่ อ ก า เ นิ ด บรเิ วณดนิ แดนสองฝัง่ แมน่ ้าไนล์ ตงั้ แต่ปากแมน่ ้าไนลจ์ นไปถงึ ตอนเหนือของ ประเทศซดู านในปัจจุบนั ทศิ เหนือ ตดิ กบั ทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนียนและคาบสมทุ รไซนาย ทศิ ตะวนั ตก ตดิ กบั ทะเลทรายลเิ บยี และทะเลทรายซาฮารา ทศิ ตะวนั ออกและทศิ ใต้ ตดิ กบั ทะเลทรายนูเบยี และทะเลแดง จากสภาพภูมอิ ากาศดงั กล่าวจะเหน็ ว่า บรเิ วณลุ่มแม่น้าไนล์เปรยี บเสมอื น โอเอซสิ ท่ามกลางทะเลทราย จงึ เป็นปราการธรรมชาตปิ ้องกนั การรกุ รานจาก ภายนอกได้

ที่ตงั้ ทางภมู ิศาสตร์ (ต่อ) สภาพภูมปิ ระเทศของลมุ่ แมน่ ้าไนลก์ อ่ นทจ่ี ะรวมเป็นปึกแผน่ ไดแ้ บง่ ออกเป็นบรเิ วณลมุ่ น้าออกเป็น 2 สว่ น ไดแ้ ก่ สว่ นทเ่ี ป็นบรเิ วณอยี ปิ ตล์ า่ ง (Lower Egypt) อยบู่ รเิ วณท่ี ราบลุม่ ปากแมน่ ้าไนล์ ซง่ึ เป็นบรเิ วณทแ่ี มน่ ้าไนลแ์ ยก เป็นแมน่ ้าสาขาทม่ี ลี กั ษณะเป็นรปู พดั แลว้ ไหลลง ทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น ชาวกรกี โบราณเรยี กบรเิ วณน้วี า่ เดลตา และบรเิ วณอยี ปิ ตบ์ น (Upper Egypt) ไดแ้ ก่ บรเิ วณทแ่ี มน่ ้าไนลไ์ หลผา่ น หบุ เขา เป็นทร่ี าบแคบ ๆ ขนาบดว้ ยหน้าผาทล่ี าดกวา้ งใหญ่ ถดั จากหน้าผา คอื ทะเลทราย ต่อมาเมเนส (Menes) ประมขุ แหง่ อยี ปิ ต์ ลา่ งจงึ ไดร้ วมดนิ แดนทงั้ สองเขา้ ดว้ ยกนั

ปัจจยั ท่ีส่งผลต่อการเกิดอารยธรรมล่มุ น้าไนล์  ท่ีตงั้ เน่ืองจากหมิ ะละลายในเขตท่รี าบสูงเอธโิ อเปีย ทาใหบ้ รเิ วณแม่น้า ไนลม์ ดี นิ ตะกอนมาทบั ถมจงึ เป็นพน้ื ทม่ี คี วามอดุ มสมบรู ณ์ มคี วามไดเ้ ปรยี บทางธรรมชาติ เน่ืองจากประเทศอยี ปิ ต์เป็นดินแดน ท่ีล้อมรอบด้วยทะเลทรายทาให้มีปราการธรรมชาติในการป้องกันศัต รู ภายนอก

ปัจจยั ท่ีส่งผลต่อการเกิดอารยธรรมล่มุ น้าไนล์ (ต่อ)  ทรพั ยากรธรรมชาติ แมอ้ ยี ปิ ต์จะแหง้ แลง้ แต่สองฝัง่ แม่น้าไนล์กป็ ระกอบด้วยหนิ แกรนิต และหนิ ทราย ซง่ึ ใชก้ ่อสรา้ งและพฒั นาความเจรญิ รุ่งเรอื งดา้ นสถาปัตยกรรม วัสดุเหล่าน้ี มีความแข็งแรงคงทนแข็งแรงและช่วยรักษามรดก ทางด้า น อารยธรรมของอยี ปิ ตใ์ หป้ รากฏแกช่ าวโลกมาจนกระทงั่ ปัจจุบนั

ปัจจยั ที่ส่งผลต่อการเกิดอารยธรรมล่มุ น้าไนล์ (ต่อ)  ระบบการปกครอง ชาวอยี ปิ ต์ยอมรบั อานาจและเคารพนับถอื กษตั รยิ ฟ์ าโรหด์ ุจเทพเจา้ องคห์ น่ึง จงึ มอี านาจในการปกครองและบรหิ ารอย่างเตม็ ท่ที งั้ ด้านการเมอื ง และศาสนา โดยมขี ุนนางเป็นผูช้ ่วยในการปกครอง และพระเป็นผูช้ ่วยดา้ น ศาสนา ซ่ึงการท่ีพาโรห์มีอานาจเด็ดขาดทาให้อียิปต์สามารถพัฒนา อารยธรรมของตนไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี

ปัจจยั ที่ส่งผลต่อการเกิดอารยธรรมล่มุ น้าไนล์ (ต่อ)  ภมู ิปัญญาของชาวอียิปต์ ชาวอยี ปิ ต์สามารถคดิ ค้นเทคโนโลยแี ละวทิ ยาการความเจรญิ ด้าน ต่างๆเพ่อื ตอบสนองการดาเนินชวี ติ ความเช่อื ทางศาสนาและการสรา้ งความ เจรญิ รุ่งเรอื งใหแ้ ก่อยี ปิ ต์ เช่น ความรทู้ างคณิตศาสตร์ เรขาคณิต และฟิสกิ ส์ ไดส้ ง่ เสรมิ ความเจรญิ ในดา้ นการกอ่ สรา้ งและสถาปัตยกรรม เป็นตน้

สมยั อาณาจกั รอียิปต์  สมยั อาณาจกั รเก่า มคี วามเจรญิ ในช่วงประมาณปี 2,700 – 2,200 ก่อน ครสิ ต์ศกั ราช เป็นสมยั ท่อี ยี ปิ ต์มคี วามเจรญิ ก้าวหน้าในดา้ นวทิ ยาศาสตร์และ ศลิ ปกรรม มกี ารกอ่ สรา้ งพรี ะมดิ ซง่ึ ถอื วา่ เป็นเอกลกั ษณ์โดดเด่นของอารยธรรม อยี ปิ ต์  ส มัย อ า ณ า จัก ร ก ล า ง ฟ า โ ร ห์มีอ า น า จ ป ก ค ร อ ง อ ยู่ใ น ช่ ว ง ร า ว ปี 2050 – 1652 ก่อนครสิ ตศ์ กั ราช ในสมยั น้ีอยี ปิ ตม์ คี วามเจรญิ กา้ วหน้าทางดา้ น ทางวทิ ยาการและภูมปิ ัญญามากโดยเฉพาะดา้ นการชลประทาน จงึ ไดร้ บั การ ยกย่องว่าเป็นยุคทองของอียปิ ต์ อย่างไรก็ตาม ในช่วงปลายสมยั เกิดความ วนุ่ วายภายในประเทศ จนตา่ งชาตเิ ขา้ มารกุ รานและปกครองอยี ปิ ต์

สมยั อาณาจกั รอียิปต์ (ต่อ)  สมยั อาณาจกั รใหม่ ชาวอยี ปิ ต์สามารถขบั ไล่ชาวต่างชาติ และกลับมา ปกครองดนิ แดนของตนอกี ครงั้ หน่ึง ในชว่ งประมาณปี 1567 – 1085 ก่อน ครสิ ต์ศกั ราช สมยั น้ีฟาโรห์มีอานาจเด็ดขาดในการปกครองและขยาย อาณาเขตเหนือดนิ แดนใกลเ้ คยี งจนเป็นจกั รวรรดิ  สมยั เส่ือมอานาจ จักรวรรดิอียิปต์เร่ิมเส่ือมอานาจตัง้ แต่ประมาณ ปี 1,100 ก่อนครสิ ตศ์ กั ราช ในสมยั น้ีชาวต่างชาติ เช่น พวกอัสซเี รยี นและ พวกเปอร์เซียจากเอเชีย รวมทงั้ ชนชาติในแอฟริกาได้เข้ามายึดครอง จนกระทงั่ เสอ่ื มสลายในทส่ี ดุ

ด้านการเมืองการปกครอง  สมยั อาณาจกั รเก่า กษตั รยิ ห์ รอื ฟาโรห์ (Pharaoh) มอี านาจสงู สดุ โดยมผี ชู้ ่วย ในการปกครองคอื ขุนนาง หวั หน้าขุนนางเรยี กว่า “วเิ ซยี ร์” และมหี น่วยงาน ยอ่ ย ๆ ในการบรหิ ารประเทศ แต่ละเมอื งแต่ละหมบู่ า้ นมผี ปู้ กครองระดบั ต่าง ๆ ดแู ลเป็นลาดบั ขนั้ แตล่ ะชมุ ชนถกู เกณฑแ์ รงงานมาทางานใหแ้ กท่ างการซง่ึ สว่ น ใหญ่คอื การสรา้ งพรี ะมดิ แต่ละอาณาจกั รมอี านาจปกครองเหนือมณฑลต่าง ๆ หรอื เรยี กวา่ โนเมส ซง่ึ แต่ละโนเมสมสี ญั ลกั ษณ์แตกต่างกนั ต่อมามกี ารรวมกนั เป็นอาณาจกั รใหญ่ 2 แห่ง คอื อยี ปิ ต์บนและอยี ปิ ต์ล่าง ต่อมาทัง้ 2 อาณาจกั ร ไ ด้ถู ก ร ว ม เ ข้า ด้ว ย กัน เ กิด ร า ช ว ง ศ์ อียิป ต์ โ ด ย ป ร ะ มุ ข แ ห่ ง อียิป ต์ (เมเนสหรอื นารเ์ มอร์) ความเส่อื มของอารยธรรมสมยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์ การ สรา้ งพรี ะมดิ ขนาดใหญ่ เป็นการบนั่ ทอนเศรษฐกจิ และแรงงานของอยี ปิ ต์ ซง่ึ นา ความเสอ่ื มมาสรู่ าชวงศอ์ ยี ปิ ต์

ด้านการเมอื งการปกครอง (ต่อ)  สมยั อาณาจกั รกลาง ฟาโรห์เปล่ียนภาพลกั ษณ์จากผู้ปกครองท่ีอยู่ ห่างไกลประชาชนมาเป็นผูป้ กป้องประชาชน ลดการสร้างพรี ะมดิ แต่ ประชาชนตอ้ งตอบแทนดว้ ยการทางานสาธารณะต่าง ๆ เชน่ การระบาย น้าในบรเิ วณสามเหล่ียมปากแม่น้าเพ่อื ช่วยการเกษตร การขุดคลอง เช่อื มแมน่ ้าไนลก์ บั ทะเลแดงเพอ่ื การสะดวกในการคา้ และขนสง่

ด้านการเมอื งการปกครอง (ต่อ)  สมยั อาณาจกั รใหม่ ฟาโรหอ์ เมนโฮเตปท่ี 4 ทรงเปลย่ี นแปลงความเช่อื ในเร่อื งการนับถอื เทพเจา้ หลายองคม์ าเป็นการนับถอื เทพเจา้ องค์เดยี ว คอื เทพเจ้าแห่งดวงอาทติ ย์ ทาใหเ้ กดิ ความไม่พอใจในหมู่ขุนนางและ ประชาชน รชั กาลน้ีจงึ ตกต่า แต่เม่อื ฟาโรห์ตุตนั คาเมนขน้ึ ครองราชยจ์ งึ เปล่ียนกลบั ไปนับถือเทพเจ้าหลายองค์เช่นเดิม ตงั้ แต่ศตวรรษท่ี 11 ก่อนครสิ ต์ศกั ราช อยี ปิ ต์สญู เสยี ความเขม้ แขง็ ชนเผ่าต่าง ๆ สลบั กนั มี อานาจปกครองอียิปต์ เช่น อสั ซีเรีย ลิเบีย เปอร์เซีย สุดท้ายอียิปต์ กลายเป็นสว่ นหน่ึงของอาณาจกั รโรมนั

ด้านการเมืองการปกครอง (ต่อ) ภาพแสดง ลกั ษณะ การปกครอง และสภาพ ชนชนั้ ของ อียิปต์

ด้านเศรษฐกิจ อาชพี หลกั ของชาวอยี ปิ ต์ คอื เกษตรกรรม เพราะวา่ ดนิ อดุ มสมบูรณ์ ทาใหผ้ ลติ อาหารเกนิ ความต้องการ การผลติ ทางการเกษตรทเ่ี ป็นหลักของ อยี ปิ ต์ คอื ขา้ วสาลี บารเ์ ลย์ ขา้ วฟ่าง ถวั่ ฝักยาว ถวั่ ผกั และผลไม้ และต่อมา ชวี ติ ท่มี งั่ คงั่ และฟุ่มเฟือยของบางคนนาไปสู่การพฒั นางานหัตถกรรมและ อุตสาหกรรม บางส่วนทอผ้า บางส่วนผลิตเคร่อื งตกแต่ง หม้อ ลินิน และ อญั มณี เหลก็ และทองแดงมกี ารถลุง นามาใชใ้ นการทาเคร่อื งมอื แก้ว และ เคร่อื งปัน้ ดนิ เผา มกี ารผลติ ทงั้ แบบเรยี บ ๆ และวาด ทงั้ ยงั มวี ิศวกร จติ รกร ประตมิ ากร และสถาปนิกอกี ดว้ ย

ด้านเศรษฐกิจ (ต่อ) ภาพการประกอบอาชีพของชาวอียิปต์

ด้านเศรษฐกิจ (ต่อ) ภาพแสดงการติดต่อค้าขายกบั ต่างประเทศ (สงั เกตจากลกั ษณะสีผิวและการแต่งกาย)

ด้านสงั คม เป็นสงั คมแบบลาดบั ชนั้ ผู้ปกครองสูงสุด คือ ฟาโรห์ และชนชนั้ ปกครองอ่นื ๆ คอื ขนุ นางและนกั บวช ชนชนั้ รองลงมาคอื พอ่ คา้ และช่างฝีมอื ชนชนั้ ล่าง คอื ชาวนา และทาส ซ่งึ เป็นคนส่วนใหญ่ ท่ดี นิ ทงั้ หมดเป็นของ ฟาโรห์ สาหรบั ขุนนางและนักบวชก็ไดค้ รอบครองท่ดี นิ จานวนมาก ชาวนา อาศยั อยใู่ นหมบู่ า้ นหรอื เมอื งเลก็ ๆ และเสยี ภาษเี ป็นผลผลติ ใหฟ้ าโรห์ ขนุ นาง และพระ รวมทงั้ ต้องถูกเกณฑแ์ รงงานไปทางานใหร้ ฐั และเป็นทหารสตรมี ี บทบาทสูงไม่น้อยกว่าผู้ชาย คือ ให้สถานภาพแก่สตรีสูง ยอมให้สตรีข้นึ ครองราชบลั ลงั กไ์ ด้ มสี ทิ ธใิ นการมที รพั ยส์ นิ และมรดก ราชนิ ีท่ีมชี ่อื เสยี งของ อียิปต์ คือ แฮตเชพซุต (Hatchepsut) ซ่ึงปกครองในศตวรรษท่ี 15 ก่อน ครสิ ตศ์ กั ราช และทาความงดงามใหก้ บั เมอื งคารน์ กั

ด้านสงั คม (ต่อ) ชาวอยี ปิ ต์ไม่ยอมใหช้ ายแต่งงานกบั สตรเี ป็นภรรยามากกว่า 1 คน แม้ว่าการมเี มยี น้อยเป็นเร่อื ง ปกติและยอมรบั ทวั่ ไป ลกั ษณะท่ีแปลกของ ระเบยี บสงั คมน้ี คอื ชอบใหพ้ ช่ี าย-น้องสาวแต่งงานกนั หรอื แต่งงานภายใน ตระกูล ฟาโรห์แต่งงานกับตระกูลของตน เพ่ือรักษาความบริสุทธิข์ อง สายเลอื ด ประเพณีน้ีไดม้ ผี อู้ ่นื นาไปใชต้ ่อมา

ด้านศาสนา ชาวอยี ปิ ต์นับถือเทพเจา้ หลายองค์ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั อานาจธรรมชาติ โดยเทพเจา้ ทไ่ี ดร้ บั การเคารพสงู สุด คอื เร หรอื รา (Re or Ra) เทพเจา้ แหง่ ดวงอาทติ ย์ และเป็นหวั หน้าแห่งเทพเจา้ ทงั้ ปวง ซ่งึ ปรากฏในหลายช่อื และ หลายรูปลกั ษณ์ เช่น ผูม้ รี ่างกายเป็นมนุษย์ มหี วั เป็นเหยย่ี ว และในรูปของ มนุษยค์ อื ฟาโรห์ ผูไ้ ดร้ บั การยกย่องว่าเป็นบุตรของเร และมเี ทพเจา้ สาคญั องคอ์ น่ื ๆ อกี เชน่ เทพเจา้ แหง่ แมน่ ้าไนลห์ รอื โอซริ สิ และยงั เป็นผพู้ ทิ กั ษ์ดวง วญิ ญาณหลงั ความตาย เทพเจา้ แหง่ พน้ื ดนิ หรอื ไอซสิ เป็นผสู้ รา้ งและชุบชวี ติ คนตาย เป็นตน้ การยกยอ่ งกษตั รยิ ใ์ หเ้ ทยี บเทา่ เทพเจา้ ทาใหส้ ถาบนั กษตั รยิ ์ มคี วามศกั ดสิ ์ ทิ ธปิ ์ ระดุจเป็นเทพเจา้ ความเช่อื น้ีมผี ลต่อการสรา้ งอารยธรรม ดงั เชน่ การสรา้ งพรี ะมดิ

ด้านภาษาและวรรณกรรม ชาวอียิปต์ได้พัฒนาระบบการเขียนท่ีเรียกว่า เฮีย โรกริฟิ ค (Hieroglyphic) เป็นคาภาษากรีก มี ความหมายว่า การจารกึ อนั ศกั ดิส์ ทิ ธิ ์ เรม่ิ ตน้ ดว้ ยการเขยี นอกั ษรภาพแสดงสญั ลกั ษณ์ต่างๆ แลว้ คอ่ ย ๆ พฒั นาขน้ึ มาเป็นรูปแบบพยญั ชนะ ในระยะแรก ชาวอียิปต์จารึกเร่ืองราวด้วยการ แกะสลกั อกั ษรไวต้ ามกาแพงและผนังของสง่ิ ก่อสรา้ ง เช่น วหิ ารและพรี ะมดิ ต่อมาจงึ คน้ พบวธิ กี ารทากระดาษจากตน้ ปาปิรสุ ทาใหม้ กี ารบนั ทกึ แพรห่ ลาย มากขน้ึ

ด้านภาษาและวรรณกรรม (ต่อ) ตวั อย่างอกั ษรภาพเฮียโรกริฟิ ค (Hieroglyphic)

ด้านศิลปวิทยาการ  ด้านดาราศาสตร์ ความรทู้ างดา้ นดาราศาสตรเ์ กดิ จากการสงั เกตปรากฏการณ์จากการเกิด น้าท่วมของแมน่ ้าไนล์ ซง่ึ ไดน้ าความรนู้ ้ีมาคานวณเป็นปฏทิ นิ แบบสรุ ยิ คตทิ แ่ี บง่ วนั ออกเป็ น 365 วันใน 1 ปี ซ่ึงมี 12 เดือน และในรอบ 1 ปี ยังแบ่งออกเป็ น 3 ฤดูกาล ท่กี าหนดตามวถิ กี ารประกอบอาชพี คอื ฤดูน้าท่วม ฤดูไถหว่าน และ ฤดเู กบ็ เกย่ี ว  ด้านคณิตศาสตร์ ความรทู้ างคณิตศาสตรแ์ ละเรขาคณติ ทอ่ี ยี ปิ ตใ์ หแ้ กช่ าวโลก เช่น การบวก ลบ และหาร และการคานวณพ้ืนท่ีวงกลม ส่ีเหล่ียม และสามเหล่ียม ความรู้ ดงั กล่าวเป็นฐานของวชิ าฟิสกิ สท์ ใ่ี ชค้ านวณในการก่อสรา้ งพรี ะมดิ วหิ าร และเสา หนิ ขนาดใหญ่

ด้านศิลปวิทยาการ (ต่อ)  ด้านการแพทย์ ชาวอียิปต์โบราณมีความรู้ทางการแพทย์สาขาทันตก รรม แพทย์ ผูเ้ ช่ยี วชาญหลายสาขา เช่น กระเพาะอาหาร และศลั ยกรรม ซ่ึงมหี ลกั ฐานการ บนั ทกึ และต่อมาถูกนาไปใชแ้ พร่หลายในทวปี ยุโรป ตลอดจนวธิ เี สรมิ ความงาม ตา่ ง ๆ เชน่ การรกั ษารว้ิ รอยเหย่ี วยน่ การใชผ้ มมนุษยท์ าวกิ ผม เป็นตน้  ด้านสถาปัตยกรรม เอกลกั ษณ์ของสถาปัตยกรรมอยี ปิ ต์ คอื พรี ะมดิ ทบ่ี รรจุศพของฟาโรห์ ซง่ึ สรา้ งขน้ึ ดว้ ยจุดประสงคท์ างศาสนาและอานาจทางการปกครอง นอกจากพรี ะมดิ แลว้ ยงั มกี ารสรา้ งวหิ ารจานวนมาก เพอ่ื บชู าเทพเจา้ ในแต่ละองค์ และเป็นสสุ าน ของกษตั รยิ ์ เชน่ วหิ ารแหง่ เมอื งคารน์ กั เป็นตน้

ด้านศิลปวิทยาการ (ต่อ) ภาพสสุ านกษตั ริยข์ องอียิปต์

ด้านศิลปวิทยาการ (ต่อ)  ด้านประติมากรรม ชาวอยี ปิ ต์สรา้ งประตมิ ากรรมไวจ้ านวนมากทงั้ ทเ่ี ป็นรูปปัน้ และภาพ สลกั ทป่ี รากฏในพรี ะมดิ และวหิ าร ภาพสลกั ส่วนใหญ่จะประดบั อยู่ในพรี ะมดิ และวหิ าร ในพรี ะมดิ มกั พบรูปปั้นของฟาโรห์และพระมเหสี รวมทงั้ เร่อื งราว วถิ ชี วี ติ ของอยี ปิ ต์ ส่วนภายในวหิ ารมกั จะเป็นรูปปัน้ สญั ลกั ษณ์ของเทพและ สตั วศ์ กั ดสิ ์ ทิ ธิ ์ เช่น สุนัข แมว เหยย่ี ว เป็นต้น และภาพสลกั ทแ่ี สดงเร่อื งราว และเหตุการณ์

ด้านศิลปวิทยาการ (ต่อ)  ด้านจิตรกรรม ผลงานดา้ นจติ รกรรมมเี ป็นจานวนมาก มกั พบในพรี ะมดิ และสุสาน ต่างๆ ภาพวาดของชาวอยี ปิ ต์ส่วนใหญ่มสี สี นั สดใส มที งั้ ภาพสญั ลกั ษณ์ของ เทพเจ้าท่ีชาวอียิปต์นับถือ พระราชกรณียกิจของฟาโรห์และสมาชิกใน ราชวงศ์ ภาพบุคคลทวั่ ไปและภาพทส่ี ะทอ้ นวถิ ชี วี ติ ของชาวอยี ปิ ต์ เช่น ภาพ การประกอบอาชพี เป็นตน้

Q&A วิเคราะห์ เปรียบเทียบลกั ษณะทางสงั คม วฒั นธรรม วิถีชีวิต คน ของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย กบั อารยธรรมอียิปต์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook