1 สรปุ สาระสาคญั เรอื่ ง:ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ ระดับครอบครัว ระดบั ชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบรหิ ารประเทศให้ดาเนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพ่ือให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควร ต่อการ กระทบใดๆ อันเกดิ จากการเปล่ียนแปลงทงั้ ภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และ ความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุกข้ันตอน และ ขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วย ความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการ เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ท้ังด้านวัตถุ สังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้ เปน็ อยา่ งดี ลกั ษณะสาคัญของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๑. เป็นวิถีการดาเนินชวี ติ ท่ีใชค้ ณุ ธรรมกากับความรู้ ๒.. เป็นการพัฒนาตัวเอง ครอบครัว องค์กร สังคม ประเทศชาติ ให้ก้าวหน้าไปพร้อมกับความสมดุล มั่นคง ยั่งยืน ๓. เป็นหลักคิดและหลักปฏิบัติเพ่ือให้คนส่วนใหญ่พอมีพอกินพอใช้ สามารถพ่ึงตนเองได้เพ่ือให้คนกับคนใน สังคม สามารถอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เพื่อให้คนกับธรรมชาติ อยู่ร่วมกันอย่างสมดุล ย่ังยืน และให้แต่ละคน ดารงตนอยา่ งมศี ักดศ์ิ รี และรากเหง้าทางวัฒนธรรม องคป์ ระกอบปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ***เศรษฐกจิ พอเพยี ง ประกอบด้วยคุณลกั ษณะ ๓ ประการ และเง่ือนไข ๒ ประการ หรอื ท่เี รยี กว่า ๓ หว่ ง ๒ เง่อื นไข คือ - ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดตี ่อความจาเป็น และเหมาะสมกับฐานะของตนเอง สงั คม สิ่งแวดล้อม รวมท้ังวฒั นธรรมในแต่ละทอ้ งถิ่น ไมม่ ากเกินไป ไมน่ ้อยเกินไปและต้องไมเ่ บยี ดเบยี นตนเองและผู้อื่น - ความมีเหตุผล หมายถึงการตัดสินใจดาเนินการเรื่องต่าง ๆ อย่างมีเหตุผลตามหลักวิชาการ หลักกฎหมาย หลักศีลธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมท่ีดีงาม โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลท่ี คาดวา่ จะเกดิ ขนึ้ จากการกระทานัน้ ๆ อยา่ งรอบรู้และรอบคอบ - ระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี หมายถึงการเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบและการเปล่ียนแปลงในด้านต่าง ๆ ไม่วา่ จะเปน็ ด้านเศรษฐกจิ สงั คม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรมเพื่อให้สามารถปรับตัวและรับมือไดอ้ ย่างทันท่วงที - เง่ือนไขคุณธรรม ที่จะต้องสร้างเสริมให้เป็นพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ ประกอบด้วย ด้านจิตใจ คือการ ตระหนักในคุณธรรม รู้ผิดชอบช่ัวดี ซ่ือสัตย์สุจริต ใช้สติปัญญาอย่างถูกต้องและเหมาะสมในการดาเนินชีวิต และด้านการกระทา คอื มีความขยันหม่นั เพียร อดทน ไมโ่ ลภ ไม่ตระหน้ี รู้จักแบ่งปัน และรับผิดชอบในการอยู่ ร่วมกับผู้อน่ื ในสงั คม - เง่ือนไขความรู้ ประกอบด้วยการฝึกตนให้มีความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน มี ความรอบคอบ และความระมัดระวังที่จะนาความรู้ต่างๆเหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกันเพ่ือประกอบการ วางแผน และในข้ันปฏบิ ตั ิ
2 เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาท่ีเป็นทั้งแนวคิด หลักการ และแนวทางปฏิบัติตนของแต่ละบุคคล และ องค์กร โดยคานึงถึงความพอประมาณกับศักยภาพของตนเอง และสภาวะแวดล้อม ความมีเหตุมีผล และการ มี ภมู คิ ุม้ กนั ท่ีดใี นตัวเอง โดยใช้ความร้อู ย่างถูกหลักวชิ าการด้วยความรอบคอบและระมัดระวงั ควบคูไ่ ปกบั การ มี คณุ ธรรม ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ ไม่เบียดเบียนกัน แบ่งปนั ช่วยเหลอื ซึง่ กนั และกัน และรว่ มมือปรองดองกันในสงั คม ซึ่ง จะชว่ ยเสริมสร้างสายใยเชอ่ื มโยงคนในภาคสว่ นต่าง ๆ ของสังคมเข้าด้วยกนั สรา้ งสรรคพ์ ลงั ในทางบวก นาไปสู่ ความสามคั คี การพัฒนาท่ีสมดุลและย่งั ยืน พร้อมรบั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงภายใต้กระแสโลกาภวิ ัตนไ์ ด้ เกษตรทฤษฎีใหม่ คอื การจดั การท่ีดนิ ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ ประกอบดว้ ย 1.ที่นาร้อยละสามสิบ 2.แหลง่ น้ารอ้ ยละสามสิบ 3.ปลูกพืชผกั สวนครวั รอ้ ยละสามสิบ 4.ท่อี ย่อู าศัยร้อยละสบิ *****เตรียมตัวดี มชี ัยไปกว่าครง่ึ *****
Search
Read the Text Version
- 1 - 2
Pages: