Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หมู่บ้านรักษาศีล 5

หมู่บ้านรักษาศีล 5

Published by วัชรินทร์ พูลศิริ, 2021-09-10 03:17:02

Description: 1 หน้าปก-ผสาน (1)

Search

Read the Text Version

43  จัดกิจกรรมรณรงค์และอบรมให้ความรู้แก่ เด็กเยาวชน นักเรียน และประชาชน ให้ตระหนักถึง พิษภัยและโทษของยาเสพติด เพอ่ื ปกป้องไมใ่ หเ้ ข้าไปยุง่ เก่ยี วกับยาเสพติด  พัฒนาแหล่งน้านบโหนดให้เป็นสถานท่ีออกกาลังกายของหมู่บ้าน เพ่ือสนับสนุนให้คนในชุมชน หนั มาออกกาลังกายแทนทจี่ ะไปขอ้ งเกย่ี วกับยาเสพติด

44  จัดกจิ กรรมการปอ้ งกนั ยาเสพติดโดยผ่าน ๑๐ ขั้นตอน กองทนุ แม่ของแผน่ ดิน ๑. ทาความเข้าใจโครงการทุกครัวเรือน ๒. รับสมคั รคณะกรรมการกองทุนแม่ ๓. รบั สมคั รครัวเรอื นสมาชิกเขา้ รว่ มโครงการ ๔. จดั ตัง้ กฎชุมชนเขม้ แข็ง ๕. ใหค้ วามรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพตดิ ๖. จดั ตั้งกองทุนแกไ้ ขปัญหายาเสพติด ๗. ประชาคมคัดแยกดว้ ยสนั ติวธิ ี ๘. จัดกจิ กรรมร่วมกนั ของสมาชิกอย่างตอ่ เน่ือง ๙. รบั รองครวั เรือนปลอดภัย ๑๐. รกั ษาสถานะชุมชนเขม้ แข็ง (ส่กู ารจัดตั้งศนู ยเ์ รียนรู้ กองทุนแมข่ องแผ่นดิน) การดาเนนิ การพิจารณาคัดเลือกครัวเรือนปลอดภัยจากยาเสพติด กองทุนแมข่ องแผน่ ดินบ้านนากลาง มีการพิจารณากลั่นกรองครัวเรือน ท้ังหมด ๘๐ ครัวเรือน ได้รับการคัดเลือกเป็นครัวเรือนปลอดภัยจาก ยาเสพติด โดยมีกระบวนการพจิ ารณาคัดเลอื ก ดงั นี้ ๑) จัดเวทีประชาคมหมู่บา้ น โดยศูนย์ปฏิบัติการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพติดอาเภอตะก่ัวทุ่ง (ศป.ปส.อ.ตะก่ัวทุง่ ) ดาเนนิ การผ่านกระบวนการสร้างหม่บู ้านชุมชนเข้มแข็งปลอดยาเสพตดิ ตามหลกั ประชารัฐ ๙ ขั้นตอน และกระบวนการของกองทุนแม่ของแผ่นดิน และให้ท่ีประชุมร่วมกันเสนอครัวเรือนที่สมควรได้รับ การคดั เลือกเปน็ ครัวเรือนปลอดภยั ๒) หลังจากที่ประชุมหมู่บ้านร่วมกันเสนอครัวเรือนปลอดภัยแล้ว ทางคณะกรรมการกองทุนแม่ ของแผ่นดินบ้านนากลาง ได้ดาเนินการพิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยครัวเรือนท่ีผ่านการเห็นชอบของ คณะกรรมการตอ้ งได้รบั ความเหน็ ชอบดว้ ยมติทเ่ี ป็นเอกฉนั ท์ ๓) จัดประชุมประชาคมหมู่บ้านอีกครั้ง เพื่อให้ท่ีประชุมใหญ่ของหมู่บ้านมีมติรับรองครัวเรือน ปลอดภัย ๔) หลังจากท่ีประชุมใหญ่ของหมู่บ้านให้การรับรองแล้ว ทางอาเภอตะกั่วทุ่ง โดยศูนย์ปฏิบัติการ ป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอาเภอตะกั่วทุ่ง (ศป.ปส.อ.ตะกั่วทุ่ง) ได้ออกประกาศรับรอง และทางกองทุน แม่ของแผ่นดินบ้านนากลาง ทาพิธีมอบธงสัญลักษณ์ครัวเรือนปลอดภัยจากยาเสพติด ให้แก่ครัวเรือนที่ได้รับ การคัดเลือก โดยทาพิธีรับมอบต่อหน้าพระบรมฉายาลักษณ์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนพี ันปีหลวง

45

46 ผลการดาเนินงานทาให้บ้านนากลาง ไม่มีผู้ค้าผู้เสพยาเสพติด ประชาชนในพ้ืนที่มีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหา การสร้างงานสร้างอาชีพ เพื่อไม่ให้เด็กหรือเยาวชนเข้าไปเก่ียวข้องกับยาเสพติด รวมท้ัง การเป็นศูนย์เรียนรู้ของผู้ผ่านการคุมประพฤติในคดียาเสพติด ถือเป็นความภาคภูมิใจของคณะกรรมการ หมู่บ้านบ้านนากลางท่ีได้ช่วยแก้ไขปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ โดยในปี พ.ศ.๒๕๕๖ ได้รบั รางวัลหมู่บา้ นท่ีดาเนินกิจกรรมกองทุนแม่ของแผ่นดินดเี ด่นระดับภาค รับโล่รางวัลจาก นางสาวยง่ิ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ในขณะน้ัน และในปี พ.ศ.๒๕๕๘ นายสมบัติ ยกเชื้อ ประธานคณะกรรมการหมู่บ้าน เป็นตัวแทนคณะกรรมการหมู่บา้ น เข้ารับโล่รางวัลเกียรติคุณ ผูม้ ีผลงานระดบั ดีเด่น ด้านการป้องกันยาเสพติด จากสานักงาน ป.ป.ส. โดยรับโล่รางวลั จาก พลเอกประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี กิจกรรมงดเหล้าเขา้ พรรษา งานบญุ ปลอดเหล้า ปลอดอบายมุข  มกี ารรณรงคใ์ ห้ชาวบา้ นในชุมชนร่วมกจิ กรรมงดเหลา้ เขา้ พรรษา  ส่งเสรมิ ให้การจัดงานบญุ ประเพณีตา่ ง ๆ ของหมู่บา้ น เปน็ งานท่ีปราศจากอบายมขุ และยาเสพติด

47 กจิ กรรมส่งเสริมและยกย่องบคุ คลต้นแบบในการลด ละ เลกิ สรุ า ยาเสพติดในหมู่บ้าน  นายสมบัติ ยกเช้ือ ประธานคณะกรรมการหมู่บ้าน เป็นตัวแทนคณะกรรมการหมู่บ้าน เข้ารับ โล่รางวัลเกียรติคุณ ผู้มีผลงานระดับดีเด่น ด้านการป้องกันยาเสพติด จากสานักงาน ป.ป.ส. รับโล่รางวัลจาก พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และในปี พ.ศ.๒๕๕๖ ได้รับรางวัลหมู่บ้านที่ดาเนินกิจกรรม กองทุนแม่ของแผน่ ดินดเี ด่นระดับภาค รบั โลร่ างวลั จาก นางสาวย่งิ ลักษณ์ ชนิ วตั ร นายกรัฐมนตรี ในขณะน้ัน กจิ กรรมส่งเสรมิ การมสี ติในการครองตน ครองคน ครองงาน

48 บทที่ ๓ กจิ กรรมการส่งเสริมวถิ วี ฒั นธรรมชาวพุทธ ๓.๑ กจิ กรรมส่งเสรมิ ประเพณี วฒั นธรรมทางศาสนา การจัดกจิ กรรมไหว้พระ สวดมนต์ ทาบุญตักบาตรประจาวันพระและวนั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา  คณะกรรมการหมู่บ้านร่วมกับประชาชนในพื้นท่ีเข้าร่วมกิจกรรมในวนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนา ณ วัดราษฎร์ราชโยธี ซง่ึ เป็นวัดประจาหม่บู า้ นและวดั อื่น ๆ ใกลเ้ คยี งอย่างสมา่ เสมอ เช่น วันพระ วนั เขา้ พรรษา วันออกพรรษา วนั มาฆบูชา วนั วสิ าขบชู า กิจกรรมการทาบุญตักบาตร 7

49 การจดั กิจกรรมสง่ เสริมประเพณีวฒั นธรรมชาวพุทธของหมู่บ้าน  คณะกรรมการหมู่บ้านและประชาชนในพ้ืนที่มีการจัดกิจกรรมอันเป็นการส่งเสริมประเพณี วัฒนธรรมชาวพุทธอย่างต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี เช่น การทอดกฐิน ทอดผ้าป่า การออกโรงทาน การบวชสามเณรภาคฤดูร้อน ตกั บาตรเทโว ถวายเทียนพรรษา ถวายสลากภัต เป็นตน้

50 การจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ วปิ ัสสนากรรมฐาน  ชาวบ้านนากลางมีความเคารพเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา นอกจากจะเข้าร่วมทากิจกรรม ที่วัดต่าง ๆ ใกล้หมู่บ้านจัดข้ึนแล้ว ยังส่งเสริมให้บุตรหลานเข้าร่วมด้วย ไม่ว่าจะเป็นค่ายคุณธรรมจริยธรรม การบรรพชาสามเณรฤดรู อ้ น หรอื การอบรมวปิ ัสสนากรรมฐาน

51 ๓.๒ การอนุรักษป์ ระเพณี วฒั นธรรมและอตั ลกั ษณ์ของหมบู่ ้าน การตั้งคณะกรรมการส่งเสริมอนรุ ักษ์ประเพณีและวัฒนธรรมของหม่บู ้าน  คณะกรรมการหมู่บ้านทาหน้าที่ดาเนินการต่าง ๆ เพ่ือส่งเสริม อนุรักษ์ประเพณีและวัฒนธรรม ในชมุ ชนบา้ นนากลางให้มีการสืบทอดไปยังอนชุ นรุ่นหลงั การส่งเสรมิ และอนุรักษป์ ระเพณแี ละวฒั นธรรมของหมู่บ้าน  คณะกรรมการหมู่บ้านร่วมกับชาวบ้านในชุมชนร่วมกันจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือเป็นการส่งเสริม อนุรักษ์ประเพณแี ละวัฒนธรรมในชมุ ชนบ้านนากลางใหม้ กี ารสบื ทอดไปยังอนุชนรนุ่ หลัง เช่น วนั สารทเดอื นสิบ วันสงกรานต์ วันลอยกระทง ประเพณีถอื ศีลกินเจ เป็นต้น

52 วฒั นธรรมธรรมและประเพณีท่โี ดดเด่น (ด้านความเชือ่ และพุทธศาสนา)  ประเพณีแหแ่ ขวนช่อในวันสารทเดือนสบิ ประเพณีท่ีมีมาแต่อดีตของคนในชุมชนบ้านนากลาง ลักษณะกิจกรรมน้ัน คนในชุมชนจะนา ข้าวเปลือก ข้าวสาร กระเทียม เคร่ืองปรุงในครัวเรือน ผลไม้ เป็นต้น นามาแขวนกับไม้ที่ต้ังอยู่ ที่บ้านของ ผู้ใหญ่บ้าน พอถึงเวลาแรม 15 ค่า เดือน 10 จะแห่ขบวนไปยังวัดราษฎร์โยธี เพื่อทาพิธีถวายสังฆทาน เพื่ออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลใหก้ ับผู้ล่วงลับไปแล้ว โดยกิจกรรมน้ีจดั ขึ้นเพ่ือระลกึ ถึงพระแมโ่ พสพ และบรรพบุรุษ เพ่ือเปน็ ขวญั กาลงั ใจในการปลูกขา้ วในฤดูตอ่ ไป ท่ีมาของประเพณีเกิดจากเม่ือสมัยก่อนมักมีภัยพิบัติน้าท่วมทาให้นาข้าวและพ้ืนท่ีทาการเกษตร เกิดความเสียหาย ผลผลิตที่ได้ตกต่า ผู้ใหญ่บ้านในขณะนั้น คือ นายกล้า งามเชื้อ ได้มีกุศโลบาย โดยตีเกราะ เรียกประชุมชาวบ้าน โดยกาหนดให้ในวันแรม ๑๔ ค่า เดือน ๑๐ ให้ชาวบ้านนาผลผลิตทางการเกษตรท่ี ตนเองมี ท้ังข้าวสาร อาหารแห้ง มารวมกันท่ีบ้านผู้ใหญ่บ้าน เพ่ือผกู รวมกันทาเป็นช่อ กอ่ นการผูกก็ให้เจา้ ตัว อธิษฐาน ให้ข้าวในนาของตนเองมีผลผลิตท่ีดี ไม่มีสัตว์และศัตรูพืชมารบกวน ขายของให้ได้ราคาดี ปลอดภัย จากภัยพิบัติท้ังปวง จากน้ันในวันแรม ๑๕ ค่าเดือน 10 จะให้ผู้ชายที่แข็งแรงเป็นคนหาบ และให้ผู้หญิง บริสุทธิ์ราหน้าช่อ โดยแห่ไปท่ีวัดราษฎร์โยธี ให้พระสงฆ์ทาพิธี หลังจากท่ีทากิจกรรมแห่แขวนช่อในครั้งน้ัน ทาให้ภัยพิบัติเกิดน้อยลง ผลผลิตทางการเกษตรได้จานวนมากขึ้น จึงได้มีการกระทาเป็นประจาทุกปี จนกลายเป็นประเพณีที่ถือปฏิบัติสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน และได้มีการถ่ายทอดให้แก่คนรุ่นหลังเพ่ือจะได้สืบ สานอนุรักษเ์ ปน็ วัฒนธรรมอันดงี ามของหม่บู ้านตอ่ ไป

53

54

55 ๓.๓ การพัฒนาผลิตภณั ฑช์ ุมชน / OTOPการต้ังกลุม่ วสิ าหกจิ / กลมุ่ พฒั นาผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน  วิสาหกจิ ชมุ ชนกลุม่ เกษตรก้าวหน้าบา้ นนากลาง เป็นกลุ่มท่ีมีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์และดินปลูก มีสมาชิก ๑๒๐ ครัวเรือนปุ๋ยอินทรีย์ ได้รับการ รับรองมาตรฐาน GAP จากกรมส่งเสริมการเกษตร โดยปุ๋ยดังกล่าวนี้แจกจ่ายให้สมาชิกได้ใช้เองในการบารุง พืชผลการเกษตร ปีละ ๕๐๐ กิโลกรัม/คน และจาหน่ายได้เฉลี่ยปีละ ๕๐,๐๐๐ กิโลกรัม ๆ ละ ๕ บาท รวม เปน็ เงิน ๒๕๐,๐๐๐ บาท ดินปลูก แจกจ่ายให้สมาชิกได้ใช้เองในการปลูกพืชผลการเกษตร ปีละ ๓๐๐ กิโลกรัม/คน และจาหนา่ ยไดเ้ ฉลี่ยปลี ะ ๗๐,๐๐๐ กิโลกรัม ๆ ละ ๓ บาท รวมเป็นเงนิ ๒๑๐,๐๐๐ บาท  กลมุ่ สัมมาชีพชมุ ชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง กลมุ่ เพาะเห็ดนางฟา้ มสี มาชกิ จานวน ๑๐ คน ๑) นางคากอง แก้วอดุ ร (หวั หน้ากลุ่ม) ๒) นางสาวบุญลาภ จินดาพล ๓) นางวรพนั ธ์ ยกเชอื้ ๔) นายปฤษฎี กอบบญุ เกษม ๕) นายสุจินต์ ทนนา้ ๖) นางยม้ิ บัญชาญ ๗) นางสมจิตต์ ไตรศรี ๘) นางลัดดา เอยี่ มบุญก่อ ๙) นางสาวเนตรนภา สายระย้า ๑๐) นางสาวฐติ ิยาภรณ์ สุทธริ ักษ์

56  กล่มุ นากลางก้าวไกล มผี ลิตภณั ฑ์ ท้งั หมด ๑๑ ผลติ ภณั ฑ์ มีสมาชิกจานวน ๑๖๐ คน โดยมกี ลุ่มอาชีพรวม ๑๑ กลุ่ม ๑) กลมุ่ กล้วยฉาบสมุนไพร มีสมาชิก ๔ คน รายได้ ๕,๐๐๐–๗,๐๐๐ บาท/เดอื น นางสาวสมยม บญุ เรอื ง (หวั หนา้ กลมุ่ ) นางสายชล วงศ์วุน่ นางศศิกาญจน์ พรมจันทร์ นางสาวเนตรนภา สายระย้า ๒) กลมุ่ ตกุ๊ ตาการบรู มสี มาชกิ ๔ คน รายได้ ๒,๕๐๐–๓,๐๐๐ บาท/เดือน นางธญั ญา ศภุ นาม (หัวหนา้ กลมุ่ ) นางสรุ ีรตั น์ มีปดี นางลาวลั ย์ จินดาพล นางรตั นา พรหมณีวตั น์ ๓) กลมุ่ น้าพริกเห็ดนางฟ้า มีสมาชิก ๗ คน รายได้ ๒๐,๐๐๐–๒๕,๐๐๐ บาท/เดอื น นางลดั ดา เอยี่ มบุญก่อ (หวั หน้ากลมุ่ ) นางสาวสดุ า คงราช นางอารี โรจน์ธีรากลุ นางสาวสุภา อนิ ทผลา นางอาภรณ์ ม่งุ ดี นางสาวบญุ ลาภ จินดาพล นางพชั รี อนิ ทปนั ๔) กลมุ่ ป๋ยุ อนิ ทรยี ์ มีสมาชิก ๘ คน รายได้ ๑๕,๐๐๐–๒๐,๐๐๐ บาท/เดอื น นายประเสริฐ พ่ึงสงวน (หัวหน้ากลมุ่ ) นายสจุ ินต์ ทนน้า นายปฤษฎี กอบบุญเกษม นางสาวสุดา คงราช นางสายชล วงศว์ ุน่ นายเจริญ พ่ึงสงวน นางคากอง แกว้ อดุ ร นางสาวบุญลาภ จนิ ดาพล ๕) กลมุ่ ผ้าบาติก มสี มาชกิ ๗ คน รายได้ ๔,๕๐๐–๖,๐๐๐ บาท/เดือน นางสาวฐติ ิยาภรณ์ สทุ ธริ ักษ์ (หัวหน้ากลุ่ม) นางอารี ไพโรจน์ธรี ากลุ นางเยาวเรศ พงศต์ ิวฒั นากุล นางสาวสภุ า อินทผลา นางพชั รี อนิ ทปัน นางธัญญา ศุภนาม นางสาวสดุ า คงราช ๖) กลมุ่ ผา้ มดั ย้อมสธี รรมชาติ มสี มาชิก ๑๐ คน รายได้ ๒,๕๐๐–๓,๐๐๐ บาท/เดือน นางอารี โรจนธ์ ีรากลุ (หวั หนา้ กลมุ่ ) นางสาวสดุ า คงราช นายสมบตั ิ ยกเชื้อ นางพัชรี อินทปนั นายปฤษฎี กอบบุญเกษม นางเยาวเรศ พงศต์ วิ ฒั นากลุ นางสาวเนตรนภา สายระย้า นางสาวสุภา อนิ ทผลา นายสจุ นิ ต์ ทนนา้ นางสาวฐติ ยิ าภรณ์ สทุ ธิรกั ษ์ ๗) กลุ่มลูกชิ้นเห็ดนางฟา้ มีสมาชิก ๘ คน รายได้ ๓,๐๐๐–๔,๐๐๐ บาท/เดอื น นางสาวสดุ า คงราช (หวั หน้ากลุ่ม) นางเยวเรศ พงศ์ตวิ ัฒนากลุ นางอารี โรจน์ธีรากลุ นางสาวฐติ ิยาภรณ์ สุทธริ ักษ์ นายปฤษฎี กอบบุญเกษม นางสาวสภุ า อินทผลา นางลัดดา เอ่ียวบุญก่อ นางพัชรี อนิ ทปัน

57 ๘) กลุ่มสมนุ ไพรแชเ่ ทา้ มีสมาชกิ ๑๒ คน รายได้ ๑,๕๐๐–๒,๐๐๐ บาท/คร้งั นางเยวเรศ พงศ์ตวิ ัฒนากุล (หัวหนา้ กลมุ่ ) นางสาวสุดา คงราช นางฐติ ิยาภรณ์ สุทธริ กั ษ์ นายปฤษฎี กอบบญุ เกษม นางพชั รี อนิ ทปนั นางสรุ รี ตั น์ มีปีด นางอารี ไพโรจน์ธรี กุล นางธญั ญา ศภุ นาม นางสาวสุภา อินทผลา นางรตั นา พรหมณวี ัฒน์ นางลาวลั ย์ จนิ ดาพล นายสุจนิ ต์ ทนนา้ ๙) กลุ่มหมอนองิ ผา้ บาตกิ มสี มาชกิ ๔ คน รายได้ ๓,๐๐๐–๔,๐๐๐ บาท/เดอื น นางลาวัลย์ จนิ ดาพล (หัวหนา้ กลุม่ ) นางสรุ ีรตั น์ มปี ีด นางธัญญา ศุภนาม นางรัตนา พรหมณวี ฒั น์ ๑๐) กลุ่มพวงกญุ แจบาติก มสี มาชิก ๔ คน รายได้ ๒,๕๐๐–๓,๐๐๐ บาท/เดือน นางลาวลั ย์ จินดาพล (หวั หนา้ กลมุ่ ) นางสรุ รี ัตน์ มีปีด นางธญั ญา ศภุ นาม นางรตั นา พรหมณีวฒั น์ ๑๑) กลมุ่ สบู่สมนุ ไพรผงถา่ นไม้ไผ่ มสี มาชกิ ๓ คน รายได้ ๕,๐๐๐–๗,๐๐๐ บาท/เดอื น นางสาวปยิ ะพร ประทุม (หวั หน้ากลุม่ ) นางสาวบญุ ลาภ จินดาพล นางสาวสุดา คงราช

58 การพฒั นาและสง่ เสรมิ ผลิตภัณฑ์ชมุ ชน (OTOP)  ให้การสนับสนุนกลุ่มอาชีพที่ขาดแคลนเงินทุน สามารถมากู้เงินจากสถาบันการเงินชุมชน บา้ นนากลาง สาหรับการชาระคืนจะมีการชาระเป็นตวั เงิน หรือเป็นค่าแรงที่มาทางานใหก้ ับกลุ่ม หรือชาระเป็น สนิ ค้าที่กลุ่มอาชีพนนั้ ๆ ทา  จัดกิจกรรมเปิดหมู่บ้าน “ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี” เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๑ เพื่อรองรับการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของหมู่บ้านให้เป็นท่ีรู้จักและมีนักท่องเท่ียวเดินทางมาเที่ยวศึกษาดูงาน โดยประชาชนในหมบู่ า้ นรว่ มกนั ตอ้ นรบั ผู้มารว่ มกิจกรรม รวมทัง้ ไดน้ าเสนอผลผลติ ภณั ฑภ์ ายในชุมชุม

59  จัดต้ังศูนย์ประสานงานท่องเท่ียววิถีชุมชน เพื่อส่งเสริมการท่องเท่ียวภายในชุมชนและเป็นการ เพม่ิ ช่องทางการจาหนา่ ยและเผยแพรผ่ ลิตภัณฑข์ องชุมชนใหเ้ ปน็ ที่รจู้ ักในวงกว้าง  จัดทาโครงสง่ เสริมเศรษฐกจิ ตลาดชมุ ชน “ตลาดธรรมชาติ” เป็นชอ่ งทางในการแลกเปลยี่ น ซอื้ ขายสินค้าทางการเกษตรและผลิตภัณฑ์ของชาวบ้านในชุมชน  ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทส่ี มัยใหมใ่ นการเผยแพร่ผลงานของหมูบ่ า้ น เช่น LINE / FACEBOOK / YOUTUBE / QR CODE

60  จัดทาโครงการ “นากลางประชารัฐสมาร์ทฟาร์ม” ภายใต้โครงการตามแนวทางประชารัฐ กองทุนหมูบ่ า้ นและชมุ ชนเมอื งแหง่ ชาติ (กทบ.) นากลางประชารัฐสมาร์ทฟารม์ เป็นโครงการตามแนวทางประชารัฐ ซ่ึงเป็นนโยบายที่รัฐบาล ต้องการกระตุ้นเศรษฐกิจฐานราก โดยผ่านคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านในการจัดเวทีประชาคมของหมู่บ้าน เพื่อให้สมาชิกของหมู่บา้ นได้เสนอความต้องการผ่านกลไกกองทุนหมู่บา้ นในการขับเคลอ่ื นสร้างงานสรา้ งอาชีพ ตามความต้องการของสมาชิกเอง ซึ่งหมู่ ๙ บ้านนากลาง ได้รับงบประมาณสนับสนุนอย่างต่อเน่ืองจาก ปี ๒๕๕๙ (๕๐๐,๐๐๐ บาท) ปี ๒๕๖๐ (๓๐๐,๐๐๐ บาท) และปี ๒๕๖๑ (๒๐๐,๐๐๐ บาท) รวมเป็นเงิน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ซ่ึงจากเวทีประชาคมและจากแผนพัฒนาหมู่บ้าน บ้านนากลางได้วางแผนงานบูรณาการ เช่ือมโยงในการทาการเกษตรผสมผสานจากเกษตรเคยชินเป็นเกษตรเรียนรู้ จากเกษตรปริมาณเป็นเกษตรเชิง คุณภาพ ยึดหลักตลาดนาการผลิต เพ่ือให้ผลผลิตพอดีกับความต้องการของตลาดและมีคุณภาพ โดยนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ในการผลิตพืชให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพตามความต้องการ ลดเวลา ลดแรงงานคน การปรับเปล่ียนวิถีจากการทาการเกษตรเชิงเด่ียวเป็นเกษตรแบบผสมผสานให้มีความ หลากหลายในชนิดสินค้าและต่อยอดเน้นการนาผลผลิตมาแปรรูปเพื่อเพ่ิมมูลค่าสินค้า เช่น เห็ดนางฟ้า นามาแปรรูปเป็นน้าพริกเห็ดนางฟ้า และลูกช้ินเห็ด เป็นผลิตภัณฑ์ท่ีได้รับความสนใจจากลูกค้ากลุ่มคนรัก สุขภาพและบุคคลทั่วไป ท้ังนี้สมาร์ทฟาร์มยังแนวทาการทาการเกษตรเชิงท่องเที่ยว และมีการทาการตลาดขาย สินค้าเป็นตลาดธรรมชาติ มีร้านค้าประชารัฐในการผลิต แปรรูป รวมซ้ือ รวมขาย เป็นศูนย์กลาง วนั สตอ๊ ปเซอร์วิส ทม่ี ีการบรกิ ารแบบครบวงจร สาหรับกจิ กรรมนากลางประชารัฐสมารท์ ฟาร์ม ประกอบด้วย ๑. กจิ กรรมการปลกู พชื ผกั ผลไมใ้ นโรงเรือนระบบปดิ ๒. การปลูกพชื ผกั ในโรงเรือนยกสงู ๓. การผลิตและแปรรปู ๔. การทาเกษตรเชงิ ทอ่ งเทย่ี ว ๕. รา้ นคา้ ประชารฐั ๖. ตลาดธรรมชาติ ๗. การสร้างโรงเรอื น

61

62

63

64 ผลสาเร็จในการพฒั นา คือ การพฒั นาคน พัฒนางาน สู่ความความสุขท่ยี ั่งยนื จนได้รับรางวัล ตามโครงการตามแนวทางประชารัฐ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ “รางวัลชนะเลิศจังหวัดพังงา โครงการแปรรปู ผลิตสินค้าทางการเกษตร กองทุนหมบู่ ้านบ้านนากลาง หมทู่ ี่ ๙ ตาบลโคกกลอย อาเภอตะก่ัวทุ่ง จังหวัดพังงา ” จากพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ซ่ึงเป็นความภาคภูมิใจของหมู่บ้านทาให้เกิด ความม่งุ มัน่ ในการพัฒนาสร้างความยั่งยนื จนทาให้เกิดชมุ ชนเขม้ แขง็ ต่อไป

65 ผลิตภัณฑ์ชมุ ชน (OTOP) ที่โดดเดน่ ของหมู่บา้ น  เมล่อน  กล้วยฉาบสมุนไพร  ต๊กุ ตาการบูร

66  น้าพรกิ เห็ดนางฟ้า  ลูกช้ินเห็ดนางฟ้า  ผ้าบาตกิ

67  ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติ  สมนุ ไพรแชเ่ ทา้  หมอนอิงผา้ บาตกิ

68  พวงกญุ แจผา้ บาตกิ  สบสู่ มุนไพรจากผงถ่านไม้ไผ่  ปุ๋ยอนิ ทรยี ์

69 ๓.๔ ปราชญท์ ้องถน่ิ หรือบคุ คลตัวอยา่ งของหม่บู า้ น นายแดง จนิ ดาพล ปราชญ์ด้าน หมอนวดแผนไทย, การทานา นายเจียร จินดาพล ปราชญ์ดา้ น ตง้ั ศาลพระภมู ิ, แรกเสาเรือน, ปลูกพชื สมนุ ไพร-ผกั ปลอดสารพษิ , ทานา นางลดั ดา เอย่ี มบญุ ก่อ ปราชญ์ด้าน แปรรปู อาหาร นางศริ พิ ร มีผล ปราชญด์ ้าน การทาขนมเมย่ี งกรอบ นางจารุวรรณ ศรีนาค ปราชญด์ ้าน การทาขนมหวาน, ไอศกรีม นางเฟ่ือง พ่ึงสงวน ปราชญด์ ้าน การถนอมอาหาร หมกั ดอง, การทากะปิ, การทานา, จักสานตา่ ง ๆ

70 นายเจรญิ พง่ึ สงวน ปราชญ์ดา้ น การเกษตรอินทรยี ,์ เกษตรผสมผสาน นายประเสริฐ พง่ึ สงวน ปราชญด์ า้ น เกษตร (เลยี้ งสตั ว)์ นายสมบัติ ยกเชื้อ ปราชญ์ด้าน การบรหิ ารจัดการกลุม่ นายปฤษฎี กอบบุญเกษม ปราชญ์ดา้ น วิทยากรกระบวนการ นางประจิม โกยแก้วพรง้ิ ปราชญ์ดา้ น การทาอาหารและแปรรูปอาหารทกุ ชนดิ นางคากอง แก้วอุดร ปราชญด์ ้าน ถัก, ทอ, จักสาน

71 บทที่ ๔ กิจกรรมการบรู ณาการกจิ การคณะสงฆ์ การพฒั นาและสร้างเครือขา่ ยในพน้ื ท่ี ๔.๑ กิจกรรมส่งเสริมโรงเรียนรักษาศีล ๕ การศึกษาและการเรียนรู้ของหมู่บ้านการส่งเสริม โรงเรียนรกั ษาศีล ๕  มีการสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ความสาคัญและประโยชน์ที่จะได้รับในการปฏิบัติตน ตามหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา โดยการรกั ษาศีล ๕  มีการประสานและร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับโรงเรียนและสถาบันทางศาสนา องค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ิน ชุมชน กานัน ผู้ใหญ่บ้าน อาสาสมัคร และผู้นาศรัทธาที่มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาท้องถ่ินของตนเอง เพอ่ื ใหก้ ารพฒั นาตามหลักการของศีล ๕ น้สี ัมฤทธิ์ผลยง่ิ ข้ึน  ดาเนินกิจกรรมจัดอบรมประชาชน ตามหลักธรรมตามหลักเบญจศีล เบญจธรรม โดยจุดเน้น ให้คนเขา้ มารว่ มทากจิ กรรม โดยใช้กลไกทางพระพทุ ธศาสนา  สร้างปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งครอบครัว ชุมชน วัด สถานศึกษา หน่วยงานราชการ องค์กร ปกครอง ส่วนทอ้ งถน่ิ และหนว่ ยงานอ่นื ๆ ในรปู แบบต่าง ๆ ทีส่ ่งเสริมความสมัครสมานสามคั คีและความปรองดอง  สร้างการมีส่วนร่วมระหว่างวัด สถานศึกษา ชุมชน สถานศึกษา หน่วยงานราชการ องค์กร ปกครองส่วนท้องถน่ิ และหนว่ ยงานอน่ื ๆ ให้มีบทบาทในการสนบั สนนุ และจดั กิจกรรม

72 การให้ทุนและพัฒนาการศึกษาของเด็กและเยาวชน  กิจกรรมทุนทางปัญญา ได้แก่การเปิดจองแตงโมลอยฟ้าในโครงการกองทุนแม่ดูแลชุมชน มาเป็นทุนการศึกษาให้บุตรสมาชิกจานวน ๓๘ ลูก ลูกละ ๑๙๙ บาท เป็นเงิน ๗,๕๖๒ บาท โดยมอบทุน จานวน ๓ ทุน ทนุ ละ ๑,๐๐๐ บาท เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท  กองทุนหมู่บ้าน บ้านนากลาง ได้จัดสรรเงินกองทุนเพ่ือมอบเป็นทุนการศึกษาปีละ ๕ ทุน ทุนละ ๕๐๐ บาท  กองทุนแมข่ องแผน่ ดิน บ้านนากลาง ได้จดั สรรเงินกองทุนเพอ่ื มอบเป็นทุนการศกึ ษาปีละ ๑๐ ทุน ทุนละ ๕๐๐ บาท  กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรก้าวหน้า บ้านนากลาง ได้จัดสรรเงินผลกาไรเพื่อมอบเป็น ทุนการศึกษาปีละ ๕ ทนุ ๆ ละ ๑,๐๐๐ บาท

73  โครงการอบรมเรียนรู้ศาสตร์พระราชา เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยร่วมกับอาเภอตะกั่วทุ่ง จัดกิจกรรมอบรมกลุ่มเป้าหมายเป็น นักเรียน นักศึกษา ผู้นาชุมชน และคณะกรรมการหมู่บ้าน รวมทั้งหมด ๒ รุ่น ๆ ละ ๑๕๐ คน ในวันที่ ๑๐ และ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๒  บ้านหนังสือชุมชนบ้านนากลาง เป็นกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนรวมท้ังชาวบ้าน โดยท่ัวไปเห็นความสาคัญของการอ่าน ใช้พื้นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านนากลาง จัดบริการมุมหนังสือ สืบค้นเอกสาร และอินเตอร์เน็ต โดยคณะกรรมการหมู่บ้าน ช่วยกันนาหนังสือมาบริจาค และจัดหาชั้นวาง หนงั สอื พร้อม โตะ๊ และเก้าอีไ้ ว้บริการ

74 การต้งั ศนู ย์เรยี นรู้ชุมชน / พิพธิ ภัณฑ์ชุมชนุ  ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านนากลาง มีการน้อมนาแนวคิดการดาเนินงานตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาปรับใช้ในหมู่บ้าน โดยการพัฒนาและส่งเสริมการประกอบ อาชพี หลักและอาชีพเสรมิ ในหม่บู ้าน ดงั นี้ สง่ เสริมการลดรายจ่าย  สง่ เสริมใหม้ กี ารปลูกพชื ผกั สวนครวั ผักปลอดสารพิษ ไวก้ นิ เองในครวั เรือน โดยมคี รัวเรอื นทีป่ ลกู ผกั ไวก้ ินเอง จานวน ๑๔๐ ครัวเรือน หากเหลือก็นาไปขายเพื่อสร้างรายได้ โดยเฉลยี่ จะมรี ายได้ครัวเรือนละ ๓๐๐ บาท/คร้งั

75  ส่งเสริมการเล้ียงเป็ด เล้ียงไก่ จานวน ๓๐ ครัวเรือน โดยสามารถเก็บไว้กินเองในครัวเรือน นอกจากนั้นแล้วยงั นาไปขายสร้างรายได้ ซ่ึงมีรายได้จากการขายตัวเป็ด ไก่ และไข่เป็ด ไข่ไก่ ประมาณ ๕,๐๐๐ บาท ตอ่ เดอื น การทาปุ๋ยอินทรยี ์และน้าหมักชวี ภาพจากเศษอาหาร เปลอื กพชื ผักผลไม้ ทเ่ี หลือจากการรับประทาน แล้วสามารถนามาทาเป็นน้าหมักไว้ใช้บารุงผักสวนครัวโดยไม่พึ่งสารเคมี โดยสามารถลดรายจ่ายจากการซื้อ ป๋ยุ เคมไี ด้ ๑๐๐ % การทาน้ายาล้างจานไว้ใช้เองในครัวเรือน โดยสามารถลดค่าใช้จ่ายในการซ้ือน้ายาสาเร็จรูปได้ ประมาณ ๒๐ บาทตอ่ ลติ ร จากการจัดเก็บข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) พบว่า รายจ่ายปี พ.ศ.๒๕๖๒ ลดลงจาก ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ จานวน ๑๔,๗๔๗.๖๐ บาท คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๓๕ และรายได้ ปี พ.ศ.๒๕๖๒ เพ่ิมขึ้นจาก ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ จานวน ๑๖,๑๕๘.๘๕ บาท คดิ เป็น รอ้ ยละ ๒๒.๓๐

76 แผนภมู ิแสดงรายจ่าย บ้านนากลาง จากข้อมลู จปฐ. เปรียบเทียบ ปี พ.ศ.๒๕๖๑ และ พ.ศ.๒๕๖๒ แผนภูมแิ สดงรายได้ บา้ นนากลาง จากข้อมลู จปฐ. เปรยี บเทยี บ ปี พ.ศ.๒๕๖๑ และ พ.ศ.๒๕๖๒

77 สง่ เสรมิ ให้มกี ารออม  คณะกรรมการหมู่บ้านส่งเสริมให้ครัวเรือนมีการออม โดยประชาชนในหมู่บ้านมีการฝากเงินสัจจะกับ สถาบันการเงนิ ของหมบู่ า้ น และกองทุนการออมแห่งชาติ และส่วนหนงึ่ ก็จะฝากไวก้ ับธนาคาร  มีการจัดทาสมุดบญั ชคี รวั เรอื นแสดงรายรับรายจ่าย และจดบนั ทกึ ผ่านแอพลิเคชน่ั Smart Me รปู แบบการจัดทาบัญชีครัวเรอื น จานวน (คน) ๑. จดบันทึกผา่ นแอพลิเคชนั่ Smart me ๓๕ ๒. จดบันทึกในสมดุ บญั ชคี รัวเรอื น (แบบทามือ) ๑๐๕

78  ศูนยเ์ รยี นรู้กองทุนแมข่ องแผ่นดนิ บูรณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” เป็นพระราชทรัพย์พระราชทานของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงห่วงใยต่อปัญหายาเสพติดท่ีแพร่ระบาดในสังคมไทย เม่ือปี พ.ศ.2546 ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ผ่านเลขาธิการ ป.ป.ส.โดยมีพระราชประสงค์ ท่ีจะให้นาไปใช้ประโยชน์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ต่อมา ปี 2547 สานักงาน ป.ป.ส. จึงได้นาพระราชทรัพย์ดังกล่าวสบทบกับงบประมาณของสานักงาน ป.ป.ส. จัดตั้งเป็น “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” เพ่ือมอบเงินกองทุนให้แก่หมู่บ้าน/ชุมชน โดยมีเป้าหมายท่ีจะสานร้อยพลังศรัทธาและสามัคคีของประชาชน เป็นเครอื ข่ายที่ร่วมกันสร้างความดีงามสนองพระราชปณิธานของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ท่ีทรงต้องการช่วยเหลือราษฎรของพระองค์ให้พ้นจากภัยร้ายของยาเสพติด อยา่ งย่ังยนื ศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง บ้านนากลาง เป็นศูนย์เรียนรู้ ระดับจังหวัด ได้ดาเนินการตามวัตถุประสงค์ของกองทุน คือ การขยายพลั งแห่งความดีของคน ในหมู่บ้าน/ชุมชน เสริมสร้างกระบวนการการแลกเปลี่ยนความคิด ความรู้ร่วมกันภายในหมู่บ้าน/ชุมชน สนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง พึ่งพาตนเอง ทั้งน้ีเพ่ือร่วมกันแก้ปัญหายาเสพติด ในหมูบ่ า้ น/ชุมชน อย่างย่ังยืน และพัฒนาเป็นศูนย์การเรยี นร้ขู องชุมชนท้ังภายใน และระหวา่ งหมบู่ ้าน/ชมุ ชน

79  ศูนยเ์ รยี นรู้พลงั งานทดแทนกับเกษตรอนิ ทรีย์ เป็นศูนย์เรยี นรู้เรือ่ งการการทาเกษตรอนิ ทรยี ์ไม่พึ่งพาสารเคมแี ละการใช้พลังงานทดแทน โดยใช้หลกั เศรษฐกิจพอเพยี งเป็นหลักในการดาเนินงาน

80 ๔.๒ กิจกรรมส่งเสรมิ สขุ ภาพของหมบู่ า้ น / อสม. / รพ.สต. การจดั กจิ กรรมการดูแลสขุ ภาวะของผ้สู งู อายุ / โรงเรียนผ้สู งู อายุ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ของบ้านนากลางจานวน ๑๕ คน มีความพร้อม ในการดาเนินกิจกรรมดูแลและส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน ทั้งในส่วนของผู้สูงอายุ ผู้พิการ เด็ก เยาวชน และชาวบา้ นโดยทว่ั ไป

81  คณะกรรมการหมู่บ้าน ร่วมกับ อสม. เยี่ยมเยียนดูแลผู้สูงอายุของหมู่บ้าน มีการปะพูดคุย ตรวจสุขภาพ และมอบสิ่งของเครอ่ื งใชท้ ่ีจาเปน็ เพอ่ื เปน็ ขวัญกาลงั ใจแก่ทุกคน เดือนละ ๑ ครั้ง ช่วงอายุ จานวน (คน) มาตรการดูแล ๖๐ – ๗๐ ปี เพศชาย เพศหญงิ รวม ๗๑ – ๘๐ ปี ๘๑ ปีขน้ึ ไป ๔๘ ๕๓ ๑๐๑ คณะกรรมการหมบู่ า้ น อสม. เย่ียมบา้ นและให้ รวม ๒๑ ๒๖ ๔๗ คาแนะนาผ้สู ูงอายดุ ้านการดูแลสุขภาพ และสาหรบั ผสู้ งู อายุท่ีเป็นโรคเร้ือรัง มกี ารเฝ้าระวงั คดั กรองและให้ ๙ ๑๐ ๑๙ คาแนะนากลับกลุ่มเสีย่ ง ในเรื่องของโรคเบาหวาน ๗๘ ๘๙ ๑๖๗ ความดันโลหติ สูง โรคมะเรง็ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือด สมอง เป็นตน้ ตารางแสดงข้อมลู ผสู้ ูงอายุ บ้านนากลาง

82 การจดั กิจกรรมการดูแลสขุ ภาวะของผู้พกิ าร/ผปู้ ว่ ยตดิ เตยี ง  คณะกรรมการหมู่บ้าน ร่วมกับ อสม. ออกเย่ียมผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงในหมู่บ้าน มีการปะพูดคุย ตรวจสขุ ภาพ และมอบสงิ่ ของเครื่องใช้ที่จาเปน็ เพ่ือเป็นขวัญกาลังใจแกท่ กุ คน เดือนละ ๑ ครงั้ ผูพ้ ิการที่มบี ตั ร มาตรการดแู ล ผู้พิการที่ไมม่ ีบัตร มาตรการดแู ล ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม ๑๓ ๓ ๑๖ กม. อสม. เย่ียมบ้านและให้ ๒๓๕ กม. อสม. เย่ียมบ้าน ค า แ น ะ น า ผู้ พิ ก า ร ด้ า น ก า ร และให้คาแนะนาผู้ ดูแลสุขภาพ และ กม. ได้นา พิการด้านการดูแล สิ่งของอุปโภค บริโภค จาก สุขภาพ กม. ได้นา ค รัวห มู่ บ้ าน ไป ให้ ค ว าม ส่ิ ง ข อ ง อุ ป โ ภ ค ช่วยเหลือ บ ริ โภ ค จ าก ค รั ว หมู่บ้าน ไปให้ความ ช่ ว ย เห ลื อ แ ล ะ ประสาน งาน โรงพยาบาล เพ่ือขอ ข้อมูลในการทาบัตร ผู้พกิ าร ตารางแสดงข้อมลู ผูพ้ ิการบ้านนากลาง

83 การเฝา้ ระวงั ป้องกันและแก้ไขโรคโควดิ -๑๙  ผู้ใหญ่บ้าน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ซ่ึงได้รับการแต่งต้ังเป็นเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อและ คณะกรรมการหมู่บ้าน ได้รว่ มประชมุ เพื่อกาหนดแนวทางรบั มอื โดยมภี ารกิจหลกั ในระดบั หม่บู า้ น ๑) จดั ประชมุ ร่วมกบั ทกุ ภาคส่วนในพืน้ ที่เพื่อวางแผนการดาเนินงานร่วมกนั ๒) สรา้ งการรับรผู้ า่ นกลไกและช่องทางต่าง ๆ ในพ้นื ท่ี ๓) จดั ทาและดาเนินการตามแผนใหส้ อดคล้องกบั สภาพพ้ืนท่ีและมาตรการอืน่ ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง ๔) ดูแลเฝา้ ระวงั ผ้ทู เ่ี ดินทางกลับจากพื้นท่ีหรือประเทศกลุ่มเสี่ยง รวมถึงสรา้ งความเขา้ ใจไม่ให้ สรา้ งพฤติกรรมเสีย่ งต่อสาธารณะ ตลอดจนกักตวั เองในท่ีพักเพื่อสงั เกตอาการ  สร้างความรู้ความเข้าใจในการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ ให้แก่ ประชาชนในพ้ืนที่ โดยการจัดประชุมชี้แจงโดยคณะกรรมการหมู่บ้านโดยส่วนราชการต่าง ๆ รวมถึงการแจ้ง ผ่านช่องทางส่ือสารต่าง ๆ ของหมู่บ้าน เช่น ไลน์ เพจหมู่บ้าน เป็นต้น โดยมุ่งเน้นให้ประชาชนปฏิบัติตา ม มาตรการที่รฐั บาลและจังหวดั พงั งากาหนด  จัดตัง้ คณะทางานประกอบดว้ ยผู้ใหญ่บ้าน ผ้ชู ่วยผู้ใหญ่บ้าน กรรมการหมู่บ้าน อสม. และจติ อาสา มภี ารกิจค้นหา คัดกรอง ผู้เข้าข่ายสงสัย ผู้สัมผัสโรค โดยออกดาเนินการเคาะประตูบ้าน ตรวจวัดอุณหภูมิทุก ครัวเรือนในหมู่บ้านวันละ ๒ รอบ และให้ขอ้ แนะนาในการป้องกนั ตนเอง  จดั ต้ังด่านตรวจโควดิ -๑๙ ประจาหมู่บ้าน ณ ศูนยก์ ารเรยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพียงบ้านนากลางต้ังแต่ วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๓ เป็นต้นมา โดยจัดการแบ่งออกเป็น ๒ ผลัด ๆ ละ ๑๕ คน ผู้ปฏิบัติงานส่วนหนึ่งทา หน้าทต่ี รวจคัดกรองคนเขา้ -ออก พ้ืนท่ีหม่บู า้ น สว่ นหนง่ึ ทาหน้าทส่ี แกนตามครวั เรอื น โดยการตรวจวัดอุณหภูมิ ผ้อู าศัยอยู่ในบ้านทุกคน

84  ร่วมปฏิบัติงานประจาด่านตรวจบ้านท่านุ่น ตาบลโคกกลอย ซึ่งเป็นด่านสาคัญ ในการป้องกัน การแพร่ระบาดเช้อื ไวรสั โคโรนา่ ระหว่างจังหวัดพงั งาและจงั หวัดภูเกต็

85  ตรวจสอบเฝ้าระวังบุคคลท่ีเดินทางมาจากพ้ืนที่ท่ีมีการแพร่ระบาดของโรค โดยใช้อานาจของ เจ้าพนักงานควบคุมโรคให้กักตัวเองอยู่กับบ้าน ๑๔ วัน โดยจัดทาประวัติบุคคลกลุ่มดังกล่าว และรายงานให้ อาเภอทราบเพอื่ บันทกึ ในระบบ Thai QM ของกระทรวงมหาดไทยตอ่ ไป  จัดเตรียมสถานที่กักกันตัวของผู้ท่ีเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง (Local Quarantine) โดยใช้ Home satay ของหมู่บ้านจานวน ๒ หลังเพื่อรองรบั บุคคลเป้าหมายโดยคณะกรรมการหมู่บ้านเป็นผู้ดูแลเร่ือง ทพ่ี ักอาหารการกนิ ความต้องการอ่นื ๆ โดยไม่ต้องเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยใด ๆ ทง้ั ส้นิ  มอบหมายใหก้ ลุ่มสตรีภายในหมู่บา้ นและสตรีผู้สงู อายุผลิตหน้ากากผ้าเพอื่ แจกจ่ายประชาชน ในพ้ืนที่ทุกครัวเรือนจานวน ๓๑๐ ชิ้น พระสงฆ์รูปละ ๓ ผืน มอบให้หมู่บ้านข้างเคียง ๙๐ ชิ้น และผลิต จาหน่ายให้ผู้สนใจและเครือข่ายประมาณ ๓,๐๐๐ ช้ิน โดยคณะกรรมการหมู่บ้านเป็นผู้จัดหาจักรเย็บผ้า และวสั ดอุ ุปกรณท์ ั้งหมด

86  ฉีดพ่นยาฆ่าเช้ือให้แก่บ้านเรือนประชาชนทุกครัวเรือน อาคารศูนย์เรยี นรู้ฯ วัด และสถานท่ีอ่นื ๆ ภายในหมบู่ ้านเพอื่ ปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของเชื้อโรค

87  ให้ความช่วยเหลือผู้รับผลกระทบจากเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ โดยสารวจเก็บข้อมูลเพื่อแยก ประเภทผสู้ มควรไดร้ ับการชว่ ยเหลอื ก่อนหลงั ดงั น้ี ๑) กลมุ่ ผดู้ ้อยโอกาส ผพู้ กิ าร ผู้สงู อายุ กลมุ่ น้มี ี ๑๘๘ คน การช่วยเหลือแจกจ่ายถงุ ยังชพี ทันที ครัวเรือนละ ๑ ถุง และประสานหน่วยงานที่เก่ียวข้องมาแจกจ่าย สัปดาห์ละ ๑ ถุง ในช่วงเดือนแรกของการ ประกาศปดิ เมือง โดยประกาศจงั หวัดพังงา ๒) กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบโดยตรง เช่น ผู้ถูกเลิกจ้างงาน มีจานวนประมาณ ๒๐ ครัวเรือน ได้รับการแจกถุงยังชีพจากคลังอาหาร ครัวหมู่บ้าน ทุกครัวเรือน เดือนละ ๒ คร้ัง เพื่อบรรเทาความเดือดร้อน ในเบอื้ งตน้ ๓) กลุ่มชาวบ้านท่ัวไปท่ีได้รับผลกระทบน้อย กลุ่มนี้ใช้การแลกเปล่ียนโดยให้เกณฑ์นาสิ่งที่มี มาแลกเปลี่ยนเติมเต็มส่งิ ทคี่ ุณขาด เชน่ นาปลา พชื ผกั ผลไม้ มาแลกกับขา้ วสาร เปน็ ต้น

88

89  เปิด “คลังอาหาร ครัวหมู่บ้าน” ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง โดยทาหน้าที่รวบรวมข้าวสาร อาหารแห้ง เคร่ืองด่ืม ฯลฯ จากผู้จิตศรัทธา บริษัท ห้างร้าน ภาคเอกชนท่ีเป็นเครือข่ายของคณะกรรมการ หมบู่ ้าน โดยไดร้ บั การสนับสนุนการจัดตงั้ ครัวอาหาร ดงั น้ี ข้าวสาร ๒,๕๒๐ กิโลกรมั ไขไ่ ก่ ๖๐,๐๐๐ ฟอง นา้ มนั ๓๐๐ ขวด เครื่องอุปโภคบริโภค เช่น มาม่า ปลากระป๋อง น้าตาล น้าด่ืม ฯลฯ คิดเป็นมูลค่า รวมกว่า ๔๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งคณะกรรมการหมู่บ้านได้นาไปแก้ไขปัญหาให้กับผู้ได้รับผลกระทบซึ่งผ่านการสารวจและ จัดลาดับความสาคัญแล้ว โดยสรุปทุกครัวเรือนได้รับการบรรเทาความเดือดร้อนในเร่ืองอาหารการกินในห้าง การแพร่ระบาดของโควิด – ๑๙ นอกจากน้ีคณะกรรมการหมู่บ้านได้ประสานกับองค์การบริหารส่วนตาบล โคกกลอยนาถงุ ยังชพี มาแจกจา่ ยให้กบั ผ้ไู ด้รับผลกระทบในพนื้ ท่ีอีก จานวน ๒๐๑ ถุง

90  จัดกิจกรรม “บ้านน้ีมีรัก ปลูกผักกินเองต้านภัยโควิด - ๑๙” โดยรณรงค์ส่งเสริมการเพาะพันธ์ุ ผักสวนครัว แจกจา่ ยใหป้ ระชาชนในพ้นื ท่เี พอื่ สรา้ งความมน่ั คงในอาหารให้กบั ประชาชนรองรับวกิ ฤติ

91  การให้ความช่วยเหลือพี่น้องเกษตรกรในการข้ึนทะเบียนเกษตรกร เพ่ือขอรับเงินเยียวยาตาม มาตรการเยียวยาเกษตรกร ท่ีรัฐบาลจะเยียวยาเกษตรกรท่ีได้รับผลกกระทบจากโรคระบาด COVID-๑๙ เดือนละ ๕,๐๐๐ บาท เป็นระยะเวลา ๓ เดือน ซึ่งทางคณะกรรมการหมู่บ้าน ได้ประสานงานไปยังสานักงาน เกษตรอาเภอตะก่ัวทุ่ง ในการนาเอกสารการขึ้นทะเบียนเกษตรกร มาทาให้เกษตรกรถึงในหมู่บ้าน เพ่ือลด ความแออัดของของเกษตรกรท่ีจะเดินทางไปดาเนินการทส่ี านกั งานเกษตรอาเภอ เพือ่ ใหเ้ ป็นไปตามมาตรการที่ ทางรัฐบาลกาหนด คืองดการรวมกลุ่มและการเว้นระยะห่างทางสังคม เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค COVID-๑๙ อีกทั้งเพ่ือเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายของพ่ีน้องเกษตรกรในการเดินทางไปดาเนินเร่ืองดังกล่าวน้ี ทั้งนี้ คณะกรรมการหมู่บ้านได้ให้การช่วยเหลือในด้านการกรอกเอกสาร การออกไปจับพิกัดหาค่า X,Y ให้ เกษตรกรถึงสวน และนาส่งเอกสารการข้ึนทะเบียนเกษตรกรที่กรอกข้อมูลเรียบร้อยแล้วส่งให้กับเจ้าหน้าที่ท่ี รบั ผดิ ชอบ ซงึ่ การดาเนินการดังกลา่ วน้ี ส่งผลทาใหเ้ กษตรกรในพ้ืนทบี่ า้ นนากลางไดร้ ับเงินเยยี วยาครบ๑๐๐%

92  จัดเตรียมงานและวิชาอาชีพไว้รองรับผู้ได้รับผลกระทบท่ีไม่มีรายได้หรือต้องการเข้ารับ การฝึกอบรมอาชีพ โดยสามารถเข้ามาทางานและฝึกอาชีพได้ท่ีศูนย์เรยี นรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี งบา้ นนากลาง เชน่ - การผสมดินปุย๋ - การทาน้าพริกเห็ดนางฟา้ - การทาโรงเรือนปลกู ผัก - การทาผ้าบาตกิ - การปลกู ผกั ปลอดสารพษิ - งานฝีมือ เยบ็ ปักถกั ร้อย ซ่ึงผู้ที่เข้ามาร่วมกิจกรรม จะได้รับค่าจ้างเพ่ือบรรเทาความเดือดร้อนและความรู้ไปประกอบอาชีพ เสริมสร้างรายได้ใหก้ ับตนเองและครอบครวั ทั้งน้ศี ูนย์เรียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพียงบ้านนากลางมีงานใหท้ าทุกวนั การเฝา้ ระวัง ป้องกันและแก้ไขโรคอืน่ ๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook