๔๕ (๒๓) ห้องนา้ -หอ้ งสขุ า หลังหอฉัน (ด้านทิศตะวนั ตก หลงั หอฉัน) ลกั ษณะ : เป็นอำคำรคอนกรตี ทรงเพงิ หมำแหงน ขนำด ๓ หอ้ งเครอ่ื งบน หลงั คำทำด้วยไม้เน้ือแข็ง ด้ำนหน้ำเป็นระเบยี ง หอ้ งเครื่องบนหลงั คำทำดว้ ย ไม้เนอ้ื แขง็ หลังคำ ปที สี่ ร้าง : สรำ้ งแลว้ เสรจ็ เม่ือปี พ.ศ.๒๕๔๕ ในสมัยทพ่ี ระครสู ุตธรรมชัย (พระ มหำพเิ ชษฐ์ สุเมธโส) เป็นเจ้ำอำวำส งบประมาณ : กอ่ สร้ำงเปน็ เงิน ๗๐,๐๐๐ บำท (๒๔) กุฏิพระภกิ ษสุ ามเณร ชั้นเดยี ว ๒ หอ้ ง (ดา้ นทศิ ตะวันตก) ลกั ษณะ : อำคำรช้ันเดียว ๒ ห้อง ทรงธรรมดำท่ัวไป มีหลังคำระเบียงซ้อน อยู่ด้ำนหน้ำ ฝำผนังก่อด้วยอิฐบล็อกฉำบปูน เคร่ืองบนหลังคำทำด้วยไม้ หลังคำมุงด้วยกระเบื้อง พื้นปูด้วยกระเบ้ืองท้ังภำยในและภำยนอกห้องเพ ทำงเดนิ เทำ้ โดยรอบ ปีท่สี รา้ ง: สร้ำงเสร็จเม่ือกลำงปี พ.ศ.๒๕๕๐ ในสมยั ทพ่ี ระครสู ตุ ธรรมชัย (พระมหำพเิ ชษฐ์ สุเมธโส) เปน็ เจำ้ อำวำส งบประมาณ : คำ่ กอ่ สรำ้ งเป็นเงิน ๑๔๐,๐๐๐ บำท (๒๖) กฏุ แิ ม่ชี (หลังท่ี ๑) ( ด้านทศิ เหนือ รมิ กาแพงใกลป้ ระตูเข้าออก สารอง) ลักษณะ : อำคำรช้ันเดียว ๒ ห้องส่งธรรมดำท่ัวไป เป็นอำคำรคอนกรีต มีหลงั คำระเบียง ซอ้ นอยดู่ ้ำนหน้ำฝำผนังก่อด้วยอิฐบล็อกฉำบปูน เคร่ืองบน หลังคำทำด้วยไม้เนื้อแข็ง หลังคำมุงด้วยกระเบื้อง พ้ืนภำยในห้องปูด้วย กระเบือ้ ง พน้ื ภำยนอกห้องขัดมันธรรมดำ เททำงเดนิ เทำ้ โดยรอบ ปีที่สร้าง : สร้ำงเสร็จเมื่อกลำงปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ในสมัยที่พระครูสุตธรรมชัย (พระมหำพเิ ชษฐ์ สุเมธโส) เปน็ เจำ้ อำวำส งบประมาณ : ค่ำกอ่ สรำ้ งเป็นเงิน ๑๓๐,๐๐๐ บำท
๔๖ (๒๗) กฏุ ิแมช่ ี (หลงั ที่ ๒) (ด้านทศิ เหนอื ริมกาแพง ขา้ งทางเดิน ใกลป้ ระตู เข้าออกสารอง) ลักษณะ : ช้ันเดียว ๒ ห้องนอน มีห้องทำครัว ทรงธรรมดำท่ัวไป มีหลังคำ ระเบียงซ้อนอยู่ด้ำนหน้ำ ตัวคำน เสำและพื้น ทำด้วยคอนกรีต ฝำผนังก่อด้วย อิฐบล็อก เคร่ืองบนหลังคำทำด้วยไม้เนื้อแข็ง มุงด้วยกระเบ้ือง พ้ืนปูด้วย กระเบื้องหน้ำระเบียงทำงเดนิ เทำ้ โดยรอบ ปีที่สร้าง : สร้ำงเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ในสมัยที่พระครูสุตธรรมชัย (พระมหำ พเิ ชษฐ์ สเุ มธโส) เป็นเจ้ำอำวำส งบประมาณ : ค่ำกอ่ สร้ำงเป็นเงนิ ๑๗๕,๐๐๐ บำท (๒๘) ศาลาร่มฉัตร (ศาลาสาหรบั พกั แดดฝน ริมทางเขา้ ประตวู ดั ด้าน ซ้ายมือ) ลักษณะ : ทรงสี่เหล่ียมจัตุรัส หลังคำปั้นหยำโครงหลังคำทำด้วยไม้เนื้อแข็ง มุงด้วยกระเบื้อง ทำด้วยคอนกรีต มีม้ำยำวใช้สำหรับน่ัง ๒ ด้ำน ระหว่ำงเสำ ด้ำนละ ๒ ต้น พ้ืนเทด้วยคอนกรีต ปูด้วยกระเบ้ืองแผ่นเรียบดินเผำเคลือบ เซรำมคิ ปีท่ีสร้าง : ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ในสมัยที่พระครูสุตธรรมชัย (พระมหำพิเชษฐ์ สุเมธ โส) เปน็ เจ้ำอำวำส งบประมาณ : ค่ำกอ่ สร้ำงเป็นเงนิ ๑๗๕,๐๐๐ บำท (๒๙) กุฏิสันโดษ ( กฏุ ิภกิ ษุ สามเณร ชัน้ เดยี ว ริมถนนด้าน ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ) ลักษณะ : กุฏิช้ันเดียว ทรงไทย โครงหลังคำเป็นไม้เน้ือแข็งซ้อนกัน ๒ ช้ัน มุงด้วยกระเบ้ือง ฝำผนังทำด้วยอิฐบล็อกฉำบปูน พ้ืนปูด้วยกระเบ้ืองดินเผำ เคลือบเซรำมิกเดิมเป็นศำลำพักร้อนต่อมำมีกำรสร้ำงกำแพงวัด ได้ บรู ณะปฏสิ ังขรณ์เป็นกุฏิพระภกิ ษุ สำมเณร ปีทสี่ ร้าง : บรู ณปฏสิ งั ขรณ์เสร็จเมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๔ งบประมาณ : ค่ำบรู ณะปฏิสงั ขรณ์เป็นเงนิ ๔๕,๐๐๐ บำท
๔๗ (๓๐) ห้องน้า-ห้องสขุ า (ด้านทศิ ตะวันตกเฉียงเหนอื ใกลป้ ระตูเข้าอกสารอง) ลกั ษณะ : ทรงธรรมดำทั่วไป ตัวคำน-เสำ และพ้ืนหล่อด้วยคอนกรีต ฝำผนังก่อ ด้วยอิฐบล็อก ฉำบปูน เครื่องบนหลังคำทำด้วยไม้เน้ือแข็ง มุงด้วยกระเบื้อง พ้ืนปูดว้ ยกระเบ้อื งดินเผำเคลอื บเซรำมิค และตดิ กระเบ้ืองฝำผนังลำยดอกไม้หน้ำ ระเบยี งทำงเดนิ เทำ้ เทด้วยคอนกรีต ปที ส่ี รา้ ง : สรำ้ งเสรจ็ เมอ่ื ปลำยปี พ.ศ. ๒๕๕๕ งบประมาณ : คำ่ กอ่ สรำ้ งเปน็ เงิน ๘๕,๐๐๐ บำท (๓๑) ลานปฏบิ ตั ิธรรมานุสรณ์ (หน้าอุโบสถ) ลักษณะ : เป็นลำนเรียบโล่งจำกกำรถำมบ่อและท่ีลุ่มด้วยดินลูกรังแล้วเกลี่ยทับ ดำ้ นบนดว้ ยทรำยมอี ำสนะสงฆ์ คำนหล่อด้วยคอนกรีต ก่อด้วยอิฐบล็อกฉำบปูน ตรงกลำงหน้ำอำสนะสงฆ์มีพระประธำนทำด้วยศิลำทรำยแดงของเก่ำ ขนำด หนำ้ ตัก ๑ ศอก ๑๒ น้ิว สูง ๒ ศอก ๕ นิ้ว ปำงมำรวิชัยสมัยอยุธยำ ประดิษฐำน อยู่บนฐำนชุกชี ปลูกต้นไม้ไว้ร่มรื่น เหมำะสำหรับกำรปฏิบัติธรรมท้ังได้ใช้เป็น สถำนท่ีประกอบพิธีกรรมในวันสำคัญทำงพุทธศำสนำ และเป็นที่อบรมเด็ก นักเรียน ปที สี่ รา้ ง : สรำ้ งเสร็จเมื่อปลำยปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ในสมยั ทีพ่ ระครสู ตุ ธรรมชยั (พระ มหำพเิ ชษฐ์ สุเมธโส) เป็นเจ้ำอำวำส งบประมาณ : ค่ำก่อสรำ้ งเปน็ เงิน ๒๕๐,๐๐๐ บำท (๓๒) ซมุ้ ประตทู างเขา้ วัด (ด้านทศิ ตะวันออก) ลักษณะ : ทรงเรือนแก้ว มียอด ๘ ยอด ด้ำนหน้ำซุ้มใหญ่ปั้นรูปรำหูถือลำยไทย ก้ำนขดและเขียนปริศนำธรรม ด้ำนหน้ำและด้ำนหลังมีซุ้มเล็ก ๔ ซุ้ม ปั้นพระพุทธรูปปำงสมำธิ เขียนพระพุทธ ศำสนสุภำษิตและปริศนำธรรม ดำ้ นขำ้ งอกี ๒ ซุม้ เล็กเปน็ ศลิ ปะลวดลำยไทย ปีทสี่ ร้าง : เริม่ ก่อสรำ้ งเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๓ เสร็จสมบูรณ์เม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๕ ในสมัย พระครสู ตุ ธรรมชัย (พระมหำพเิ ชษฐ์ สุเมธโส) เปน็ เจ้ำอำวำส งบประมาณ : คำ่ กอ่ สร้ำงเปน็ เงิน ๔๕๐,๐๐๐ บำท
๔๘ (๓๓) ร้วั กาแพงวดั ดา้ นทิศตะวนั ออก ลกั ษณะ : เป็นรั้วกำแพงทึบ คำนและเสำหล่อด้วยคอนกรีต ก่อด้วยอิฐบล็อก ฉำบปนู บนปลำยยอดเสำของร้ัวกำแพงมีรูปปูนป้ันใบพัทธสีมำทุกต้น แต่ละ ช่องกว้ำง ๓ เมตร สูงจำกพื้นดินถึงหลังกำแพง ๑.๘ เมตร รั้วกำแพงแต่ละ ช่องแกะสลักชื่อผู้บริจำคเป็นอักษรสีทองบนหินอ่อน ติดต้ังตรงกลำงของทุก ช่อง บนปลำยยอดเสำท้ัง ๒ ต้นของประตูสำรอง (ด้ำนซ้ำยและด้ำนขวำ) มี รูปลำยปูนปั้นพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรตั้งอยู่ ขนำดของร้ัวกำแพงทำงด้ำน ทิศตะวนั ออก ยำว ๑๑๖.๔๕ เมตร สงู ถึงปลำยยอดใบพทั ธสีมำ ๒.๓๐ เมตร ปที ี่สร้าง : สร้ำงเสร็จเมื่อปลำยปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ในสมยั ที่พระครสู ุตธรรมชยั (พระมหำพิเชษฐ์ สุเมธโส) งบประมาณ : ค่ำก่อสร้ำงเปน็ เงนิ ๒๔๐,๕๐๐ บำท (๓๔) รั้วกำแพงวัดทำงด้ำนทิศเหนือ ลักษณะ : เหมือนร้ัวกำแพงทำงด้ำนทิศตะวันออก ควำมยำวท้ังหมด ๑๘๓ เมตร ควำมสูงถึงปลำยยอดใบพทั ธสีมำ ๒.๓๐ เมตร ปที ส่ี ร้าง : สรำ้ งเสร็จเมอ่ื ปี พ.ศ. 2549 ในสมยั ที่พระครสู ดุ ธรรมชัย (พระมหำ พเิ ชษฐส์ ุเมธโส) เป็นเจำ้ อำวำส งบประมาณ : คำ่ กอ่ สร้ำงเป็นเงนิ ๓๘๓,๕๐๐ บำท (๓๕) ถนนภายในวัด ลักษณะ : เปน็ ถนนคอนกรีตเชือ่ มตดิ ต่อถึงกนั ภำยในวดั ท้ังหมด ๖ สำย ปที ส่ี ร้าง : สรำ้ งเสร็จเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ในสมัยที่พระครสู ุดธรรมชัย (พระ มหำพเิ ชษฐ์สุเมธโส) เปน็ เจ้ำอำวำส งบประมาณ : ค่ำก่อสรำ้ งเปน็ เงนิ ๗๔,๐๐๐ บำท
บทท่ี 4 การมสี ่วบชมุนทชทรนี่ ว่4ในมกกาขารอรมชงีสว่ ชว่ ยนมุกรนั่ชวอมนนขใรอุ ักนงษ์ การชว่ ยกนั อนรุ ักษ์
๔๙ บทท่ี 4 การมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนในการชว่ ยกนั อนุรกั ษ์ ๔.๑ การมีสว่ นรว่ มในการพฒั นาวดั และศาสนสถาน - ผนู้ าชมุ ชน ก ำ ร เ ข้ ำ ม ำ มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก ำ ร พั ฒ น ำ วั ด จ ำ ป ำ ข อ ง ผู้ น ำ ชุ ม ช น (ผู้ใหญ่บ้ำน กำนัน สมำชิกองค์กำรบริหำรส่วนตำบล) จะเป็นใน ลักษณะของกำรบูรณะซ่อมแซมวัดร่วมกับชำวบ้ำน อำทิ กำรทำสี กำแพงวัด กำรก่อสร้ำงอีกทั้งกำรเข้ำมำมีส่วนร่วมในลักษณะของกำร ประสำนงำนกับหนว่ ยงำนต่ำง ๆ ท่ีจะเข้ำมำดำเนินกำรก่อสร้ำงหรือจัด งำนต่ำงๆ ภำยในวัด นำยเกียรติศกั ด์ิ คงรนิ ทร์ (ผใู้ หญ่บำ้ น) - ชาวบา้ นในชุมชน กำรเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำวัดจำปำของชำวบ้ำน จะเป็นใน ลักษณะของกำรดำเนินกำรบูรณะซ่อมแซมวัด ทั้งในลักษณะของกำร บริจำคเงินเพื่อสร้ำงสิ่งก่อสร้ำงต่ำงๆ ภำยในวัด หรือในลักษณะของกำร รวมตัวกันเพ่ือเข้ำมำบูรณะซ่อมแซมด้วยตนเอง เช่น กำรทำสีกำแพงวัด กำรทำควำมสะอำดภำยในบรเิ วณวดั เปน็ ตน้
๕๐ - พระสงฆ์ กำรมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำวัดจำปำของพระสงฆ์ จะเป็นในลักษณะของ กำรดูแลสภำพแวดล้อมภำยในบริเวณวัด กำรบูรณะซ่อมแซมสิ่งก่อสร้ำง ต่ำงๆ ภำยในวัด ซ่ึงจะเป็นใน 2 ลักษณะ ได้แก่ 1) กำรร่วมมือกับผู้นำ ชุมชน และชำวบ้ำน กับ 2) กำรร่วมมือกับทำงกรมศิลปำกร ตลอดจนกำร ธำรงรักษำไว้ซึ่ง โบรำณสถำนท่ีมีควำมสำคัญทำงประวัติศำสตร์ของวัด จำปำ - สถานศกึ ษา กำรเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำวัดจำปำของโรงเรียนบ้ำนหนองมน ส่วนใหญ่จะเป็นในลักษณะของกำรรวมตัวกันเพื่อทำควำมสะอำดภำยใน บริเวณวดั - หนว่ ยงานราชการในพืน้ ท่ี กำรเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำวัดจำปำขององค์กำรบริหำรส่วน ตำบลทุ่ง ส่วนใหญ่จะเป็นในลักษณะของกำรให้ควำมช่วยเหลือ หรือให้ ควำมสนับสนนุ ท่ีทำงวดั จำปำได้ดำเนินกำรติดต่อเพ่ือให้เข้ำมำช่วยเหลือใน ด้ำนต่ำงๆ อำทิ ด้ำนงบประมำณ ด้ำนบุคลำกร ด้ำนเอกสำร หรือข้อมูล ตำ่ งๆ ท่จี ำเป็น เปน็ ตน้ ๔.๒ การมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมวนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนา - ผู้นาชมุ ชน ผู้นำชุมชนเข้ำมำมีส่วนร่วมในกิจกรรมวันสำคัญทำงพระพุทธ ศำสนำโดยทำหนำ้ ที่ในกำรประสำนงำนส่วนต่ำงๆ และร่วมกิจกรรมในวัน สำคัญทำงพระพุทธศำสนำ
๕๑ - ชาวบา้ นในชมุ ชน กำรเข้ำมำมีส่วนร่วมในกิจกรรมวันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำกับวัด จำปำของชำวบ้ำนท่ีอำศัยอยู่ในชุมชนรอบๆ บริเวณวัด จะเป็นในลักษณะ ของกำรทำกิจกรรมร่วมกับวัด เช่น กำรทำบุญวันพระ กำรทำบุญวันเกิด งำนอุปสมบท และวันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ ซึ่งวัดจำปำถือเป็นวัดที่มี ชำวบำ้ นมำรว่ มทำกจิ กรรมทำงศำสนำเปน็ ประจำอย่ำงต่อเน่ือง โดยเฉพำะ ในชว่ งของวนั สงกรำนต์ วันสำรทเดอื นสิบ จะมีชำวบ้ำนเข้ำมำร่วมกิจกรรม เป็นจำนวนมำก เนื่องจำกวันดังกล่ำวเป็นวันที่คนอยู่ไกลบ้ำนได้มีโอกำส กลบั มำร่วมทำบุญและพบปะสังสรรคก์ ันในระหวำ่ งเครอื ญำติ - พระสงฆ์ กำรมีสว่ นรว่ มของพระสงฆใ์ นกิจกรรมวันสำคัญทำงพระพทุ ธศำสนำ จะเป็นในลักษณะของกำรเป็นผู้นำในกำรประกอบพิธีกรรมทำงศำสนำ รวมถึงกำรบรรยำยธรรมะแก่พุทธศำสนิกชนที่เข้ำร่วมกิจกรรมทำงศำสนำ เช่น กำรทำบุญวันพระ กำรทำบุญวันเกิด งำนอุปสมบท วันสำคัญทำง พระพุทธศำสนำ เปน็ ตน้ - สถานศกึ ษา (1) โรงเรียนบ้านหนองมน กำรเข้ำมำมีส่วนร่วมในกิจกรรมวันสำคัญ ทำงพระพุทธศำสนำกับวัดจำปำของโรงเรียนบ้ำนหนองมน ส่วนใหญ่จะ เปน็ ไปในลกั ษณะของกำรเขำ้ ร่วมกจิ กรรมในวนั สำคัญทำงพระพุทธศำสนำ อำทิ วันวิสำขบูชำ วันอำสำฬหบูชำ วันเข้ำพรรษำ ผ่ำนรูปแบบของกำรท่ี ทำงโรงเรียนนำนักเรียนไปร่วมเวียนเทียน ฟังธรรม และน่ังสมำธิ ขณะเดียวกันวัดจำปำได้มีบทบำทกับทำงโรงเรียน ผ่ำน กำรมอบ ทุนกำรศึกษำ และกำรบรรยำยธรรมะให้กับนักเรียนเพ่ือใช้ในกำรสอบ นักธรรม ซึ่งจะจัดข้ึนทุกๆ วันศุกร์ของสัปดำห์ที่โรงเรียน รวมถึงมีกำร นิมนต์พระภิกษุจำกวัดจำปำเข้ำมำร่วมกิจกรรมต่ำง ๆ ของทำงโรงเรียน เชน่ วันครู วันสำคญั ทำงพระพทุ ธศำสนำ วนั แม่ วันประชุมผปู้ กครอง เป็
๕๒ (2) ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลทงุ่ กำรเข้ำมำมีส่วนร่วมในกิจกรรมวันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ กับวัด จำปำของศูนย์พัฒนำเด็กเล็ก องคก์ ำรบรหิ ำรสว่ นตำบลทุ่ง จะเป็นในลักษณะ ของกำรเข้ำมำมีส่วนร่วมในกิจกรรมวันสำคัญทำงศำสนำ อำทิ วันมำฆบูชำ วันวิสำขบูชำ วันอำสำฬหบูชำ วันเข้ำพรรษำ วันสำรทเดือนสิบ เป็นต้น ผ่ำนรูปแบบของกำรที่ทำงศูนย์พัฒนำเด็กเล็กนำนักเรียนไปร่วมเวียน เทยี น ฟังธรรม และน่งั สมำธิ อกี ท้งั บคุ ลำกรของศนู ยพ์ ฒั นำเดก็ เล็กได้เข้ำไปมี ส่วนร่วม/ช่วยเหลือในกำรจัดกิจกรรม/งำนวันสำคัญต่ำง ๆ ท่ีจัดขึ้นของวัด เช่น กำรปิดทองฝังลูกนิมิตร ขณะเดียวกันวัดจำปำก็ได้ไปมีบทบำทใน กิจกรรมที่ศูนย์พัฒนำเด็กเล็กจัดขึ้น เช่น กิจกรรมวันแม่ กิจกรรมวันไหว้ครู เปน็ ตน้ - หน่วยงานราชการในพื้นที่ กำรเข้ำมำมีส่วนร่วมในกิจกรรมวันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ กับวัด จำปำขององค์กำรบริหำรส่วนตำบลทุ่งจะเป็นในลักษณะของกำรเข้ำร่วม กิจกรรมในวันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ โดยบุคลำกรหรือเจ้ำหน้ำของ องค์กำรบริหำรส่วนตำบลทุ่งก็จะเข้ำร่วมกิจกรรมในวันสำคัญ รวมถึงงำน ประเพณีต่ำง ๆ ที่ทำงวัดจำปำจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี อำทิ วันวิสำขบูชำ วันอำสำฬหบชู ำ วนั เขำ้ พรรษำ วันสำรทเดอื นสบิ จำกบทบำทกำรมีส่วนร่วมในกำรอนุรักษ์วัดจำปำ สำมำรถอธิบำยได้ 2 ลักษณะสำคัญ คือ 1) กำรมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำวัด และศำสนสถำนซึ่ง บทบำทหนำ้ ท่ขี องกำรมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมดังกล่ำวของผู้นำชุมชน ชำวบ้ำน ในชุมชน พระสงฆ์ สถำนศึกษำ ตลอดจนหน่วนงำนรำชกำรในพื้นท่ีจะเป็น ในลักษณะของกำรทำควำมสะอำดภำยในบริเวณวัด กำรบูรณะซ่อมแซมผ่ำน รปู แบบของกำรบริจำคเงิน กำรลงมอื ปฏบิ ัติ และกำรมสี ่วนร่วมของหน่วยงำน ภำยนอก เช่น กรมศิลปำกร
๕๓ 2) กำรมีส่วนร่วมในกิจกรรมวันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ ซ่ึงบทบำท หน้ำท่ีของกำรมีส่วนร่วมในกิจกรรมดังกล่ำวของผู้นำชุมชน ชำวบ้ำนใน ชมุ ชน พระสงฆ์ สถำนศึกษำ ตลอดจนหนว่ ยงำนรำชกำรในพ้ืนท่ีจะเป็นใน ลักษณะของกำรเข้ำร่วมกิจกรรมในวันสำคัญต่ำงๆ อำทิ วันมำฆบูชำ วันวิสำขบูชำ วันอำสำฬหบูชำ วันเข้ำพรรษำ วันสำรทเดือนสิบ เป็นต้น ผ่ำนรปู แบบของกิจกรรมกำรทำบุญตักบำตร กำรเวียนเทียน กำรสวดมนต์ ฟังธรรมเทศนำ เป็นตน้ จำกกำรกล่ำวมำข้ำงต้น จะเห็นได้ว่ำ กำรเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำร อนุรักษ์วัดจำปำของผู้นำชุมชน ชำวบ้ำนในชุมชน พระสงฆ์ สถำนศึกษำ ตลอดจนหน่วนงำนรำชกำรในพ้ืนที่ ต่ำงมีเป้ำประสงค์สำคัญในกำร ช่วยกนั อนุรักษ์ และธำรงรักษำไว้ซ่ึงศำสนสถำน ขนบธรรมเนียมประเพณี วฒั นธรรมด้ังเดิมของบรรพบุรุษท่ีมีควำมสำคญั ต่อวัดจำปำและชุมชน เพื่อ ร่วมกันสืบสำนให้สำมำรถดำรงอยู่ควบคู่ไปกับตำบลทุ่ง เน่ืองจำกวัดเป็น สถำนท่ขี ัดเกลำ และเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธศำสนิกชนท่ีอำศัยอยู่ โดยรอบ อีกท้ังยังเป็นสถำนที่หลอมรวมควำมเป็นหนึ่งเดียวของคนใน ชมุ ชน
ชำวบำ้ นในชมุ ชน
สถำนศกึ ษำ
บทท่ี ๕ สรปุ
๕๔ โบรำณวัตถุ โบรำณสถำนเป็นมรดกทำงศิลปวัฒนธรรมที่เปรียบ เสมอื นเครือ่ งสื่อสำรใหค้ นปัจจุบนั เรียนรเู้ หตุกำรณ์ท่ีเกิดขึ้นในอดีต ด้วยเหตุนี้ โบรำณสถำนที่ปรำกฎในจังหวัดสุรำษฎร์ธำนีได้กลำยเป็นตำรำท้องถิ่นท่ี รวบรวมเน้ือหำสำระทำงประวัติศำสตร์ โบรำณคดีสถำปัตยกรรม วัฒนธรรม เอกลักษณ์และภูมิปัญญำจำกกำรผสมผสำนของบรรพชนสู่ควำมเป็น เอกลักษณ์ ทำให้จังหวัดสุรำษฎร์ธำนีเป็นอีกหน่ึงจังหวัดท่ีมีควำมงดงำมทำง ศิลปะ เรียกขำนผ่ำนนำมศิลปะศรีวิชัยอันเลื่องลือ อันเป็นเหตุให้ดินแดนของ จังหวัดสุรำษฎร์ธำนีโดยเฉพำะพ้ืนท่ีในอำเภอไชยำได้กลำยเป็นดินแดนอัน ทรงคณุ คำ่ แหง่ กำรศึกษำเรอ่ื งรำวทำงประวตั ศิ ำสตร์ จำกกำรศึกษำวัดจำปำที่ครอบคลุมกรอบประเด็นต่ำงๆ อันประกอบ ด้วย บริบทชุมชน, วัดจำปำ และกำรมีส่วนร่วมของชุมชนในกำรช่วยกัน อนุรกั ษว์ ดั จำปำ สำมำรถสรปุ ควำมสำคัญในแตล่ ะดำ้ นไดด้ งั น้ี ตำบลทงุ่ เปน็ ส่วนหนงึ่ ของอำเภอไชยำทม่ี อี ำณำเขตอยูท่ ศิ ทำงตะวันออก ดว้ ยควำมเปน็ ส่วนหน่ึงของเมืองท่ีเต็มไปด้วยควำมรุ่งเรือง และประวัติศำสตร์ อันยำวนำนน้ี ส่งผลให้ตำบลทุ่งได้กลำยเป็นพื้นท่ีทำงประวัติศำสตร์ท่ีสำคัญ นำไปสู่กำรปรำกฎสถำนท่ีทำงประวัติศำสตร์ เช่น ศำลำคงคำชัย วัดตะเคียน วัดจำปำ และศำลำเชือด ด้วยลักษณะพ้ืนท่ีของควำมอุดมสมบูรณ์ เหมำะแก่ กำรทำนำและเลี้ยงสัตว์ สู่กำรพัฒนำเป็นท่ีต้ังชุมชนในเวลำต่อมำ ปัจจุบัน ตำบลทุ่งแบ่งเขตกำรปกครองออกเป็นหมู่บ้ำนโดยมีพ้ืนที่ครอบคลุม ๘ หมู่บ้ำน มีประชำกรจำนวนกว่ำ ๕,๐๐๐ คน ประชำชนส่วนใหญ่ประมำณ ๙๐% มกี ำรนับถือศำสนำพุทธ อีกทง้ั มีสถำนศึกษำจำนวน ๔ แห่ง ได้แก่ ศูนย์ พัฒนำเด็กเล็กบ้ำนหนองมน, โรงเรียนบ้ำนหนองมน, โรงเรียนวัดไตร รตั นำกร และโรงเรียนบ้ำนนำแค และด้วยลักษณะพื้นที่ดังกล่ำวข้ำงต้นส่งผล ให้สภำพทำงเศรษฐกิจตำบลทุ่งข้ึนอยู่กับกำรทำเกษตร เลี้ยงสัตว์ และ กำรคำ้ ขำยเป็นหลัก
๕๕ วัดจำปำเป็นวัดรำษฎร์ที่มีควำมเก่ำแก่ และมีอำยุมำยำวนำนในเขต ชุมชนไชยำโบรำณ ตั้งอยู่กลำงชุมชนที่มีควำมเจริญรุ่งเรืองมำกมำก่อน จึงปรำกฎโบรำณสถำน โบรำณวัตถุ และถำวรวัตถุที่ทรงคุณค่ำ เป็นมรดก ทำงศิลปะและวัฒนธรรมอันล้ำค่ำที่ตกทอดมำถึงปัจจุบัน มีส่ิงก่อสร้ำงท่ี สำคญั ของวัดจำปำ ได้แก่ วิหำรไม้ วิหำรหลังน้ีผ่ำนกำลเวลำมำนำน จำก รุ่งเรอื งส่โู รยรำ และกลับฟนื้ คนื ควำมงดงำมอีกคร้ังในปัจจุบัน ซึ่งเป็นศิลปะ สมัยอยุธยำตอนปลำย ด้วยควำมสง่ำงำมของรูปทรง โครงสร้ำง กำร ประดับตกแต่งส่วนหน้ำบันด้วยกนกก้ำนขดอย่ำงมีชั้นเชิง วันเวลำที่ เปล่ียนแปลงเป็นเหตุแห่งกำรเปล่ียนผ่ำนของวัดจำปำในปัจจุบัน กล่ำวคือ มีกำรปรำกฎวัดร้ำงรอบๆ บริเวณของวัดจำปำหลำยวัดด้วยกัน อำทิ วัด สำกเหล็ก วัดนำงชี วัดมำร วัดแปบ และวัดควน ด้วยเหตุน้ีวัดจำปำจึง กลำยเป็นศูนย์รวมทำงพุทธศำสนพิธี เป็นสถำนท่ีอบรมขัดเกลำจิตใจของ พุทธศำสนิกชนให้ม่ันคงอยู่ในพระพุทธศำสนำ เป็นที่พบปะของผู้คนท่ีมี จติ ใจศรัทธำ เสมอื นด่งั เปน็ ศูนยร์ วมจิตใจของผคู้ นในชมุ ชน กำรเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรอนุรักษ์วัดจำปำของผู้นำชุมชน ชำวบ้ำน ในชมุ ชน พระสงฆ์ สถำนศึกษำ ตลอดจนหน่วนงำนรำชกำรในพื้นที่ ต่ำงมี เป้ำประสงค์สำคัญในกำรช่วยกันอนุรักษ์ และธำรงรักษำไว้ซึ่งศำสนสถำน ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมดั้งเดิมของบรรพบุรุษท่ีมีควำมสำคัญ ต่อวัดจำปำและชุมชน เพื่อร่วมกันสืบสำนให้สำมำรถดำรงอยู่ควบคู่ไปกับ ตำบลทุ่ง เนื่องจำกวัดเป็นสถำนท่ีขัดเกลำ และเป็นส่ิงยึดเหน่ียวจิตใจของ พุทธศำสนิกชนท่ีอำศัยอยู่โดยรอบ อีกท้ังยังเป็นสถำนท่ีหลอมรวมควำม เปน็ หน่งึ เดยี วของคนในชุมชน
๕๖ ท้องถ่ิน คือชุมชนแห่งกำรตั้งถิ่นฐำนของคน ซึ่งมีเอกลักษณ์ที่ แตกตำ่ งกนั ขนึ้ อยู่กบั สภำพภมู ปิ ระเทศ ภมู อิ ำกำศ วัฒนธรรม ภูมิปัญญำ ของคนท่ีอำศัยอยู่ ณ ที่แห่งน้ัน ด้วยเหตุนี้ตำบลทุ่งจึงได้กลำยเป็น ดินแดนที่มีควำมสำคัญและรุ่งเรืองในเส้นทำงประวัติศำสตร์อันยำวนำน ในเขตชุมชุนไชยำโบรำณ เป็นที่อยู่อำศัยของผู้คนมำกมำยมำต้ังแต่อดีต จวบจนปัจจุบัน มีสถำนท่ีทำงประวัติศำสตร์ อันทรงคุณค่ำท่ีมีควำม งดงำมเปรียบเสมือนกำรประกำศควำมเป็นศูนย์กลำงของชุมชน ภำยใต้ กำรให้ควำมสำคัญของผู้คนและกำรเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรอนุรักษ์ เพ่ือให้สถำนท่ีแห่งน้ีดำรงอยู่ควบคู่กับชุมชนต่อไป ด้วยกำรเป็นศูนย์รวม จิตใจของผ้คู นในชุมชนของตำบลทงุ่
ภาคผนวก
๕๗ ภาคผนวก ชื่อโครงการ : ศึกษาวัดจาปา สมาชกิ : ๑. นำงสำวกำนตธ์ รี ำ สขุ อนันต์ ๒. นำงสำวชนิกำนต์ พลภักดี ๓. นำงสำวดวงดำว ศรีเกตุ ๔. นำงสำวธำนสิ ำ อนิ นำปำ ๕. นำงสำวยลรดี ทองมแี สง ๖. นำงสำววลิ ัยวณั ย์ จนั ทรต์ ้น รายวชิ า : ESO๐๑๑๓ ท้องถิน่ ศึกษา (Local Studies) ภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ๑. ความสาคญั ของการศกึ ษา จังหวัดสุรำษฎร์ธำนี เป็นจังหวัดในภำคใต้ตอนบน ตั้งอยู่ในฝ่ังตะวัน ออกของภำคใต้ มสี ภำพภมู ิประเทศที่หลำกหลำยทงั้ ท่ีเป็นแบบภูเขำ ท่ีรำบ สูง รวมทั้งที่รำบชำยฝั่ง มีพ้ืนท่ีครอบคลุมถึงบริเวณอ่ำวไทยท้ังบริเวณท่ี เป็นทะเล และเป็นเกำะ อีกทั้งเป็นแหล่งอำรยธรรมโบรำณที่สำคัญที่สุด แห่งหน่ึงในภำคใต้ ปรำกฏหลักฐำนแสดงร่องรอยกำรต้ังถิ่นฐำนอยู่อำศัย ของเผ่ำพันธุ์มนุษย์ ย้อนหลังกลับไปเมื่อประมำณ ๗,๐๐๐ กว่ำปีมำแล้ว นับตั้งแต่สมัยต้นพุทธกำลเป็นต้นมำ มีหลักฐำนกำรสร้ำงบ้ำนเมืองของรัฐ รอบอ่ำวบ้ำนดอน โดยพบหลักฐำนทำงโบรำณคดีที่ชี้ชัดควำมเป็นชุมชนท่ี ชัดเจนขึ้น ในสมัยแรกเริ่มประวัติศำสตร์ ในช่วงระยะเวลำประมำณพุทธ ศตวรรษท่ี ๕-๑๐ ได้แก่ กำรเกิดสถำนีกำรค้ำ หรือชุมชน เมืองท่ำ กำร เกดิ ขึ้นของชุมชนใหม่ทมี่ ำรวมตวั กนั เพ่ือกิจกรรมทำงกำรค้ำ
๕๘ เนื่องจำกทำเลท่ีต้ังเป็นจุดกึ่งกลำงระหว่ำงเส้นทำงกำรค้ำท่ีสำคัญ ของโลกในยุคน้ัน คือ จีน และอินเดีย กับกำรปรำกฏของชุมชนท่ีตั้งถ่ิน ฐำนถำวรบนพ้ืนท่ีรำบชำยฝ่ังทะเล หรือริมเส้นทำงน้ำในลักษณะชุมชน เกษตรกรรมก้ำวหน้ำที่มีเคร่ืองมือเหล็กซ่ึงรับมำจำกชุมชนภำยนอกเป็น อุปกรณ์ในกำรทำนำดำแบบท่ีมีคันนำทดน้ำ (Inundation System Rice Agriculture) แทนกำรทำนำหว่ำนแบบนำเล่ือนลอยในพ้ืนท่ีลุ่มน้ำท่วม ขัง (Wet Swidden Agriculture) รู้จักกำรควบคุมผลผลิต กำรคัดเลือก พันธุข์ ำ้ ว (นงครำญ สุขสม, ๒๕๔๕ : ๓๒-๕๓) ชุมชนโบรำณดังกล่ำวนี้ในเวลำต่อมำตั้งแต่พุทธศตวรรษท่ี ๑๑-๑๘ ได้มีพัฒนำกำรขึ้นเป็นชุมชนใหญ่ ได้พบหลักฐำนทำงโบรำณคดีท่ีแสดง ให้เห็นถึงควำมหลำกหลำยซับซ้อนของสังคม กำรปรำกฏของเมืองหรือ นครรัฐชัดเจนมำกที่สุดในช่วงพุทธศตวรรษท่ี ๑๔ โดยมีแหลมโพธ์ิ (ต้ังอยใู่ นตำบลพมุ เรยี ง) เปน็ ตลำดกำรค้ำหรือย่ำนธุรกิจกำรพำณิชย์และ อุตสำหกรรมที่สำคัญที่สุดของนครรัฐแห่งนี้ ผู้ปกครองมีฐำนะเป็น พระรำชำ มพี ทุ ธศำสนำฝ่ำยมหำยำนเปน็ ศำสนำประจำรัฐ ท้ังยังปรำกฏ ควำมหลำกหลำยของกลุ่มลัทธิ ควำมเชื่อ และศำสนำต่ำงๆ มีกำร สร้ำงศำสนสถำน (วัด) ในอำเภอไชยำ เพื่อถ่ำยทอดอุดมกำรณ์ทำง ศำสนำจำนวนหลำยวัด ได้แก่ วดั พระบรมธำตไุ ชยำรำชวรวิหำร วัดเวียง วัดแก้ว (วัดรัตนำรำม) วัดศำลำทิ้ง (วัดชยำรำม) วัดจำปำ วัดป่ำลิไลยก์ วัดสหุ นิมิต และวดั หลง
๕๙ วัดดังกลำ่ วขำ้ งตน้ ลว้ นแล้วแต่มีควำมสำคัญในประวัติศำสตร์ เป็นวัด บนเสน้ ทำงอำรยธรรมศรวี ชิ ยั ทุกวดั จะมีโบรำณสถำน โบรำณวัตถุ ที่เป็น ทรพั ยำกรทำงวฒั นธรรมทมี่ คี ณุ ค่ำยิ่ง ถือเป็นทรัพยำกรกำรท่องเท่ียวทำง วัฒนธรรม ๒. วตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษา ๒.๑ ศึกษำบริบทของชมุ ชนวดั จำปำ ๒.๒ ศกึ ษำประวัติควำมเป็นมำของวัดจำปำ ๒.๓ ศกึ ษำกำรมสี ว่ นรว่ มของชุมชนในกำรช่วยกันอนุรกั ษ์วดั จำปำ ๓. ประโยชน์ ๓.๑ ชุมชน วัด สถำนศึกษำ (บวร) ชุมชน วัด สถำนศึกษำได้รับ ประโยชนใ์ นส่วนของข้อมูลเก่ียวกับประวัติควำมเป็นมำของวัด กำรมีส่วน ร่วมและกำรอนุรักษ์วัดของผู้นำชุมชน องค์กำรบริหำรส่วนตำบลทุ่ง สถำนศึกษำ และคนในชุมชน โดยผ่ำนกำรจัดทำเป็นรูปเล่มหนังสือ (Pocket books) เพ่ือตระหนกั ถึงควำมสำคญั รู้จักคุณค่ำ มีควำมรู้สึกหวง แหน และช่วยกันธำรงรักษำให้วัดจำปำดำรงอยู่เป็นศูนย์รวมจิตใจของ ผคู้ นในชมุ ชนตอ่ ไป ๓.๒ หน่วยงำน องค์กรเก่ียวข้ององค์กำรบริหำรส่วนตำบลทุ่งสำมำรถ นำข้อมูลที่ได้รับไปเผยแพร่ให้แก่ประชำชนในพ้ืนท่ี และนักท่องเที่ยว เพ่ือให้ทรำบถึงประวัติควำมเป็นมำของวัดจำปำ ตลอดจนข้อมูลอ่ืนๆที่ เก่ียวกับวัด เพื่อเป็นกำรส่งเสริมให้ประชำชนได้เข้ำมำมีส่วนร่วมในกำร อนุรักษ์วัดจำปำเพิ่มมำกขึ้น ขณะเดียวกันองค์กำรบริหำรส่วนตำบลทุ่ง สำมำรถนำข้อมูลท่ีได้ไปใช้ในกำรกำหนดแนวทำงกำรอนุรักษ์วัดจำปำให้ ดำรงอยูค่ ู่กับตำบลท่งุ ตอ่ ไป
๖๐ ๔. กรอบแนวทางการศึกษา ๔.๑ บริบทชุมชน ๔.๑.๑ ประวตั ิควำมเปน็ มำของตำบลทงุ่ ๔.๑.๒ ทำเลที่ตงั้ ๔.๑.๓ ดำ้ นกำรปกครอง ๔.๑.๔ สภำพทำงสงั คม ๔.๑.๕ สภำพทำงเศรษฐกิจ 4.1.6 กำรนับถือศำสนำ สถำบัน และองคก์ รทำงศำสนำ ๔.๒ วัดจาปา ๔.๒.๑ สถำนทต่ี ้ัง ๔.๒.๒ ประวัตคิ วำมเป็นมำของวัดจำปำ ๔.๒.๓ วัดจำปำในประวตั ิศำสตรเ์ มอื งไชยำ ๔.๒.๔ โบรำณสถำน โบรำณวตั ถุ และถำวรวัตถุที่สำคญั ๔.๒.๕ ลำดับเจำ้ อำวำส ๔.๒.๖ วดั จำปำในสมัยปจั จบุ ัน ๔.๓ การมีส่วนร่วมของชมุ ชนในการชว่ ยกนั อนรุ ักษ์ ๔.๓.๑ ผูน้ ำชุมชน ๔.๓.๒ ชำวบำ้ นในชุมชน ๔.๓.๓ พระสงฆ์ ๔.๓.๔ สถำนศึกษำ ๔.๓.๕ หนว่ ยงำนรำชกำรในพ้นื ท่ี
๖๑ ๕. การดาเนินการศึกษา ๕.๑ ขนั้ ตอนการศกึ ษา ข้นั ที่ ๑ ประชุมเพอื่ วำงกรอบแนวคิดกำรศกึ ษำ ขน้ั ที่ ๒ ศกึ ษำขอ้ มลู ทเี่ กีย่ วขอ้ ง ขนั้ ท่ี ๓ กำหนดเปำ้ หมำยและวตั ถุประสงค์ของกำรศึกษำ ข้ันท่ี ๔ ออกแบบเคร่อื งมือกำรเก็บรวบรวมขอ้ มูล ขน้ั ท่ี ๕ เก็บรวบรวมขอ้ มลู ขัน้ ท่ี ๖ วิเครำะห์ข้อมลู และสรุปผล ขั้นที่ ๗ กำรเสนอรำยงำนกำรศึกษำ ๕.๒ วิธีการศกึ ษา - กำรสังเกต - กำรสมั ภำษณ์ ๕.๓ เคร่อื งการศึกษา แบบบนั ทกึ กำรสงั เกต แบบบันทึกกำรสัมภำษณ์
๖๒ แบบบันทกึ การสงั เกต บนั ทกึ การสังเกตครงั้ ที่……… สถำนท่สี งั เกต……………………สังเกตเม่อื วันที่……เดือน……………….พ.ศ………. สถำนกำรณ์ทีส่ งั เกต…………………………………………………………………..………... ข้อควำมทบ่ี ันทึกจำกกำรสังเกต ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… สรปุ ข้อคดิ เห็นจำกกำรสังเกต ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ผู้สังเกต………………………………
๖๓ แบบสมั ภาษณช์ ุดที่ ๑ สาหรับผนู้ าชุมชน เก่ียวกับการมีสว่ นร่วมของชุมชนในการช่วยกนั อนรุ ักษ์วัดจาปา ของชมุ ชนตาบลทงุ่ อาเภอไชยา จังหวดั สุราษฎร์ธานี ๑. กระบวนกำรในกำรดำเนนิ งำนเกย่ี วกับอนุรกั ษ์วดั จำปำ - ในกำรดำเนินงำนดำ้ นกำรอนุรักษ์วัดจำปำเกิดข้ึนไดอ้ ย่ำงไร - มีกำรส่งเสริมกิจกรรมกำรมีส่วนร่วมในกำรอนุรักษ์วัดจำปำแก่ ประชำชนในชุมชนอยำ่ งไรบำ้ ง - มีวิธีกำรและข้ันตอนในกำรให้ประชำชน มีส่วนร่วมเลือกกิจกรรม ในกำรอนรุ ักษ์วัดจำปำอย่ำงไร - มีเหตุ /ปัจจัยใดบ้ำงท่ีส่งผลต่อกำรดำเนินงำนในกำรอนุรักษ์ จำปำ - ปัญหำ อุปสรรค์ในกำรดำเนินงำนในกำรอนุรักษ์จำปำมี อะไรบำ้ ง - ในฐำนะท่ีท่ำนมีส่วนกำหนดนโยบำยหรือแนว ทำงกำร ดำเนนิ งำนในกำรอนรุ ักษ์จำปำ มวี ธิ กี ำรหรอื กลยุทธ์ใน กำรดำเนินงำน หรือแก้ปัญหำอย่ำงไร
๖๔ ๒. กำรใหป้ ระชำชนเขำ้ มำมีสว่ นรว่ มในกำรดำเนินงำนหรอื กิจกรรมต่ำงๆ เกีย่ วกับกำรอนรุ กั ษว์ ดั จำปำ - จำกกำรดำเนินงำนกำรอนุรักษว์ ดั จำปำ ได้เปิดโอกำสให้ประชำชน ในชุมชนเข้ำมำมสี ่วนร่วมอยำ่ งไรบ้ำง - มเี ทคนคิ /วธิ กี ำรอยำ่ งไร ในกำรดำเนินงำนกำรอนรุ กั ษ์วัดจำปำ โดยกำรมสี ่วนร่วมของประชำชน ให้ประสบ ผลสำเรจ็ อยำ่ งเปน็ รูปธรรม - จำกกำรทำกิจกรรมอนุรักษ์วัดจำปำ ประชำชนในชุมชนได้รับ ผลประโยชนท์ เี่ กิด อย่ำงไรบ้ำง - จำกกำรทำกิจกรรมอนุรักษ์วัดจำปำ เกิดกำรเปล่ียนแปลงหรือ พฒั นำในชมุ ชนอยำ่ งไร บำ้ ง - ในกำรมีส่วนร่วมของประชำชนกำรทำกิจกรรมอนุรักษ์วัดจำปำ มี แนวทำงใดทจี่ ะทำให้ กำรอนรุ กั ษเ์ กิดควำมต่อเน่อื งและยง่ั ยนื
แนวคาถามในการสมั ภาษณ์ ๖๕ เก่ียวกบั การมสี ว่ นร่วมของชุมชนในการช่วยกนั อนรุ ักษ์วัดจาปา ของชมุ ชนตาบลทุง่ อาเภอไชยา จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี ๑. ทำ่ นไดม้ สี ว่ นร่วมในกำรตัดสนิ ใจ หรอื รว่ มวำงแผนกิจกรรมหรอื โครงกำร เกย่ี วกับ กำรอนุรกั ษว์ ดั จำปำ ของชุมชนตำบลทุ่ง อนั จะส่งผลต่อคณุ ภำพในกำร พฒั นำชมุ ชนอย่ำงไรบ้ำง ? ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………….......................................................................................................................... ๒. ท่ำนมีส่วนรว่ มในกำรดำเนินงำนหรือเข้ำรว่ มกิจกรรมในกำรอนุรักษว์ ดั จำปำ ของชุมชนตำบลทุ่งอยำ่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………….......................................................................................................................... ๓. ท่ำนมีส่วนร่วมในกำรรับผลประโยชน์จำกกำรเข้ำร่วมกิจกรรมในกำรอนุรักษ์วัด จำปำ ของชุมชนตำบลทงุ่ อย่ำงไร ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………….......................................................................................................................... ๔.ท่ำนมขี อ้ เสนอแนะ เพมิ่ เติมต่อเข้ำรว่ มกิจกรรมในกำรอนรุ กั ษ์วัดจำปำ ของชมุ ชน ตำบลท่งุ อย่ำงไรบำ้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………….......................................................................................................................... ....................................................................................................................………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………......
๖๖ ๕.% ประชากร มีกำรเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภำษณ์ (In-depth Interview) กับผู้ให้ ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) ได้แก่ เจ้ำอำวำส ผู้นำชุมชน ชำวบ้ำน สถำน ศกึ ษำ และหน่วยงำนรำชกำรจำนวน ๙ ท่ำน มรี ำยนำมดงั ตอ่ ไปน้ี ๑) พระมหำพิเชษฐ์ สเุ มธโส (พระครูสตุ ธรรมชยั ) (เจ้ำอำวำสวดั จำปำ) ๒) นำยเกียรตศิ ักดิ์ คงรินทร์ (ผู้ใหญ่บ้ำน หมทู่ ่ี ๕) ๓) ยำยเขียว (นำมสมมตุ )ิ ๔) ตำประหยดั (นำมสมมตุ ิ) ๕) นำ้ พร (นำมสมมตุ ิ) ๖) น้ำศกั ด์ิ (นำมสมมุติ) ๗) โรงเรียนบ้ำนหนองมน (สถำนศกึ ษำ) ๘) ศนู ยพ์ ฒั นำเดก็ เลก็ ตำบลทงุ่ (สถำนศึกษำ) ๙) องคก์ ำรบรหิ ำรส่วนตำบลทงุ่ (หนว่ ยงำนรำชกำรในพ้ืนท่ี) ๕.๕ กำรรวบขอ้ มลู ๑) กำรสังเกต ๒) กำรสัมภำษณ์
Search