การนับ ศักราช โดย ณัฐพล แสนสุรินทร์ เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เป็นการศึกษาเรื่องราวในอดีตของมนุษย์ นัก ประวัติศาสตร์ได้กา หนดเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ขึ้นมา เพื่อศึกษาและทา ความเขา้ ใจประวัติศาสตร์ เช่น กำหนดเวลาเป็นปี ศักราช หรือกา หนดเป็นสหัสวรรษ ศตวรรษ และทศวรรษ ในการกำหนดยุคสมัย นักประวัติศาสตร์ได้ถือเอาลักษณะเด่นของ เหตุการณ์เป็นเกณฑ์เพื่อให้สามารถเขา้ ใจและจดจา ยุคสมัยนนั้นๆ ได้ ประวัติศาสตร์จึงมีความสำคัญ ซึ่งจะช่วยใหผู้ศึ้กษาเกิดความเข้า ใจง่ายและตรงกัน
การนับ ศักราช โดย ณัฐพล แสนสุรินทร์ เวลา เป็นสิ่งที่มนุษย์สมมติขึ้นเพื่อใช้ในการลา ดับเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิด ขึ้น ในชีวิตประจำวัน ซึ่งช่วยให้มนุษย์ทำความเข้าใจความแตกต่าง ระหว่างช่วงเหตุการณ์ต่างๆ ได้ เวลาจึงมีความสำคัญอย่างมากใน การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การนับ ศักราช โดย ณัฐพล แสนสุรินทร์ การนับและการเทียบศักราชในประวัติศาสตร์ไทย การนับศักราช ในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยเราจะพบว่ามีการใช้ ศักราชหลายแบบ ดังนั้น เพื่อให้สามารถศึกษาประวัติศาสตร์ได้ อย่างถูกต้อง เราจึงควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการนับศักราช แบบต่างๆ ดังนี้
การนับ ศักราช โดย ณัฐพล แสนสุรินทร์ การนับและการเทียบศักราชในประวัติศาสตร์ไทย พุทธศักราช • เป็นศักราชทางพระพุทธศาสนา • ไทยเริ่มใช้ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช • นำมาใช้เป็นแบบอย่างของทางราชการสมัยรัชกาลที่ 6 จุลศักราช • บุปผะอรหันต์เป็นผู้ก่อตั้ง • แพร่หลายเข้าไทยผ่านอาณาจักรล้านนา • นิยมใชกั้นมากในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย มหาศักราช • พระเจ้ากนิษกะกษัตริย์อินเดียมีพระราชดำริขึ้น • ประเทศไทยรับผ่านมาทางขอมหรือเขมร • พบในหลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย และอยุธยาตอนต้น รัตนโกสินทร์ศก • รัชกาลที่ 5 มีพระราชดำริให้บัญญัติขึ้น • เริ่มนับปีที่สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี • เลิกใช้ในต้น รัชกาลที่ 6
การนับ ศักราช โดย ณัฐพล แสนสุรินทร์ การนับและการเทียบศักราชในประวัติศาสตร์ไทย หลักเกณฑ์การเทียบศักราช ม.ศ. + 621 = พ.ศ. พ.ศ. – 621 = ม.ศ. จ.ศ. + 1181 = พ.ศ. พ.ศ. – 1181 = จ.ศ. ร.ศ. + 2324 = พ.ศ. พ.ศ. – 2324 = ร.ศ.
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: