Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการลงรายการทางบรรณานุกรมสื่อโสตทัศนวัสดุ

คู่มือการลงรายการทางบรรณานุกรมสื่อโสตทัศนวัสดุ

Description: คู่มือการลงรายการทางบรรณานุกรมสื่อโสตทัศนวัสดุ

Search

Read the Text Version

ค่มู อื การลงรายการทางบรรณานกุ รมส่ือโสตทศั นวสั ดุ โดย ปัณณธร วฒุ ิปรยิ าธร บรรณารกั ษ์ งานพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ศูนยบ์ รรณสารและสือ่ การศึกษา มหาวิทยาลยั พะเยา 11 พฤษภาคม 2561

คำนำ ศูนย์บรรณสารและส่อื การศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา เปน็ แหล่งสนับสนนุ งานดา้ นวิชาการท่ีใหบ้ ริการทรัพยากรสารสนเทศหลากหลาย และการให้บรกิ ารดงั กล่าวยังรวมไปถงึ ทรัพยากรสารสนเทศสอ่ื โสตทัศนวัสดุเพื่อให้ผู้ใช้สามารถค้นคืนและเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศดังกล่าวได้อย่างสะ ดวกและมีประสิทธิภาพจึงจาเป็นต้องดาเนินการลงรายการทางบรรณานุกรม ซ่ึงในทางการปฏิบัติงานด้านการลงรายการทางบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศส่ือโสตทัศนวัสดุยึดหลักเกณฑ์การลงรายการมาตรฐานสากล AACR2 :Anglo-American Cataloguing Rules II และ MARC มาตรฐานการลงรายการท่ีเคร่ืองคอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ การจัดทาคู่มือการลงรายการทางบรรณานุกรมทางผู้จัดทาได้จัดทาขึ้นเพ่ือใช้เป็นคู่มือประกอบการปฏิบัติงานและใช้ป ระกอบการลงรายการท างบรรณ านุกรม ทรัพ ยากรสารส นเท ศ ส่ื อโส ตทัศนวัส ดุในเบื้องต้น ซ่ึงยังคงต้องศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับรายละเอียดการลงรายการเพิ่มเติมและมีการปรับปรุงรายละเอยี ดตา่ งๆ เพื่อให้การลงรายการน้ันมปี ระสิทธิภาพและเกดิ ประโยชน์ตอ่ ไป ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือการลงรายการทางบรรณานุกรมส่ือโสตทัศนวัสดุน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของบรรณารักษ์ นักสารสนเทศ รวมถึงบุคลากรท่ีปฏิบัติงานในแวดวงวิชาชีพ หากมีขอ้ ผดิ พลาดประการใด ทางผจู้ ดั ทายินดีนอ้ มรับไว้ทุกประการ ปัณณธร วุฒปิ ริยาธร 9 พฤษภาคม 2561

สารบัญ หน้า 1บท 1บทท่ี 1 บทนำ 1 1 ทีม่ าและความสาคัญ 2 วัตถปุ ระสงค์การจดั ทาคมู่ ือ 2 ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รับ 2 ขอบเขตของคมู่ อื การปฏบิ ัติงาน 3-4 นยิ ามศัพท์ 5 โครงสรา้ งการบริหารงานพฒั นาและวเิ คราะห์ทรพั ยากรสารสนเทศ 5-6 บทบาทและหน้าทขี่ องบรรณารกั ษง์ านพฒั นาและวเิ คราะห์ทรพั ยากรสารสนเทศ 7 ความสาคัญของงานพัฒนาและวเิ คราะห์ทรพั ยากรสารสนเทศ 7 ลกั ษณะงานท่ีปฏิบตั ิ 7บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎดี ้านการวเิ คราะห์ทรพั ยากรสารสนเทศประเภทสื่อโสตทศั นวัสดุ 7-10 ความหมายของทรัพยากรสารสนเทศและความหมายของสื่อโสตทัศนวัสดุ 10 ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศทใ่ี หบ้ ริการในศนู ยบ์ รรณสารและส่ือการศึกษา 11 การแบ่งหมวดหมู่ 11 การกาหนดหวั เร่ือง 11-13 วธิ กี ารกาหนดหัวเรื่อง 14 การทารายการบรรณานุกรมทรพั ยากรสารสนเทศ 14 หลกั เกณฑก์ ารทารายการบรรณานุกรมทรพั ยากรสารสนเทศ 14บทที่ 3 หลกั เกณฑ์และวธิ ีการปฏบิ ตั งิ าน 15 การจดั หมวดหมู่ทรพั ยากรสารสนเทศประเภทสื่อโสตทัศนวสั ดุ 15 การกาหนดสัญลกั ษณ์ทใี่ ชแ้ ทนหมวดหม่สู อ่ื โสตทศั นวัสดุ 15 การทารายการบรรณานกุ รมทรัพยากรสารสนเทศสอื่ โสตทศั นวัสดุ 16 แหลง่ ขอ้ มลู การลงรายการทางบรรณานกุ รมสอ่ื โสตทศั นวัสดุ 17-38 ลกั ษณะทางกายภาพเฉพาะของส่ือโสตทศั นวัสดุ 39 โครงสร้างระเบยี น MARC ของส่ือโสตทัศนวสั ดุ 39 รายละเอียดการลงรายการทางบรรณานุกรม 39บทที่ 4 วธิ กี ารปฏบิ ตั งิ าน 40 วธิ ีการปฏบิ ัติงานการวิเคราะหท์ รพั ยากรสารสนเทศ 41-45 วิธีการปฏิบัติงานการวเิ คราะหท์ รัพยากรสารสนเทศส่อื โสตทัศนวสั ดุ 46 แผนผังการปฏิบัติงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศประเภทสอ่ื โสตทศั นวสั ดุ 46 ข้นั ตอนการลงทะเบียนและลงรายการทางบรรณานุกรมส่ือโสตทศั นวสั ดุ 47 การพมิ พ์เลขเรียกทรัพยากรสารสนเทศสื่อโสตทัศนวัสดุ การติดเลขเรียกทรพั ยากรสารสนเทศสือ่ โสตทศั นวัสดุ หลกั การตรวจสอบทรัพยากรสารสนเทศส่ือโสตทัศนวสั ดกุ ่อนนาออกใหบ้ ริการแกผ่ ใู้ ช้

สารบัญ(ต่อ) หนา้บท 48บทที่ 5 ปญั หา ข้อเสนอแนะ และแนวทางแกไ้ ขในการปฏบิ ตั ิงาน 48 48 ดา้ นการบรหิ ารจัดการ ด้านการวเิ คราะห์ทรัพยากรสารสนเทศเอกสารอา้ งอิงภาคผนวก

สารบญั ภาพ หน้าภาพ 2 40ภาพที่ 1 โครงสร้างการบริหารงานพฒั นาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ 41ภาพท่ี 2 แผนผังการปฏบิ ตั งิ านวเิ คราะห์ทรัพยากรสารสนเทศประเภทสื่อโสตทศั นวัสดุ 41ภาพที่ 3 การลงทะเบยี นทรพั ยากรสารสนเทศส่ือโสตทัศนวสั ดุ 42ภาพที่ 4 การ Log in เข้าสู่ระบบห้องสมดุ อัตโนมัติ ALIST 42ภาพที่ 5 ขั้นตอนก่อนการลงรายการทางบรรณานกุ รมในระบบหอ้ งสมุดอัตโนมัติ ALIST 43ภาพท่ี 6 ข้นั ตอนก่อนการลงรายการทางบรรณานกุ รมในระบบห้องสมดุ อตั โนมัติ ALIST 43ภาพท่ี 7 หน้า Bib# กอ่ นการลงรายการทางบรรณานุกรมในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ALIST 44ภาพท่ี 8 การลงรายการทางบรรณานกุ รมทรัพยากรสารสนเทศสอ่ื โสตทัศนวสั ดุ 44ภาพท่ี 9 การเพ่ิมทรพั ยากรสารสนเทศสอ่ื โสตทัศนวสั ดุ 45ภาพท่ี 10 การตรวจสอบข้อมูลทรพั ยากรสารสนเทศส่อื โสตทศั นวัสดใุ นเว็บโอแพค (OPAC) 45ภาพท่ี 11 การติดบาร์โคดทรัพยากรสารสนเทศสอื่ โสตทัศนวัสดุ 46ภาพท่ี 12 การพิมพ์เลขเรยี กทรพั ยากรสารสนเทศสอื่ โสตทัศนวสั ดุ 46ภาพท่ี 13 การติดเลขเรยี กทรัพยากรสารสนเทศส่ือโสตทัศนวสั ดุ 47ภาพที่ 14 การติดเลขเรียกทรัพยากรสารสนเทศสือ่ โสตทศั นวสั ดุภาพท่ี 15 การติดบตั รกาหนดส่งทรพั ยากรสารสนเทศส่ือโสตทัศนวสั ดุ

สารบญั ตารางตาราง หนา้ตารางท่ี 1 การกาหนดสัญลักษณแ์ ทนหมวดหม่สู ่อื โสตทศั นวัสดุ 14ตารางท่ี 2 รายละเอียดของความหมายแต่ละตาแหน่งของ Leader การลงรายการสอ่ื โสตทัศนวัสดุ 17ตารางที่ 3 รายละเอยี ดของความหมายแตล่ ะตาแหน่งของ Leader การลงรายการสือ่ โสตทัศนวัสดุ 18ตารางท่ี 4 ความหมายของเขตขอ้ มลู ควบคมุ ทว่ั ไป 008 การลงรายการส่อื โสตทศั นวสั ดุ 20ตารางที่ 5 ความหมายของเขตขอ้ มูลควบคมุ ทัว่ ไป 008 การลงรายการสอ่ื โสตทศั นวัสดุ 21

บทท่ี 1 บทนำ1. ท่ีมำและควำมสำคัญ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าและเรียนรู้ด้วยตนเองท่ีสาคัญของมหาวิทยาลัย เป็นแหล่งสนับสนุนด้านการเรียนการสอนของนิสิตและคณาจารย์ ซ่ึงพันธกิจหลักที่สาคัญอีกประการหนึ่งของศูนยบ์ รรณสารและสื่อการศกึ ษาท่ีนอกเหนือจากการให้บรกิ ารและการค้นคืนทรัพยากรสารสนเทศแก่ผู้ใช้บริการแล้ว คือการจัดโครงสร้างและจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ ให้เป็นระบบและมีมาตรฐาน เพ่ือผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นและเข้าถงึ ทรพั ยากรสารสนเทศต่างๆ ได้อย่างถกู ตอ้ ง รวดเร็ว และตรงกับความตอ้ งการของผ้ใู ช้ได้อย่างมีประสิทธภิ าพจึงมีความจาเป็นต้องมีการลงรายการทางบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ ซ่ึงรายการทางบรรณานุกรมถือเป็นตัวแทนทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ ท่ีผ่านกระบวนการจัดหมวดหมู่ ทารายการทางบรรณานุกรม กาหนดหัวเรื่องทรัพยากรสารสนเทศประเภทเดียวกันและมีเน้ือหาชนิดเดียวกันไว้ด้วยกัน เพ่ือให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงตัวแทนทรัพยากรสารสนเทศและสืบค้นข้อมลู ของทรัพยากรสารสนเทศผ่านทางเวบ็ โอแพคได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ส่ือโสตทัศนวัสดุเป็นทรัพยากรสารสนเทศที่ศูนย์บรรณสารและส่ือการศึกษา หรือห้องสมุดในแต่ละแห่งจัดซ้ือจัดหามาเพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้บริการ ตลอดจนเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าการจัดให้บริการสื่อโสตทัศนวสั ดุน้นั ย่อมแตกต่างกันไปตามบริบทขององค์การสารสนเทศ ซงึ่ บางแหง่ ก็ใหบ้ ริการในชนั้ เปิดโดยผู้ใช้บริการสามารถค้นหา เลือกดูได้ด้วยตนเองเม่ือต้องการใช้ทรัพยากรสารสนเทศดังกล่าว แต่บางแห่งก็ให้บริการในชั้นปิดซ่ึงผู้ใช้ ไม่สามารถดาเนินการเลือกดูหรือค้นคืนทรัพยากรสารสนเทศจากชั้นท่ีจัดเก็บได้ ต้องติดต่อให้เจ้าหน้าท่ีเป็นผู้ดาเนินการให้ ซึ่งผู้ใช้เพียงแคแ่ จ้งรายละเอียดเก่ยี วกบั ส่ือโสตทัศนวสั ดุทีต่ ้องการแกเ่ จ้าหน้าทีเ่ ทา่ นนั้2. วตั ถปุ ระสงค์กำรจดั ทำคมู่ อื กำรลงรำยกำรทำงบรรณำนุกรมส่ือโสตทัศนวสั ดุ 2.1 เพื่อเพ่ิมความสะดวกในการสืบค้นข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้บริการ ตลอดจน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบรรณารักษ์ นักสารสนเทศ รวมถึงบุคลากรท่ีปฏิบัติงานในแวดวง วิชาชีพใหด้ ียิง่ ขึน้ 2.2 เพ่ือสร้างมาตรฐานในการลงรายการทางบรรณานุกรมที่ถูกต้องอันจะกอ่ ให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏบิ ัติงานทดี่ ี 2.3 เพ่ือใช้คู่มือในการสอนงานและเป็นแนวปฏิบัติของบรรณารักษ์ นักสารสนเทศ รวมถึงบุคลากรท่ีปฏิบัติงาน ในแวดวงวิชาชีพท่เี ร่ิมปฏบิ ัตงิ านใหมใ่ ห้สามารถปฏบิ ตั งิ านในเบื้องต้นไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ3. ประโยชนท์ ีค่ ำดว่ำจะไดร้ ับ 3.1 บรรณารักษ์ นักสารสนเทศ รวมถึงบุคลากรที่ปฏิบัติงานในแวดวงวิชาชีพใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ในดา้ นการวเิ คราะห์ทรัพยากรสารสนเทศสื่อโสตทศั นวัสดขุ องศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา 3.2 บรรณารักษ์ นักสารสนเทศ รวมถึงบุคลากรท่ีปฏิบัติงานในแวดวงวิชาชีพมีทักษะในการปฏิบัติงานได้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและก่อให้เกดิ ความม่นั ใจในการบรกิ ารที่มคี ณุ ภาพ

24. ขอบเขตของคู่มือกำรปฏิบตั งิ ำน คู่มือการลงรายการทางบรรณานุกรมสื่อโสตทัศนวัสดุ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยาฉบับน้ีจดั ทาขน้ึ เพ่ือใช้เปน็ คมู่ ือในการปฏิบัตงิ านของบรรณารักษ์ นกั สารสนเทศ รวมถงึ บคุ ลากรที่ปฏิบตั ิงานในแวดวงวชิ าชีพโดยมีรายละเอียดเน้ือหาครอบคลุมต้ังแต่แนวคิด ทฤษฎีด้านการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ข้ันตอนการปฏิบัติงาน การจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ ตลอดจนปัญหา ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ขในการปฏิบตั ิงานดา้ นการลงรายการทางบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศสอ่ื โสตทัศนวัสดุ5. นิยำมศพั ท์ คู่มือกำรลงรำยกำรทำงบรรณำนุกรมส่ือโสตทัศนวัสดุ คือ คู่มือการปฏิบัติงานของบรรณารักษ์ฝ่ายพัฒนาและวิเคราะหท์ รัพยากรสารสนเทศที่ใช้สาหรับลงรายการทางบรรณานุกรมส่ือโสตทัศนวัสดุ ศูนย์บรรณสารและส่อื การศึกษามหาวิทยาลัยพะเยา ส่ือโสตทัศนวัสดุ คือ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทหน่ึงทศ่ี ูนยบ์ รรณสารและส่อื การศึกษา มหาวิทยาลยั พะเยาจดั หาเพอ่ื ใชใ้ นการใหบ้ ริการแก่ผใู้ ช้ ประกอบด้วย ซีดี-รอม, วีซีดี-รอม, ดวี ดี ี-รอม ประกอบหนงั สือ และดีวดี ีภาพยนตร์ ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน คือ กระบวนการในการลงรายการทางบรรณานุกรมสื่อโสตทัศนวัสดุ ศูนย์บรรณสารและสอื่ การศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยาต้ังแต่การลงทะเบียน การลงรายการ การวิเคราะห์หมวดหมู่ การพิมพ์และติดเลขเรียกสอื่ โสตทัศนวัสดุ ตลอดจนการถงึ การนาสอ่ื โสตทัศนวสั ดุออกใหบ้ รกิ ารแก่ผ้ใู ช้ กำรจัดหมวดหมู่ทรัพยำกรสำรสนเทศประเภทส่ือโสตทัศนวัสดุ คือ การจัดหมวดหมู่โดยใช้ตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และตัวเลขอารบิกเรียงลาดับตามการลงทะเบียนและลงรายการทางบรรณานุกรมแทนการจัดหมวดหมู่แบบหนังสือ เช่นCD-ROM1745, VCD425, DVD357 และ MV11456. โครงสรำ้ งกำรบริหำรงำนพฒั นำและวเิ ครำะห์ทรัพยำกรสำรสนเทศ ภำพท่ี 1 โครงสร้ำงกำรบรหิ ำรงำนพฒั นำและวเิ ครำะหท์ รพั ยำกรสำรสนเทศ

37. บทบำทและหนำ้ ที่ของบรรณำรกั ษง์ ำนพัฒนำและวิเครำะห์ทรัพยำกรสำรสนเทศ งานพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ศนู ย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มีบทบาทและหน้าที่ความรับผดิ ชอบที่ประกอบด้วยส่วนงาน 2 ส่วน คือ 1) งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ มีบทบาทความรับผิดชอบในการจัดซื้อ จัดหาทรัพยากรสารสนเทศตามงบประมาณท่ีได้รับการจัดสรรจากมหาวิทยาลัย ประสานงานร้านค้าในการจัดซ้ือ จัดหาทรัพยากรสารสนเทศรวมถึงดาเนินงานด้านเทคนิคต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ 2) งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ มีบทบาทความรับผดิ ชอบในการลงรายการทางบรรณานกุ รม จัดหมวดหมู่ กาหนดหัวเรื่อง รวมถึงดาเนนิ งานด้านเทคนคิ ตา่ งๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั งานวิเคราะหท์ รัพยากรสารสนเทศ ดังน้ี 7.1 หวั หนำ้ งำนพฒั นำและวิเครำะห์ทรพั ยำกรสำรสนเทศ มีหน้าทคี่ วามรับผดิ ชอบ ดงั น้ี 1. ควบคมุ และกากับดูแลการปฏบิ ตั ิงานของบุคลากรงานพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ 2. รบั ผิดชอบวเิ คราะหห์ มวดหมู่ กาหนดหัวเรือ่ ง และลงรายการทรัพยากรสารสนเทศภาษาต่างประเทศ 3. ช่วยปฏิบตั งิ านวเิ คราะห์หมวดหมู่ กาหนดหวั เรื่อง และลงรายการทรัพยากรสารสนเทศภาษาไทย 4. รบั ผดิ ชอบงานเตรยี มทรพั ยากรสารสนเทศออกให้บริการ 5. ควบคุมและตรวจสอบการลงรายการทรพั ยากรสารสนเทศตามาตรฐาน AACR II และ MARC 21 ของฐานข้อมูล ระบบหอ้ งสมดุ อตั โนมตั ิ ALIST 6. จดั ทาคู่มือการปฏบิ ัติงานวิเคราะหท์ รพั ยากรสารสนเทศ 7. ช่วยปรับปรุงแก้ไขระเบียนบรรณานุกรมที่ผ่านการตรวจจาก MARC Analyzer เพ่ือนาเข้าฐานข้อมูล สหบรรณานุกรมห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทย (Union Catalog of Thai Academic Libraries: UCTAL) และเป็นผู้รบั ผดิ ชอบนาเข้าฐานขอ้ มูล 8. ฝึกประสบการณ์วิชาชีพบรรณารักษ์ แก่นิสิตนักศึกษาจากสถาบันต่าง ๆ รวมถึงบุคลากรจากหน่วยงานภายในและ ภายนอก 9. เปน็ คณะทางานฝ่ายวเิ คราะหท์ รพั ยากรสารสนเทศหอ้ งสมุดสถาบันอดุ มศึกษา 10. งานอนื่ ๆ ตามท่ีได้รับมอบหมาย 7.2 งำนพฒั นำทรพั ยำกรสำรสนเทศ มหี น้าทคี่ วามรับผิดชอบ ดังน้ี 1. รับผิดชอบงานจดั ซ้อื จดั หาทรพั ยากรสารสนเทศ 2. รบั ผดิ ชอบการขอรบั บริจาคทรพั ยากรสารสนเทศท้งั จากหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก 3. รบั ผดิ ชอบและปฏิบัติงานตดิ ต่อประสานงานรา้ นคา้ เพอ่ื ดาเนินการจัดซ้ือ จดั หาทรัพยากรสารสนเทศ 4. รบั ผิดชอบและปฏบิ ัตงิ านประทบั ตราหนงั สือทจี่ ัดซอ้ื และหนงั สือบรจิ าค 5. ฝึกประสบการณ์วิชาชีพบรรณารักษ์ แก่นิสิตนักศึกษาจากสถาบันต่าง ๆ รวมถึงบุคลากรจากหน่วยงานภายในและ ภายนอก 6. เป็นคณะทางานฝา่ ยพัฒนาทรัพยากรสารนิเทศห้องสมุดสถาบนั อุดมศึกษา 7. งานอ่นื ๆ ตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย

47.3 งำนวเิ ครำะหท์ รัพยำกรสำรสนเทศกลมุ่ สำขำวิชำมนุษยศำสตรแ์ ละสงั คมศำสตร์ มีหน้าท่คี วามรับผิดชอบ ดงั น้ี 1. รับผิดชอบวิเคราะห์หมวดหมู่ กาหนดหัวเรื่อง และลงรายการทรัพยากรสารสนเทศภาษาไทยกลุ่มสาขาวิชา มนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ 2. รบั ผดิ ชอบงานเตรียมทรพั ยากรสารสนเทศออกให้บริการ 3. ช่วยปรับปรุงแก้ไขระเบียนบรรณ านุกรมที่ผ่านการตรวจจาก MARC Analyzer เพื่อนาเข้าฐานข้อมูล สหบรรณานุกรมห้องสมุดสถาบนั อุดมศึกษาไทย (Union Catalog of Thai Academic Libraries: UCTAL) 4. ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพบรรณารกั ษ์ แก่นิสิตนักศกึ ษาจากสถาบนั ตา่ ง ๆ รวมถึงบคุ ลากรจากหน่วยงานภายในและภายนอก 5. งานอนื่ ๆ ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย7.4 งำนวิเครำะห์ทรัพยำกรสำรสนเทศกลุ่มสำขำวิชำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี วิทยำนิพนธ์ และวิจัย มีหน้าท่ีความรับผิดชอบดงั น้ี 1. รับผิดชอบวิเคราะห์หมวดหมู่ กาหนดหัวเร่ือง และลงรายการทรัพยากรสารสนเทศภาษาไทยกลุ่มสาขาวิชา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยานพิ นธ์ และวิจยั 2. รับผิดชอบงานเตรยี มทรพั ยากรสารสนเทศออกใหบ้ ริการ 3. ช่วยปรับปรุงแก้ไขระเบียนบรรณ านุกรมท่ี ผ่านการตรวจจาก MARC Analyzer เพื่อนาเข้าฐานข้อมูล สหบรรณานกุ รมหอ้ งสมุดสถาบนั อุดมศกึ ษาไทย (Union Catalog of Thai Academic Libraries: UCTAL) 4. ฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี บรรณารักษ์ แก่นสิ ติ นักศึกษาจากสถาบันตา่ ง ๆ รวมถึงบคุ ลากรจากหน่วยงานภายในและภายนอก 5. งานอ่นื ๆ ตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย7.5 งำนวิเครำะห์ทรัพยำกรสำรสนเทศกลุ่มสำขำวิชำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ นวนิยำย มหี น้าท่ีความรบั ผดิ ชอบ ดังน้ี 1. รับผิดชอบวิเคราะห์หมวดหมู่ กาหนดหัวเรื่อง และลงรายการทรัพยากรสารสนเทศภาษาไทยกลุ่ มสาขาวิชา วทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ นวนิยาย 2. รบั ผิดชอบงานเตรยี มทรัพยากรสารสนเทศออกให้บรกิ าร 3. ช่วยปรับปรุงแก้ไขระเบียนบรรณ านุกรมที่ผ่านการตรวจจาก MARC Analyzer เพ่ือนาเข้าฐานข้อมูล สหบรรณานุกรมห้องสมดุ สถาบนั อุดมศกึ ษาไทย (Union Catalog of Thai Academic Libraries: UCTAL) 4. ฝึกประสบการณ์วิชาชีพบรรณารักษ์ แก่นสิ ิตนกั ศึกษาจากสถาบนั ต่าง ๆ รวมถึงบุคลากรจากหน่วยงานภายในและภายนอก 5. งานอื่น ๆ ตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย7.6 งำนวเิ ครำะห์ทรัพยำกรสำรสนเทศสือ่ โสตทศั นวสั ดุ มหี น้าที่ความรบั ผดิ ชอบ ดงั นี้ 1. รับผดิ ชอบวิเคราะห์หมวดหมู่ กาหนดหัวเรือ่ ง ลงทะเบียนและลงรายการทรพั ยากรสารสนเทศสือ่ โสตทศั นวัสดุ 2. รบั ผดิ ชอบงานเตรยี มทรัพยากรสารสนเทศออกให้บรกิ าร 3. ช่วยปรับปรุงแก้ไขระเบียนบรรณ านุกรมท่ีผ่านการตรวจจาก MARC Analyzer เพื่อนาเข้าฐานข้อมูล สหบรรณานกุ รมหอ้ งสมุดสถาบันอดุ มศึกษาไทย (Union Catalog of Thai Academic Libraries: UCTAL) 4. ฝึกประสบการณ์วชิ าชีพบรรณารักษ์ แก่นิสิตนักศกึ ษาจากสถาบนั ตา่ ง ๆ รวมถงึ บคุ ลากรจากหน่วยงานภายในและภายนอก 5. งานอื่น ๆ ตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

58. ควำมสำคัญของงำนพัฒนำและวเิ ครำะหท์ รัพยำกรสำรสนเทศ งานพัฒนาและวิเคราะหท์ รพั ยากรสารสนเทศทาหนา้ ที่ในการจัดซื้อ จัดหา และจดั ระบบทรัพยากรสารสนเทศใหเ้ ป็นหมวดหมู่ตามมาตรฐานการลงรายการทรัพยากรสารสนเทศ AACR 2 และ MARC 21 เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ทันสมัยและตรงกับความต้องการ โดยการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและวิธีการต่าง ๆ มาใช้ในการดาเนินงานสร้างฐานข้อมูลรายการทางบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศสาหรับใช้เป็นเครื่องมือสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศตา่ งๆ ทมี่ ใี ห้บรกิ ารในศูนย์บรรณสารและสื่อการศกึ ษา9. ลักษณะงำนทีป่ ฏิบัติ 9.1 ลกั ษณะงำนที่ปฏบิ ัติทัว่ ไป การปฏิบัติงานของบรรณารักษ์งานพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ศูนย์บรรณสารและส่ือการศึกษามหาวทิ ยาลยั พะเยา มดี งั น้ี 1. จดั ซอ้ื จดั หาทรพั ยากรสารสนเทศตามงบประมาณที่ได้รับจดั สรรจากมหาวทิ ยาลยั ในแตล่ ะปงี บประมาณ 2. ดาเนนิ การลงทะเบยี นทรพั ยากรสารสนเทศท่ผี า่ นการจัดซื้อ และได้รบั การอภินันทนาการจากหนว่ ยงานต่างๆ 3. ลงรายการทรพั ยากรสารสนเทศตามมาตรฐานการลงรายการทรพั ยากรสารสนเทศ AACR 2 และ MARC 21 4. วิเคราะห์หมวดหมู่ตาม Library of Congress Classification, NLM Classification, Local Call number และกาหนด เลขผ้แู ตง่ ตามตารางเลขผแู้ ต่งหนังสือภาษาไทยสาเร็จรูปของหอสมุดแหง่ ชาติ และ Cutter-Sanborn 5. วิเคราะห์หมวดหมู่และกาหนดหัวเรื่องหนังสือทั่วไป หนังสือด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ วทิ ยานิพนธ์ วิจัย และส่ือ โสตทศั นวัสดุ 6. กาหนดหัวเร่ืองตาม Library of Congress Subject headings (LC), Medical Subject Heading (NLM), หัวเร่ืองภาษาไทยออนไลน์ของคณะทางานกลุ่มวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา, หวั เรอื่ งภาษาไทยออนไลนข์ องศนู ยบ์ รรณสารและสอ่ื การศึกษา 7. ตรวจรบั และเตรียมทรพั ยากรสารสนเทศก่อนนาออกให้บรกิ าร 8. ควบคุมตรวจสอบการลงรายการบรรณานุกรมในฐานข้อมูลเครือข่ายระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ALIST ของมหาวทิ ยาลัยพะเยา 9. ปรับปรุงแก้ไขระเบียนบรรณานุกรมท่ีผ่านการตรวจสอบจากโปรแกรม MARC Analyzer ก่อนนาเข้าฐานข้อมูล สหบรรณานกุ รมหอ้ งสมุดสถาบันอุดมศึกษา (UCTAL) 10. ใหค้ าปรึกษาการลงรายการทรัพยากรสารสนเทศแกห่ ้องสมุดสาขา 11. ฝึกประสบการณ์วิชาชีพบรรณารกั ษ์ แก่นสิ ิตนกั ศึกษาจากสถาบันต่าง ๆ รวมถงึ บุคลากรจากหน่วยงานภายในและภายนอก 12. งานอ่นื ๆ ตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย

6 9.2 ลักษณะงำนทีป่ ฏิบัตดิ ้ำนกำรวเิ ครำะห์ทรพั ยำกรสำรสนเทศประเภทสอ่ื โสตทศั นวสั ดุ การปฏิบัติงานของบรรณารักษ์งานพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษามหาวิทยาลยั พะเยา ในการวิเคราะหท์ รพั ยากรสารสนเทศประเภทสือ่ โสตทศั นวสั ดุ มดี ังนี้ 1. ลงทะเบียน แบ่งประเภทสอื่ โสตทศั นวสั ดแุ ละบันทกึ ขอ้ มูลในแบบบันทึกการลงทะเบยี นสอ่ื โสตทัศนวัสดุ 2. วิเคราะห์หมวดหมู่ กาหนดหัวเร่อื ง และลงรายการทางบรรณานุกรมสอ่ื โสตทัศนวสั ดุ 3. ดาเนินการพมิ พเ์ ลขเรียกสอ่ื โสตทัศนวัสดุ 4. ดาเนินการตดิ เลขเรียกส่อื โสตทัศนวัสดุ 5. ปรับปรุงแก้ไขระเบียนบรรณานุกรมส่ือโสตทัศนวัสดุที่ผ่านการตรวจสอบจากโปรแกรม MARC Analyzer ก่อนนาเขา้ ฐานขอ้ มลู สหบรรณานุกรมห้องสมดุ สถาบนั อุดมศึกษา (UCTAL) 6. ให้คาปรกึ ษาการลงรายการทรัพยากรสารสนเทศประเภทสือ่ โสตทัศนวสั ดุแก่ผูป้ ฏบิ ัติงานห้องสมุดสาขา 7. ตรวจสอบความถูกต้องและเตรยี มทรพั ยากรสารสนเทศประเภทสือ่ โสตทัศนวสั ดกุ ่อนนาออกใหบ้ ริการ 8. ฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพบรรณารกั ษ์ แกน่ สิ ติ นกั ศกึ ษาจากสถาบันตา่ ง ๆ รวมถงึ บคุ ลากรจากหนว่ ยงานภายในและภายนอก 9. งานอนื่ ๆ ตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎดี ้ำนกำรวเิ ครำะห์ทรพั ยำกรสำรสนเทศประเภทสอ่ื โสตทัศนวสั ดุ1. ควำมหมำยของทรัพยำกรสำรสนเทศและควำมหมำยของสือ่ โสตทัศนวัสดุ ทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resource) คือ ส่ือท่ีมีการบันทึกอยู่ในรูปแบบแอนะล็อกและดิจิทัลท่ีผ่านกระบวนการคัดเลือกเพ่ือใช้ในการบริการสารสนเทศและตอบสนองภารกิจขององค์การ ซ่ึงในปัจจุบันทรัพยากรสารสนเทศมีจานวนเพ่ิมมากขึ้นอย่างต่อเน่ืองและมีความหลากหลาย จึงจาเป็นต้องมีหลักเกณฑ์กาหนดในการวิเคราะห์ทรพั ยากรสารสนเทศให้เป็นมาตรฐานเดียวกนั เพ่ือให้การปฏบิ ัติงานดา้ นการลงรายการทางบรรณานุกรมมีประสิทธิภาพ และส่งผลดีต่อองค์การสารสนเทศในการแลกเปล่ียนข้อมูลซ่ึงกันและกันได้ ตลอดจนช่วยอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้บริการในด้านการสืบคน้ ทรพั ยากรสารสนเทศ สื่อโสตทัศนวัสดุ คือ (Audio Visual Materials) คือ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทหน่ึงที่มีการถ่ายทอดข้อมูลผ่านทางภาพและเสียง อาจต้องใช้เคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ในการอ่าน ดู หรือ ฟัง เช่น ภาพยนตร์ แถบวีดิทัศน์หรือวิดีโอเทปสไลด์ประกอบเสยี ง (พรพรรณ จันทรแ์ ดง, น.37)2. ประเภทของทรัพยำกรสำรสนเทศทใ่ี หบ้ ริกำรในศูนยบ์ รรณสำรและสื่อกำรศึกษำ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาจัดซ้ือทรัพยากรสารสนเทศ โดยการจัดโครงการตลาดนัดหนังสือเป็นประจาทุกปีผ่านการแจกคูปองเงินสดให้กับอาจารย์ นิสิต และบุคลากร ได้คัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศเข้าศูนย์บรรณสารและส่ือการศึกษา รวมถึงการได้รับอภินันทนาการจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และบุคคลทั่วไป ซ่ึงศูนย์บรรณสารและสอ่ื การศกึ ษามีใหบ้ ริการหลักๆ ดังนี้ 1. หนงั สอื และตาราวิชาการ (General Books/Textbooks) 2. หนงั สืออ้างองิ (Reference Books) 3. วิทยานิพนธ์ (Thesis) 4. รายงานการวิจัย (Research Reports) 5. รายงานการประชมุ ทางวิชาการ (Proceedings) 6. วารสาร (Serials) 7. นวนยิ ายและเรอ่ื งสั้น (Fictions & Short story) 8. ส่อื โสตทศั นวสั ดุ (Audio Visual Materials)3. กำรแบง่ หมวดหมู่ การแบ่งหมวดหมู่ คือ กระบวนการคัดแยกสารสนเทศท่ีมีลักษณะเหมือนกันไว้ด้วยกัน และคัดแยกเนื้อหาหรือลักษณะของสารสนเทศที่แตกต่างกันออกไป โดยมีการกาหนดสัญลักษณ์หรือรหัสตามการจัดหมวดหมู่สารสนเทศ มุ่งให้เกิดการจัดโครงสร้างสารสนเทศและจัดเก็บท่ีเป็นระบบ เพื่อให้สามารถระบตุ าแหน่งที่จัดเก็บสารสนเทศ ตลอดจนสามารถคน้ คืนสารสนเทศได้อย่างสะดวกและตรงตามความต้องการ การจัดหมวดหมู่สารสนเทศน้ัน มีความสาคัญ คือ ช่วยให้การจัดโครงสร้างและจัดเก็บเอกสารมีความเป็นระบบ และช่วยให้ผู้ใช้เข้าถึงสารสนเทศท่ีมีการจัดเก็บไว้ได้อย่างสะดวกรวดเรว็ และตรงกบั ความตอ้ งการใชส้ ารสนเทศน้นั ๆ ดงั นี้

8 3.1 กำรแบ่งหมวดหมู่ระบบเลขหมู่ LC ระบบหอสมุดรัฐสภำอเมริกัน (Library of Congress classification)เป็นการจัดหมวดหมู่สารสนเทศที่มีโครงสร้างแผนการจัดหมวดหมู่สารสนเทศแบบแสดงรายละเอียดและแสดงลาดับช้ันของสารสนเทศ โดยใช้สัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันและตัวเลขอารบิก 1-9999 มีการจัดแบ่งสัญลักษณ์เป็น 3 ระดับคือ 1) หมวดใหญ่ ใช้ตวั อักษรโรมันจานวน 21 ตัว คือ A-Z ยกเว้น I O W X Y แทนแบง่ เนื้อหาของหมวดใหญ่ 2) หมวดย่อยกาหนดให้ใช้อักษรโรมัน 2-3 ตัว แทนเน้ือหาย่อยภายในหมวดใหญ่ เช่น DS ใช้แทนเน้ือหาด้านประวัติศาสตร์เอเชีย3) หมู่ย่อย ใช้ตัวเลขอารบิก 1-9999 เช่น DS586 ใช้แทนเนื้อหาด้านประวัติศาสตร์ที่เก่ียวข้องกับพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลที่ 9 ตัวอยำ่ ง DS ประวัติศาสตร์เอเชีย DS 586 ประวัตศิ าสตร์ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั ประเทศไทย QA คณติ ศาสตร์ QA 303 แคลคลู สั 3.2 กำรแบ่งหมวดหมู่ระบบเลขหมู่ DDC ระบบทศนิยมของดิวอ้ี (Dewey Decimal Classification System)เป็นการจัดหมวดหมู่สารสนเทศที่มีโครงสร้างแผนการจัดหมวดหมู่สารสนเทศแบบแสดงรายละเอียดและแสดงลา ดับชั้นของสารสนเทศ มีการแบ่งย่อยเนื้อหาจากกว้างไปสู่เนื้อหาท่ีเฉพาะตามลาดับ โดยการใช้ตัวเลขอารบิกจานวน 3 หลัก ต้ังแต่000-999 แบง่ สัญลักษณ์เป็น หมวดใหญ่ หมวดยอ่ ย และ หมยู่ ่อย ตัวอยำ่ ง 400 ภาษา (Language) 420 ภาษาอังกฤษ 600 เทคโนโลยีและวทิ ยาศาสตรป์ ระยุกต์ 660 วศิ วกรรมเคมี 3.3 กำรแบ่งหมวดหมู่ระบบเลขหมู่ NLM ระบบหอสมุดแพทย์แห่งชำติ (National Library of Medicine)คือ ระบบการจัดหมวดหมู่สารสนเทศที่ครอบคลุมในด้านแพทยศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ เป็นการจัดหมวดหมู่สารสนเทศที่มีโครงสรา้ งแผนการจดั หมวดหมู่สารสนเทศแบบแสดงลาดบั ชนั้ ของสารสนเทศ มีการใช้สญั ลักษณ์ที่ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันเฉพาะตัว W และ Q ในการแบ่งหมวดใหญ่และตัวอักษรโรมันบางตัวผสมกับตัวเลขอารบิก 3 หลัก เช่น WYใชแ้ ทนการจดั หมวดหมเู่ นอื้ หาทเี่ กยี่ วข้องการเรอื่ งการพยาบาล ตวั อยำ่ ง WY พยาบาลศาสตร์ (Nursing) WY 160 การพยาบาลจิตเวชศาสตร์ 3.4 กำรแบ่งหมวดหมู่ระบบเลขหมู่ที่หน่วยงำนกำหนด (Local Call Number System) เป็นระบบที่ศูนย์บรรณสารและส่ือการศกึ ษา กาหนดขึ้นเพือ่ จดั หมวดหมู่ทรพั ยากรสารสนเทศท่ีมีลักษณะพิเศษประเภทอื่น ๆ โดยกาหนดสญั ลักษณ์เป็นอักษรยอ่ แทนประเภทของทรัพยากร ดังน้ี

93.4.1 วทิ ยำนิพนธ์ กาหนดสญั ลักษณเ์ ป็นอักษรย่อ ดังนี้ วพ หมายถงึ วิทยานพิ นธ์ภาษาไทย Theses หมายถงึ วทิ ยานิพนธภ์ าษาต่างประเทศ IS หมายถึง การศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเองตัวอยำ่ ง วพ Theses IS LB TH QH 1025.3 7215 541.2 ก555ก M547h ข875ก 2559 2016 25583.4.2 รำยงำนกำรวิจยั กาหนดสัญลกั ษณ์เป็นคาอา่ น “วจ”ตวั อยำ่ ง วจ SB 415 ก555ก 25583.4.3 นวนยิ ำย กาหนดสญั ลักษณ์เป็นคาอา่ น “นว” สาหรับนวนิยายภาษาไทย “Fic” สาหรบั นวนิยายภาษาตา่ งประเทศตัวอย่ำง นว Fic ส254ก N457c 2558 20153.4.4 เรือ่ งสั้น กาหนดสัญลกั ษณเ์ ปน็ คาอา่ น “รส”ตวั อยำ่ ง รส น789ก 25583.4.5 นิทำนสำหรับเดก็ กาหนดสัญลกั ษณ์เปน็ คาอ่าน “ด”ตัวอย่ำง ด ม147ห 2555

10 3.4.6 วำรสำร กาหนดสัญลักษณ์เป็นคาอ่าน “วารสาร” สาหรับวารสารภาษาไทย และ “Serials” สาหรับวารสารภาษาต่างประเทศ ในคู่มือน้ีจะไม่กล่าวถึงการลงรายการทรัพยากรสารสนเทศประเภทวารสารเน่ืองจากมีรูปแบบการลงรายการต่างกัน 3.4.7 โสตทศั นวสั ดุ กาหนดสัญลักษณ์เป็นคาอ่านว่า “CD-ROM” สาหรับซีดีรอมประกอบหนังสือท้ังภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ “DVD-ROM” สาหรับดีวีดีรอมประกอบหนังสือทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ และ “MV” สาหรับดีวดี ีภาพยนตร์ แตล่ ะสญั ลักษณ์จะตามด้วยหมายเลขลาดับการลงทะเบียน ตัวอย่ำง CD-ROM1745, DVD284, VCD548 และMV17454. กำรกำหนดหัวเร่ือง หัวเรื่อง (Subject headings) เป็นคา กล่มุ หรือวลีที่กาหนดข้ึนอย่างมหี ลกั เกณฑ์ หวั เรอื่ งเปน็ ศัพท์ควบคุมทาหน้าที่บอกหรือแสดงถึงเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศ และเป็นตัวแทนเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศที่ทาหน้าท่ีเป็นจุดเข้าถึงสารสนเทศที่สาคัญ ลักษณะของหัวเรื่องทีดีน้ันต้องมีความกะทัดรัด มีความหมายชัดเจนและครอบคลุมเนื้อหาของทรพั ยากรสารสนเทศท้ังเนื้อหาที่กว้างและเน้ือที่มีความเฉพาะเจาะจง จุดมุ่งหมายสาคัญของการกาหนดหัวเรื่อง คือ เพื่อรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศท่ีมีเนื้อหาเดียวกันทาอยู่ด้วยกันภายใต้คาหรือวลีเดียวกัน (พวา พันธุ์เมฆา, 2554, น.1) การกาหนดหัวเรื่องเน้ือหาของทรัพยากรสารสนเทศต่าง ๆ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน จาเป็นต้องกาหนดใช้คู่มือการกาหนดหัวเร่ืองท่เี ป็นมาตรฐานร่วมกัน หรือหากไม่มีคู่มือการกาหนดหัวเร่ืองควรกาหนดแนวทางในการเลอื กใช้คาศัพท์จากแหล่งสารสนเทศท่ีเชื่อถือได้ เช่น หนังสืออ้างอิงประเภทศัพท์บัญญัติซ่ึงได้รับการยอมรับในแวดวงสาขาวิชาชีพต่าง ๆ กาหนดใช้เป็นหัวเร่ืองชั่วคราว แล้วจึงเสนอให้ผู้มีหน้าที่ในการพิจารณากาหนดหัวเรื่อง เช่น คณะทางานกลุ่มวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา เพื่อร่วมกันพิจารณากาหนดเป็นหัวเร่ืองใหม่ในคู่มือต่อไป (อังคณา สุริวรรณ์, 2552, น. 35-36)คูม่ ือทีใ่ ช้ในการกาหนดหวั เรือ่ ง ดงั น้ี 4.1 คมู่ อื กำหนดหวั เร่อื งภำษำไทย คณะทางานกลมุ่ วิเคราะห์ทรพั ยากรสารสนเทศ หอ้ งสมดุ สถาบันอดุ มศกึ ษา ดูรายละเอียดเพมิ่ เติมไดท้ ี่ https://webhost2.car.chula.ac.th/thaiccweb/main.php 4.2 ค่มู ือกำหนดหวั เรอื่ งภำษำองั กฤษ หัวเร่อื งภาษาอังกฤษท่วั ไป ดูรายละเอยี ดเพม่ิ เติมไดท้ ี่ https://catalog.loc.gov/ หวั เรอื่ งทางการแพทย์ (Medical subject headings) ดรู ายละเอยี ดเพ่มิ เตมิ ไดท้ ่ี https://meshb.nlm.nih.gov/#/fieldSearch

115. วิธกี ำรกำหนดหัวเรื่อง ในการกาหนดหัวเรื่องทรัพยากรสารสนเทศ บรรณารักษ์ต้องพิจารณาและวิเคราะห์แนวคิดสาคัญของทรัพยากรสารสนเทศเพ่ือให้เข้าใจในเน้ือหาของทรัพยากรสารสนเทศนั้นก่อนแล้วสร้างตัวแทนของแนวคิดสาคัญนั้นเป็นศัพท์ควบคุมที่เรียกว่า “หัวเรื่อง” โดยต้องตรวจสอบกับคู่มือหัวเร่ืองท่ีหน่วยงานกาหนดใช้ร่วมกันเพื่อให้ได้หัวเรื่องที่เป็นมาตรฐานมีความเป็นเอกภาพท้ังในด้านรูปแบบและลักษณะการใช้ภาษา (Lanbridge, 1989, 98 ; Lancaster, 1998, 8 อ้างอิงในอังคณา สุริวรรณ์, 2552, น. 37) แต่ในกรณีที่คา กลุ่มคา หรือวลีท่ีกาหนดข้ึนนั้นไม่ตรงกับคู่มือหัวเรื่องให้พิจารณาคาท่ีกาหนดให้ใช้แทน หรือคาที่มีความหมายใกล้เคียงกับคาท่ีถูกกาหนดไว้ในคู่มือหัวเรื่อง (เบญจรัตน์ สีทองสุก , 2559)นอกจากนตี้ ้องคานึงถึงความเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับความต้องการของผู้ใช้ของหอ้ งสมุดแต่ละแหง่ รวมถึงความครอบคลุมเน้ือหาสาคัญของทรัพยากรสารสนเทศแต่ละรายการ มีความเฉพาะเจาะจง ไม่เป็นคากว้างเกินไปจนไม่สามารถเป็นตัวแทนเนื้อหาสาคัญได้ (Haykin, 1985, 107-111 ; Chan, 1995, 15 อา้ งอิงใน อังคณา สุรวิ รรณ์, 2552, น. 37)6. กำรทำรำยกำรบรรณำนุกรมทรพั ยำกรสำรสนเทศ การทาหรือการลงรายการบรรณานุกรม คือ การจัดระเบียบข้อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ เพ่ือสร้างตัวแทนสารสนเทศให้อยู่ในรูปแบบที่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์การลงรายการท่ีองค์การสารสนเทศใช้เป็นหลักปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ (ชนิดา จริยาพรพงศ์ และรุ้งฟ้า ฐิโณ ทัย , 2555, น. 12)ซึ่งประกอบด้วย หลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน ฉบับพิมพ์คร้ังที่ 2 (Anglo-American Cataloguing Rules2nd ed.) และมาตรฐานการบันทึกข้อมูลบรรณานุกรมท่ีเคร่ืองคอมพิวเตอร์อ่านได้ (MARC : Machine ReadableCataloging) (องั คณา สุรวิ รรณ์, 2552, น. 37) โดยกาหนดใหใ้ ช้คูม่ อื ออนไลนใ์ นการทารายการบรรณานุกรม7. หลกั เกณฑ์กำรทำรำยกำรบรรณำนกุ รมทรพั ยำกรสำรสนเทศ การทารายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศจะยึดตามรูปแบบ USMARC format ท่ีมีส่วนประกอบของระเบยี นบรรณานุกรม (Bibliographic record) ดังนี้ (อังคณา สรุ ิวรรณ,์ 2552, น. 38-39) 1. Leader ประกอบดว้ ยคา่ ของตัวเลขหรือรหสั และจะแสดงความสมั พนั ธ์โดยตาแหน่งของ Character 2. Directory คือ ชุดของรายการข้อมูล ประกอบด้วยเขตข้อมูล (Tag) ต่าง ๆ ความยาวและจุดเริ่มต้นของแต่ละข้อมลู ซ่งึ จดั ลาดับโดย Character ของเขตขอ้ มลู 3. Variable fields กาหนดโดย Tag ท่ีประกอบด้วยเลข 3 หลัก ในแต่ละ Tag จะจบด้วยเครื่องหมาย variabledata field แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คือ 3.1 Variable control fields ได้แก่ เขตข้อมูล 00X (ไม่มี indicator และ subfield) ประกอบด้วยรายการข้อมูลเดียว (Single data element) หรือชุดของความยาวข้อมูลคงที่ (Series of fixed-length data elements)แสดงความสมั พนั ธโ์ ดยตาแหนง่ ของ character 3.2 Variable data fields ได้แก่ เขตข้อมูลท่ีเหลือ โดยจะระบุ Tag ใน Directory ประกอบด้วย2 indicator ตามดว้ ย subfield code สรุปส่วนประกอบของ USMARC ของรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ 1 ระเบียนจะมี รายละเอียดดังนี้(อังคณา สุริวรรณ์, 2552, น. 39-42)

12Leader (24 character: ตาแหน่งที่ 00-23) 0XX Control information, identification and classification number, etc. ส่วนขอ้ มูลควบคุม, ตวั บง่ ชี้ และเลขเรียกหนงั สือ 008 Fixed length data elements ข้อมลู กาหนดคงที่ 020 ISBN (International Standard Book Number) หมายเลขประจาหนังสอื 022* ISBN (International Standard Serial Number) หมายเลขประจาวารสาร 041 Language code รหสั ภาษาของทรพั ยากร 050 LC call number เลขเรียกหนังสอื ระบบ LC 060 NLM call number เลขเรียกหนังสือระบบ NLM 082 DDC call number เลขเรยี กหนงั สือระบบ Dewey 090 Local call number เลขเรยี กหนงั สือระบบสัญลักษณ์หรอื เลขหมทู่ ีห่ นว่ ยงานกาหนด 1XX Main entries รำยกำรหลัก 100 Author Personal name (NR) ช่ือบุคคล 110 Corporate name (NR) ช่ือนิติบคุ คล 111 Conference name (NR) ชือ่ การประชุม 130 Uniform title (NR) ชื่อเรอ่ื งแบบฉบบั 2XX Title and title paragraph (Title, edition, imprint) ส่วนรำยกำรชอื่ เรื่อง 210* Abbreviate key title (NR) ชื่อเร่อื งยอ่ 222* Key title (R) ชอ่ื เร่อื งหลกั ท่กี าหนดโดยสานักงานหมายเลขประจาวารสารสากล (ISSN) 240 Uniform title (NR) ชื่อเร่อื งแบบฉบับ 250 Title statement (NR) ชื่อเรอื่ ง 246 Varying form title (R) ช่อื เร่อื งอน่ื ๆ ของทรพั ยากรสารสนเทศ 247* Former title or title variations (R) ช่ือเรื่องเดมิ /ชอื่ เร่อื งทีแ่ ตกตา่ งจากปัจจุบัน 250 Edition area (NR) ขอ้ มลู คร้ังท่ีพมิ พ์ 260 Imprint (Publication, Distribution, etc.) (NR) ขอ้ มลู พิมพ์ลักษณ์ 3XX Physical description กำรบรรยำยลกั ษณะทำงกำยภำพของทรพั ยำกร 300 Physical description, etc. (R) ขอ้ มูลเกยี่ วกับการพิมพ์ 310* current publication frequency (NR) กาหนดออก/ความถ่ใี นการจัดพิมพใ์ นปจั จุบนั 321* Former publication frequency (R) กาหนดออก/ความถ่ใี นการจัดพิมพ์ในอดีต 362* Date of publication and/or volume designation (R) ปีพมิ พ/์ การบรรยายขอ้ มูลปที ี่พิมพ์ 4XX Series statements กำรบรรยำยช่ือชุด 490 Series statements (R) ช่ือชดุ 5XX Note กำรบรรยำยหมำยเหตุ 500 General notes (R) หมายเหตทุ ่ัวไป 502 Dissertation note (R) หมายเหตรุ ายการทีม่ เี พมิ่ เติมของทรัพยากร 504 Bibliography, etc. notes (R) หมายเหตุรายการบรรณานุกรมและดรรชนี 505 Formatted contents note (R) หมายเหตจุ าแนกสารบัญ 546 Language note (R) หมายเหตรุ ะบภุ าษาของทรัพยากร

13 6XX Subject access fields เขตข้อมลู หวั เร่อื ง 600 Subject added entry-Personal name (R) หวั เร่ืองชอ่ื บคุ คล 610 Subject added entry-Corporate name (R) หัวเร่อื งช่ือนติ ิบคุ คล 611 Subject added entry-Meeting name (R) หัวเรือ่ งช่อื การประชมุ 630 Subject added entry-Uniform title (R) หัวเรอื่ งช่อื เรือ่ งแบบฉบบั 650 Subject added entry-Topical term (R) หัวเรอ่ื งทว่ั ไป 651 Subject added entry-Geographic name (R) หัวเรอ่ื งช่ือภมู ิศาสตร์ 7XX Added entries other than subject or series ; linking fields ขอ้ มลู รำยกำรเพิ่มอนื่ ๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 700 Added entry-Personal name (R) รายการเพม่ิ ชอื่ บคุ คล 710 Added entry-Corporate name (R) รายการเพ่ิมชือ่ นติ บิ ุคคล 711 Added entry-Meeting name (R) รายการเพ่ิมชือ่ การประชุม 730 Added entry-Uniform title (R) รายการเพิ่มช่ือเร่อื งแบบฉบบั 740 Added entry-Uncontrolled related/analytical title (R) รายการเพ่มิ ช่ือเร่ืองอื่น ๆ ท่เี กย่ี วข้องกบั ทรัพยากร 770* Supplement/special issue entry (R) รายการเพมิ่ ของฉบับเสริม/ฉบบั เพม่ิ เติม 772* Parent record entry (R) รายการเพ่ิมเกี่ยวกับทรพั ยากรหลัก 8XX Series added entries, etc. รำยกำรเพิ่มชื่อชุด 800 Series added entry-Personal name (R) รายการเพ่ิมช่อื ชุดชอ่ื บคุ คล 810 Series added entry-Corporate name (R) รายการเพม่ิ ชอ่ื ชุดช่ือนิติบุคคล 811 Series added entry-Meeting name (R) รายการเพม่ิ ชือ่ ชุดชือ่ การประชุม 830 Series added entry-Uniform title (R) รายการเพิ่มช่ือชุดชื่อเร่ืองแบบฉบับ 850 Holding institution (R) การแจกแจงรายการทรพั ยากรของห้องสมุด 856 Electronic location and access (R) การระบทุ ี่อยู่อิเลก็ ทรอนกิ ส์เพือ่ การเชอ่ื มโยง 9XX Reserved for local implementation เขตข้อมูลท่ีใชเ้ ฉพำะของหอ้ งสมุด 907 Local data (R) เลขบรรณานุกรม 949 Local data (R) ช่ือผ้ทู ารายการ/ผบู้ นั ทกึ ขอ้ มลูหมายเหตุ * หมายถึง เขตข้อมลู สาหรบั สง่ิ พมิ พ์ตอ่ เนื่องประเภทวารสาร (R) หมายถึง เขตข้อมูลท่ลี งรายการซา้ ได้ (NR) หมายถึง เขตขอ้ มลู ที่ลงรายการไดเ้ พียงครงั้ เดยี ว ในส่วนของการลงรายการบรรณานุกรมตามรูปแบบและหลักเกณฑ์ของ MARC21 และ AACR2 ได้อธิบายพร้อมตัวอยา่ งไวใ้ นบทที่ 3

บทท่ี 3 หลกั เกณฑแ์ ละวิธีกำรปฏิบัติงำน1. กำรจดั หมวดหมู่ทรัพยำกรสำรสนเทศประเภทสอื่ โสตทศั นวสั ดุ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา จัดระบบหมวดหมู่ส่ือโสตทัศนวัสดุด้วยการใช้ระบบเลขทะเบียนแทนการจัดหมวดหมู่แบบหนังสือ โดยกาหนดให้ใช้อักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่ผสมกับตัวเลขอารบิกเป็นรหัสตัวแทนสื่อโสตทศั นวสั ดุในแตล่ ะประเภทและตามดว้ ยหมายเลขลาดับการลงทะเบียนของสือ่ โสตทัศนวสั ดนุ น้ั ๆตัวอยำ่ ง CD-ROM1745 หมายถงึ ซดี ีรอม, ซดี รี อมประกอบหนังสอื ลาดับที่ 1745 VCD114 หมายถึง วีซีดี, วิดโี อดสิ ก์, วีซีดปี ระกอบหนังสือลาดับท่ี 114 DVD359 หมายถงึ ดวี ดี ี, ดวี ดี ปี ระกอบหนงั สือลาดับที่ 359 MV0958 หมายถงึ ภาพยนตร์ดาลับที่ 9582. กำรกำหนดสัญลักษณ์ทีใ่ ชแ้ ทนหมวดหมู่ส่ือโสตทัศนวสั ดุ สญั ลักษณ์ท่ีศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยามีการกาหนดใช้สัญลักษณ์สาหรับใช้แทนหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศประเภทสื่อโสตทัศนวัสดุ ดงั นี้ ตำรำงที่ 1 กำรกำหนดสัญลักษณแ์ ทนหมวดหมู่ส่ือโสตทัศนวสั ดุสญั ลกั ษณ์ วสั ด/ุ ชนิดของสื่อโสตทศั นวัสดุCD-ROM ซีดีรอมเสียง (เสียงบรรยาย, เสียงพูด, เสียงเพลง), ซีดีรอมประกอบหนังสือ, ซีดีรอมฐานข้อมูล, ซีดรี อมโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ VCD วิดโี อดสิ ก์ท่ีเปน็ Video Compact Disc, วดิ โี อดสิ กป์ ระกอบหนังสอื DVD วิดีโอดสิ กท์ ี่เป็น Digital Video Disc, ดีวดี ปี ระกอบหนงั สอื MV* ดีวีดีภาพยนตร์ปรบั จาก ธนพร ประเสริฐกุล, 2547, น.2 MV* เป็นสัญลักษณ์ที่ทางศูนย์บรรณสารและส่ือการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยาร่วมกันกาหนดข้ึนเอง เพื่อใช้แทนการจดั หมวดหม่ขู องส่อื โสตทศั นวสั ดปุ ระเภทภาพยนตร์

153. กำรทำรำยกำรบรรณำนุกรมทรัพยำกรสำรสนเทศส่ือโสตทศั นวสั ดุ การทารายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศส่ือโสตทัศนวัสดุ หรือ การลงรายการทางบรรณานุกรมที่มีมาตรฐานโดยยึดหลักเกณฑ์การลงรายการตามมาตรฐานของ AACR2 ซึ่งเป็นมาตรฐานการลงรายการสากล และ MARCเป็นมาตรฐานการลงรายการที่เคร่ืองคอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ ซึ่งการลงรายการทางบรรณานุกรมส่ือโสตทัศนวัสดุน้ันมีการลงรายการเช่นเดียวกันกับหนังสือ แต่มีส่วนที่เพิ่มเติม คือ การลงรายการ GMD (General Material Designation)เป็นการลงรายการเพื่อระบุประเภทของสื่อโสตทัศนวัสดุ เช่น electronic resource ใช้กับ แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ soundrecording ใช้กับวัสดุบันทึกเสียง และ videorecording ใช้กับวีดิทัศน์ เป็นต้น โดยระบุในเขตข้อมูล 245 แล้วใส่ไว้ในเครอ่ื งหมายวงเลบ็ เหลย่ี ม [ ] หลงั ช่ือเรื่องเสมอและเปน็ อักษรภาษาองั กฤษตวั พิมพเ์ ลก็ ท้ังหมด ตัวอยำ่ ง [sound recording] [electronic resource] [videorecording] [computer file]4. แหล่งข้อมูลกำรลงรำยกำรทำงบรรณำนุกรมส่ือโสตทศั นวสั ดุ 4.1 แหล่งขอ้ มูลหลัก 4.1.1 ปกของวสั ดุ ฉลากท่ีติดอยูบ่ นวสั ดุ 4.1.2 ชื่อเรือ่ งทป่ี รากฏหน้าจอของวดิ โี อและตอนทา้ ยของวิดโี อ (รายการท่เี ปน็ วีดทิ ัศน์) 4.1.3 กล่องบรรจุและส่งิ พิมพ์ประกอบวสั ดุ 4.2 แหล่งขอ้ มลู ท่ีกำหนด 4.2.1 ชอ่ื เร่ืองและการแจ้งความรบั ผดิ ชอบ (แหลง่ ขอ้ มลู หลกั ) 4.2.2 ส่วนการพมิ พ์ ฉบบั พิมพ์ ช่ือชดุ (ปก ฉลาก กลอ่ งบรรจุ สง่ิ พมิ พป์ ระกอบวสั ดุ รวมถงึ รายการข้อมลู ในวีดทิ ศั น์) 4.2.3 ลักษณะทางกายภาพ เลขมาตรฐานสากล (ถา้ มี) หมายเหตุ (ถ้าหากขอ้ มลู ท่ีไมไ่ ดจ้ ากแหล่งท่ีกาหนดไว้ ให้ลงในเครือ่ งหมาย [ ])5. ลักษณะทำงกำยภำพเฉพำะของสื่อโสตทศั นวัสดุ ลักษณะทางกายภาพเฉพาะของวัสดทุ ใ่ี ชล้ งรายการใน Tag 300 จะต้องสัมพนั ธ์กับข้อมูลทล่ี ง GMD ไว้ใน Tag 245ตัวอยำ่ ง electronic resource : E-book ใช้ computer optical disc ; CD-ROM / แผ่น sound recording ใช้ sound disc / แผน่ videorecording ใช้ videodisc / แผน่

166. โครงสรำ้ งระเบียน MARC ของส่ือโสตทัศนวัสดุ -000 เขตขอ้ มูลการทารายการส่วนปา้ ยทะเบียน -005 เขตขอ้ มูลวนั และเวลาทจี่ ดั การกบั ระเบียน -007 เขตข้อมูลลกั ษณะทางกายภาพ (Physical description fixed field) -008 เขตข้อมูลความยาวคงท่ี (Fixed length data elements) -020 |aเลขมาตรฐานสากล (International Standard Book Number) -041 |aเขตขอ้ มลู ภาษา -090 |aเลขเรยี กหนงั สอื ที่กาหนดเอง -1xx |aรายการหลกั ทเ่ี ปน็ บุคคล, นติ ิบุคคล -245 |aช่ือเรือ่ งท่เี หมาะสม|h[GMD] =|bชื่อเรอื่ งเทียบเคยี ง :|bส่วนอน่ื ๆ ของช่อื เรอื่ ง.|n ตอนที่, เล่มท่ี,|pช่ือตอน /|cการแจง้ ความรับผิดชอบ -246 |aชอ่ื เรอ่ื งที่แตกตา่ ง|h[GMD] -250 |aฉบับพิมพ์ -260 |aสถานท่ีผลิต, จดั ทา :|bบริษัทที่ผลิต, จัดทา,|cปที ่ีผลติ , จดั ทา -300 |aจานวนส่ือฯ (เวลาเลน่ ) :|bเสียง, สี +|eหนงั สอื ประกอบ (กรณที ม่ี วี สั ดุอ่ืนๆ ประกอบดว้ ย) -4xx |aชื่อชดุ ;|vลาดบั ชดุ -500 |aหมายเหตุทว่ั ไป -508 |aผู้ผลิต (ผ้มู สี ่วนเก่ียวขอ้ งในการจดั ทา) -511 |aนักแสดง/ผบู้ รรยาย/ผู้นาเสนอ -521 |aหมายเหตกุ ลุม่ เปา้ หมาย -538 |aขอ้ มลู เก่ยี วกับระบบเทคนคิ -546 |aหมายเหตุภาษา -6xx |aหวั เรือ่ ง -7xx |aรายการเพ่ิมผู้แต่ง -83x |aรายการเพ่ิมชื่อชุด;|vลาดับชุด -949 |aชื่อผ้ลู งรายการ

177. รำยละเอยี ดกำรลงรำยกำรทำงบรรณำนกุ รม 000 เขตข้อมลู กำรทำรำยกำรส่วนปำ้ ยทะเบยี นตารางท่ี 2 รายละเอียดของความหมายแต่ละตาแหน่งของ Leader การลงรายการสือ่ โสตทศั นวสั ดุ CD-ROM, VCD, DVD ทวั่ ไปขอ้ มลู ตาแหน่ง ชื่อตาแหน่ง ความหมาย00972 0-4 Record length ความยาวระเบียนในเชิงตรรกะซึ่งเป็นความยาวโดยรวมของ รายการที่คานวณโดยคอมพิวเตอร์n 5 Record status สถานะของรายการเพื่อชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของรายการ แฟ้มข้อมูล จุดประสงค์คือเพื่อการปรับปรุงข้อมูล ในที่นี้คือ สถานะเป็นระเบียนใหม่m 6 Type of record ป ระเภ ท ขอ งระเบี ย น คื อ ระเบี ย น ข้อ มู ล /สื่ อ ที่ ต้ อ งใช้ คอมพิวเตอร์ในการประมวลผลm 7 Bibliographic ระบรุ ะดับของบรรณานุกรม ซึ่งในทีน่ ้ีเป็นเอกสารตน้ ฉบับ level# 8 Type of control ยังไม่ได้ระบใุ ห้ใช้# 9 Character code MARC-822 10-11 Indicator/Subfield จานวนตัวบ่งชี้ (Indicator) ในที่น้จี ะเปน็ 2 เสมอ00265 12-16 Based address จุดเริ่มต้นของข้อมูลที่บันทึกเข้าไปในระบบ จะใช้ตัวเลข 5 ตัว เพื่อระบุตาแหน่งเริ่มต้นของอักษรตัวแรกที่ใช้เขตข้อมูลสาหรับ บันทึกรายการคานวณโดยคอมพิวเตอร์สาหรับระเบียนนี้เขต ข้อมูลเร่มิ ทีต่ าแหน่ง 0181# 17 Encoding level ระดับของการใช้รหัสเพื่ออธิบายข้อมูลบางอย่างในระบบ เป็น ระดับการทารายการในที่นี้ blank แต่หมายถึง ข้อมูลนาลงแบบ เตม็ รูปa 18 Cataloging form ระบุถึงรูปแบบการทารายการว่าใช้ตามกฎเกณฑ์ AACR2 หรือ ISBD ในทีน่ ้ี a หมายถึง AACR2# 19 Multipart record ต้องการเชอ่ื มกบั ระเบียนอื่น ในที่น้ไี ม่ระบุให้ใช้ level4500 20-23 Entry map 4 หมายถึง ความยาวของระเบียนใช้ 4 ตาแหน่ง 5 หมายถึง ตาแหนง่ ที่เริม่ ตน้ ของขอ้ มูลใช้ 5 ตาแหน่ง*ตาแหน่งที่ 20-23 โดยส่วนใหญ่จะเป็น 4500 เสมอ

18ตารางท่ี 3 รายละเอียดของความหมายแต่ละตาแหน่งของ Leader การลงรายการสื่อโสตทัศนวสั ดุ DVD ภาพยนตร์ขอ้ มูล ตาแหน่ง ชื่อตาแหน่ง ความหมาย01597 0-4 Record length ความยาวระเบียนในเชิงตรรกะซึ่งเป็นความยาวโดยรวมของรายการที่ คานวณโดยคอมพิวเตอร์n5 Record status สถานะของรายการเพื่อชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของรายการแฟ้มข้อมูล จุดประสงคค์ ือเพื่อการปรับปรงุ ขอ้ มูล ในที่น้ีคอื สถานะเป็นระเบียนใหม่g6 Type of record ประเภทของระเบียน คือ สื่อที่แสดงด้วยการฉายที่ต้องใช้ร่วมกับเคร่ืองฉาย หรอื เครื่องเล่นm7 Bibliographic ระบรุ ะดบั ของบรรณานกุ รม ซึ่งในที่น้เี ปน็ เอกสารตน้ ฉบบั level#8 Type of control ยังไม่ได้ระบุให้ใช้#9 Character code MARC-822 10-11 Indicator/Subfield จานวนตวั บ่งชี้ (Indicator) ในที่น้ีจะเปน็ 2 เสมอ00325 12-16 Based address จุดเริ่มต้นของข้อมูลที่บันทึกเข้าไปในระบบ จะใช้ตัวเลข 5 ตัว เพื่อระบุ ตาแหน่งเริม่ ต้นของอกั ษรตัวแรกที่ใช้เขตข้อมูลสาหรับบันทึกรายการคานวณ โดยคอมพิวเตอร์สาหรบั ระเบียนนี้เขตขอ้ มลู เริม่ ที่ตาแหน่ง 0181# 17 Encoding level ระดับของการใช้รหัสเพื่ออธิบายข้อมูลบางอย่างในระบบ เป็นระดับการทา รายการในทีน่ ้ี blank แตห่ มายถึง ข้อมูลนาลงแบบเต็มรปูa 18 Cataloging form ระบุถึงรปู แบบการทารายการว่าใช้ตามกฎเกณฑ์ AACR2 หรอื ISBD ในที่น้ี a หมายถึง AACR2# 19 Multipart record ต้องการเชอ่ื มกบั ระเบียนอน่ื ในที่น้ไี ม่ระบุให้ใช้ level4500 20-23 Entry map 4 หมายถึง ความยาวของระเบียนใช้ 4 ตาแหน่ง 5 หมายถึง ตาแหน่งที่เรม่ิ ตน้ ของขอ้ มลู ใช้ 5 ตาแหน่ง*ตาแหน่งที่ 20-23 โดยส่วนใหญ่จะเป็น 4500 เสมอ

19 005 เขตข้อมูลวันและเวลำท่ีจัดกำรกับระเบียน (Date and time of latest transaction) ใช้สาหรับระบุวนั เวลาล่าสุดทม่ี ีการกระทากับรายการลา่ สุด โดยมีการบนั ทึกในรูปแบบของตวั เลขจานวน 8 หลัก ในรูปแบบของปีเดือนวัน(yyyymmdd) ตัวอย่างเช่น 20170308 ในส่วนของเวลานั้นก็ใช้รูปแบบของตวั เลข 8 หลักเช่นเดียวกัน ในรปู แบบชั่วโมงนาทีวินาทีและมิลลิวินาที (hhmmss.f) ตัวอย่างเช่น 152645.0 โดยส่วนใหญ่ระบบจะดาเนินการบันทึกเวลาในการจัดการกบั ระเบยี นใหอ้ ัตโนมตั ิ ตัวอยำ่ ง 005 20170308152645.0 (วนั ที่ 8 มีนาคม 2017, เวลา 3:26:45 p.m.) 007 เขตข้อมูลลักษณะทำงกำยภำพ (Physical description fixed field) เม่ือทาการลงรายการแล้วทาการบันทึกขอ้ มลู ระบบจะดาเนนิ การในเขตข้อมลู นี้ให้แบบอตั โนมตั ิ 008 เขตข้อมูลควำมยำวคงที่-ในส่วนรำยละเอียดทั่วไป (Fixed-Length Data element-GeneralInformation) (NR) เปน็ การกาหนดรหัสท่ีใช้กบั ระเบียน เพื่อระบุลักษณะพิเศษของรายการทางบรรณานกุ รม ซงึ่ ในบางส่วนนั้นเป็นข้อมูลท่ีสาคัญและบางส่วนก็สามารถปล่อยว่างได้ขึ้นอยู่กับระบบท่ีใช้ รูปแบบทรัพยากรสารสนเทศท่ีกาหนดไว้ในเขตข้อมูล 008 นั้น ผู้ที่ดาเนินการลงรายการทางบรรณานุกรมต้องวิเคราะห์และจาแนกได้ว่าทรัพยากรที่กาลังจะดาเนนิ การลงรายการนน้ั เปน็ รายการใดในรปู แบบดงั ตอ่ ไปน้ี BK หมายถงึ หนังสือ วสั ดตุ พี มิ พ์ CF หมายถงึ แฟ้มข้อมลู คอมพวิ เตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมถงึ วสั ดตุ ่างๆ ท่มี ีข้อมลู ทอ่ี ่านไดด้ ว้ ยเคร่ือง MU หมายถึง โน้ตเพลง โน้ตดนตรี ต้นฉบับเก่ียวตัวเขียนและเอกสารที่เกี่ยวกับโน้ตดนตรี รวมถึงสิ่งที่เก่ียวข้อง เก่ียวกับการบันทึกเสียงทงั้ หมด MP หมายถงึ แผนทีแ่ ละเอกสารท้ังหมดท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั แผนท่ี SE หมายถงึ วารสารและสิ่งพิมพต์ อ่ เนื่อง รวมถงึ เอกสารทีม่ รี ปู แบบการพิมพแ์ บบต่อเน่ือง VM หมายถงึ ส่ือทศั นวัสดุ รวมถึงวดี ทิ ัศน์และภาพยนตร์ MX หมายถงึ ส่ือประสม เอกสารจดหมายเหตุ และเอกสารตน้ ฉบับตัวเขยี น

20ตารางท่ี 4 ความหมายของเขตข้อมูลควบคุมท่วั ไป 008 การลงรายการสื่อโสตทัศนวสั ดุ ประเภท CD-ROM, VCD, DVD ทว่ั ไปตาแหน่ง ชือ่ ตาแหน่ง ข้อมลู ความหมาย00-05 วนั ทีบ่ ันทึกข้อมลู 040421 บันทึกเมือ่ วันที่ 21 เมษายน 200406* รหัสแสดงประเภทของปีพิมพ์ s เปน็ ปีเดียวทีท่ ราบข้อมูล7-10* ปีพิมพท์ ีเ่ รม่ิ ตน้ 2004 ปีพิมพค์ ือ 200411-14 ปีพิมพเ์ ผยแพร่, ปีที่สิน้ สุด #### ไม่มปี ีสนิ้ สุด15-17* รหัสสถานทีพ่ ิมพ์ mau รฐั แมสซาชูเซตส์18-21* ไม่กาหนดให้ใช้ #### ไม่ระบุ22 รหสั ระดับผใู้ ช้ # ไม่ระบุระดบั ของผู้ใช้23-25 ไม่กาหนดให้ใช้ ### ไม่ระบุ26 ประเภทของไฟล์คอมพิวเตอร์ i Interactive multimedia27 ไม่กาหนดให้ใช้ # ไม่ระบุ28 รหัสแสดงระดับของส่งิ พิมพ์รฐั บาล # ไม่ใช่สง่ิ พิมพ์รัฐบาล29-34 ไม่กาหนดให้ใช้ ###### ไม่ระบุ35-37* รหัสแสดงภาษา eng จัดพิมพเ์ ปน็ ภาษาองั กฤษ38 รหัสแสดงการแก้ไขข้อมูลหรอื ระเบียน # ไม่มกี ารแก้ไขระเบียน39* รหสั แสดงแหล่งที่มาของระเบียน d เป็นระเบียนที่ทารายการโดยหน่วยงานไม่ได้ คดั ลอกจากแหล่งบรรณานุกรมใด ๆ

21ตารางที่ 5 ความหมายของเขตข้อมลู ควบคุมทั่วไป 008 การลงรายการสอ่ื โสตทัศนวัสดุ ประเภท DVD ภาพยนตร์ตาแหน่ง ชื่อตาแหน่ง ข้อมลู ความหมาย00-05 วนั ที่บันทึกข้อมูล 171004 บนั ทึกเมือ่ วนั ที่ 4 ตุลาคม 201706* รหสั แสดงประเภทของปีพิมพ์ s เปน็ ปีเดียวที่ทราบข้อมลู7-10* ปีพิมพท์ ีเ่ ร่มิ ตน้ 2017 ปีพิมพค์ ือ 201711-14 ปีพิมพเ์ ผยแพร่, ปีที่สิน้ สดุ #### ไม่มปี ีสิน้ สุด15-17* รหสั สถานที่พิมพ์ th# ประเทศไทย18-20* เวลาทีใ่ ชใ้ นการเล่น 638 ระบุเป็นนาที21 ไม่กาหนดให้ใช้ # ไม่ระบุ22 รหสั ระดบั ผใู้ ช้ g ท่ัวไป23-27 ไม่กาหนดให้ใช้ ##### ไม่ระบุ28 รหัสแสดงระดับของสง่ิ พิมพ์รัฐบาล # ไม่ใช่ส่งิ พิมพ์รฐั บาล29 รูปแบบของทรัพยากร # ไม่ระบุ30-32 ไม่กาหนดให้ใช้ ### ไม่ระบุ33 ประเภทสื่อโสตทัศนวัสดุ v videorecording34 เทคนิค l Live action35-37* รหสั แสดงภาษา tha จัดพิมพเ์ ป็นภาษาไทย38 รหสั แสดงการแก้ไขข้อมูลหรอื ระเบียน # ไม่มกี ารแก้ไขระเบียน39* รหสั แสดงแหลง่ ทีม่ าของระเบียน d เป็นระเบียนที่ทารายการโดยหน่วยงานไม่ได้ คดั ลอกจากแหล่งบรรณานุกรมใด ๆ 020 เลขมำตรฐำนสำกล (International Standard Book Number) เป็นเขตขอ้ มูลที่ไมต่ ้องกาหนดตัวบ่งช้ีIndicators ทั้ง 1 และ 2 โดยมีเขตขอ้ มูลยอ่ ย ดงั ตอ่ ไปนี้ |aเลข ISBN |cราคาของวัสดุ รวมถึงรายละเอียดเก่ยี วกบั การจัดหา |zเลข ISBN ทถี่ ูกยกเลิก หรือเลข ISBN ทไี่ ม่สมบูรณ์ ตวั อย่ำง 020 ##|a9789746587954|c520 020 ##|a9746588791 020 ##|a013201422X 020 ##|z125403

22041 รหัสภำษำ ระบุตัวอักษร 3 ตัวที่ใช้แทนภาษาของวัสดุนั้น ใช้เม่ือเขตข้อมูล 008/35-37 ไม่สามารถระบุได้หมด หรือสอ่ื ความหมายไดไ้ ม่ชัดเจนพอ รวมถึงสอ่ื ความหมายถงึ วัสดุทีม่ ีหลายภาษาตัวอยำ่ ง 041 1#|atha|hjpn|hchi|heng กรณีที่ทรพั ยากรนั้นมีการแปลหลายภาษา041 0#|atha|ajpn|achi|akor กรณีทีท่ รพั ยากรมหี ลายภาษาและไมม่ ีการแปล 090 เลขหมู่หรือเลขเรียกส่ือโสตทัศนวัสดุ เป็นการกาหนดเลขหมู่หรือเลขเรียกฯ ข้ึนใช้เองภายในหน่วยงานโดยแบ่งเป็นดงั นี้ 1) CD-ROM ใชส้ าหรับลงรายการสื่อโสตทศั นวัสดุประเภทซดี ีรอมเสยี ง (เสียงบรรยาย, เสยี งพดู เสียงเพลง),ซีดีรอมประกอบหนังสือ, ซีดีรอมฐานข้อมูล, ซีดีรอมโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2) DVD ใช้สาหรับลงรายการสื่อโสตทัศนวัสดุประเภทวิดีโอดิสก์ท่ีเป็น Digital Video Disc, ดีวีดีประกอบหนังสือ 3) VCD ใช้สาหรับลงรายการส่ือโสตทัศนวัสดุประเภทวิดีโอดิสก์ท่ีเป็น Video Compact Disc, วิดีโอดิสก์ประกอบหนังสือ 4) MV ใช้สาหรับลงรายการสื่อโสตทัศนวัสดุประเภทภาพยนตร์Indicators Indicator 1 # (ไมร่ ะบุ) Indicator 2 # (ไมร่ ะบุ)ตวั อยำ่ ง 090 ##|aCD-ROM1745 090 ##|aDVD359 090 ##|aVCD148 090 ##|aMV0185 100 รำยกำรหลักท่ีเป็นช่ือผู้แต่ง ใช้สาหรับลงรายละเอียดเก่ียวกับบุคคลที่เป็นรายการหลักท่ีรับผิดชอบผลงานนั้นๆ ซึ่ง มีทั้งช่ือจริง ชื่อเล่น นามแฝง นามปากกา หรืออื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับตัวบุคคลที่เป็นผู้รับผิดชอบผลงาน ซึ่งสาหรับส่ือโสตทัศนวัสดุนั้นไม่สามารถระบุรายการผู้แต่งที่ชัดเจนได้เหมือนกับหนังสือหรือสื่อส่ิงพิมพ์ได้ ดังน้ันการลงรายการผู้แต่งนั้นจาเปน็ มีหลักเกณฑ์ในการพจิ ารณาการลงรายการบุคคลดังต่อไปนี้ หลักการเลือกช่ือบุคคล (ในเขตข้อมูลผู้แต่ง tag 100) ประกอบด้วย 1) เลือกชื่อบุคคลท่ีปรากฏบนแหล่งข้อมูลหลักของวัสดุทั้งช่ือจริง นามแฝง ชื่อเล่น ชื่อบรรดาศักด์ิ ฯลฯ ท่ีนิยมใช้หรือรู้จักกันอย่างแพร่หลาย 2) กรณีที่บุคคลน้ันมีชื่อท่ีเป็นที่รู้จักมากกว่า 1 ชื่อ ให้เลือกช่ือที่รู้จักมากที่สุดมาลงรายการ 3) กรณีที่ช่ือบุคคลมีมากกว่า 1 ภาษาให้เลือกชื่อทม่ี ีรูปแบบทีใ่ ชก้ ันอย่างแพร่หลาย ตวั บง่ ชี้ (Indicators) Indicator 1 ประเภทของชือ่ บคุ คล 0 ช่ือตน้ (Forename) 1 ชอื่ สกลุ (Surname) 3 ชือ่ วงศ์ตระกลู (Family name) Indicator 2 # ไม่ระบุ (Undefined)

23รหัสเขตขอ้ มลู ย่อย (Subfield codes) |aชอ่ื บคุ คล (Personal name) (NR) |qชื่อเตม็ (Fuller form of name) (NR) |cยศ บรรดาศักด์ิ (R) |dปเี กิด-ปีตาย (NR) |eคาท่ีบอกความสัมพันธร์ ะหวา่ งงานกบั บุคคล (NR)ตัวอยำ่ ง 100 0#|aเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี,|cสมเด็จพระ,|d2498- 100 0#|aคกึ ฤทธ์ิ ปราโมช,|cม.ร.ว,|d2454-2538 100 0#|aสุขมุ โพธสิ วสั ด์ิ 100 1#|aStone, Emma,|d1988- 100 1#|aBrown, Nicola,|d1972- 100 1#|aAnderson, John T.หมำยเหตุ R = Repeat (สามารถใส่ขอ้ มูลได้มากกว่า 1 ครัง้ -ซา้ ได้) NR = None repeat (ใส่ขอ้ มูลไดเ้ พียงครัง้ เดียว-ห้ามซ้า) 110 รำยกำรหลักท่ีเป็นช่ือนิติบุคคล (NR) นิติบุคคล (Corporate name) คือ องค์กร สถาบัน หน่วยงานรวมถึงกลุ่มบุคคลท่ีรวมกลุม่ ทากิจกรรมร่วมกนั โดยมชี ื่อเฉพาะของกลมุ่ ท่ีเป็นทางการ ซึ่งนติ ิบุคคลทเ่ี ป็นเจา้ ของผลงานปรากฏอยู่ในรูปแบบสื่อโสตทัศนวัสดุมีดังต่อไปนี้ 1) หน่วยงาน/องค์กรของรัฐ ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม องค์กรรัฐวิสาหกิจ2) สถาบันทางการศึกษา ได้แก่ มหาวิทยาลัย วิทยาลัย โรงเรียน 3) หน่วยงานหรือองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไร ได้แก่ มูลนิธิกองทุน 4) บริษัทหรือองค์การเอกชนรวมถึงผู้ประกอบการที่ดาเนินงานทางด้านธุรกิจ ได้แก่ บริษัท ห้างร้าน 5) วัดและหน่วยงานท่ีดาเนินกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับทางศาสนา 6) การประชุม ได้แก่ การประชุม สัมมนา การฝึกอบรม 7) โครงการแผนงาน 8) เหตุการณส์ าคัญหรอื เหตุการณ์พิเศษ ไดแ้ ก่ งานเทศกาลต่างๆ กจิ กรรมในโอกาสตา่ งๆ การแข่งขนั กฬี า เปน็ ตน้ ตัวบง่ ชี้ (Indicators) Indicator 1 ประเภทของชอ่ื นิติบุคคล 0 ชื่อนติ บิ ุคคลทกี่ ลบั คา เช่น ศึกษาธิการ, กระทรวง คมนาคม, กระทรวง 1 ช่ือนิติบคุ คลตามกฎหมาย 2 ชอื่ นติ บิ คุ คลทรี่ ายการตามลาดับ Indicator 2 # ไมร่ ะบุ (Undefined) รหสั เขตขอ้ มลู ย่อย (Subfield codes) |aชอ่ื หนว่ ยงานหรอื ชือ่ นิตบิ ุคคลตามกฎหมาย (NR) |bชือ่ หนว่ ยงานรอง (R) |cสถานที่จดั การประชุม (NR) |dปีทีจ่ ดั การประชุมหรอื ปีที่เซ็นสัญญา (R) |eคาที่แสดงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งช่ือนิตบิ ุคคล (R)

24 |fปพี ิมพ์หรือปที ่ีจัดทาของผลงาน (NR) |gรายละเอียดอืน่ ๆ (NR) |kข้อมลู ย่อยของรปู แบบ (R) |lภาษาของผลงาน (NR) |nหมายเลขลาดบั ของผลงาน ตอน การประชุม (R) |pช่อื ของส่วน ตอนของงาน (R) |tช่อื ของผลงาน (NR) |uหนว่ ยงานตน้ สงั กดั (สถาบัน) ทน่ี ิตบิ คุ คลสังกดั อยู่ (R)ตัวอยำ่ ง 110 2#|aกระทรวงสาธารณสุข 110 2#|aกระทรวงศึกษาธิการ 110 2#|aมหาวิทยาลยั พะเยา.|bศนู ย์บรรณสารและสือ่ การศึกษา 110 2#|aสานกั นายกรัฐมนตรี 110 2#|aสถานโี ทรทศั น์ไทยทีวสี ี ชอ่ ง 3 110 2#|aกรมประชาสัมพนั ธ์ 110 2#|aจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .|bคณะอักษรศาสตร์ 111 รำยกำรหลักที่เป็นชื่อกำรประชุม (NR) เป็นเขตข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับชอ่ื การประชุมท่ไี ม่มีหน่วยงานเป็นส่วนหนึง่ ของช่ือการประชุม ให้ลงรายการข้อมลู ดังต่อไปนี้ ตัวบง่ ชี้ (Indicators) Indicator 1 รหสั ประเภทของการประชมุ 0 ช่อื การประชุมทก่ี ลับคา 1 ชอ่ื การประชุมทถี่ ูกต้องตามกฎหมาย 2 ชื่อการประชุมจริงตามตัวอักษร (ลงรายการตามลาดับท่ีปรากฏจริง) Indicator 2 # ไม่ระบุ (Undefined) รหสั เขตขอ้ มูลย่อย (Subfield codes) |aชือ่ การประชุมหรอื ชอื่ ตามกฎหมาย (NR) |cสถานทจี่ ดั ประชุม (NR) |dปีทีป่ ระชุม (NR) |eชอื่ การประชุมยอ่ ยหรอื ช่อื หนว่ ยงานรอง (R) |fปที พี่ ิมพ์ หรือ ปีทจ่ี ดั ทา (NR) |gขอ้ มลู ยอ่ ยอน่ื ๆ (NR) |kหวั เรือ่ งย่อยของรูปแบบ (R) |lภาษาของผลงาน (NR) |nเลขของตอน/ครงั้ ทป่ี ระชมุ (R) |pชือ่ ส่วนหรอื ตอนของการประชุม (R)

25 |qชอ่ื ของการประชุมทตี่ ามดว้ ยชอ่ื กฎหมาย (NR) |tชอื่ ผลงาน (NR) |uหนว่ ยงานต้นสังกัด (สถาบัน) ท่ีนติ ิบุคคลสังกัดอยู่ (R)ตวั อยำ่ ง 111 2#|aการประชุมพะเยาวจิ ัย.|n(ครั้งท่ี 5 :|d2558 :|cพะเยา) 111 2#|aCongress on Machinability.|n(2nd :|d2016 :|cNew Jersey, USA) 245 ชอ่ื เรอื่ งและส่วนกำรแจ้งควำมรบั ควำมรับผดิ ชอบ ในเขตข้อมลู นีใ้ ช้สาหรับบนั ทกึ /ลงรายการชอื่ เร่ืองและส่วนการแจ้งความรบั ผดิ ชอบของวสั ดุหรือสื่อโสตทัศนวสั ดุ ซ่ึงประกอบดว้ ย ตัวบ่งชี้ (Indicators) Indicator 1 ไมท่ ารายการเพ่ิมชอ่ื เรอ่ื ง 0 ไมท่ ารายการเพ่ิมชอื่ เร่ือง (No added entry) กรณีทีล่ งชือ่ เรือ่ งเปน็ รายการหลกั 1 ทารายการเพ่มิ ชื่อเรื่อง (Added entry) กรณที ีไ่ ม่ไดล้ งชื่อเร่อื งเป็นรายการหลกั Indicator 2 อกั ขระท่ีไม่ต้องการใหเ้ รยี งลาดับตามลาดบั อักษร รหัสเขตขอ้ มูลยอ่ ย (Subfield codes) |aชื่อเร่อื งท่ีเหมาะสม (Title) (NR) |bชือ่ เร่ืองอ่ืนๆ ของช่ือเรื่อง เช่น ชื่อเรอื่ งเทียบเคยี ง สว่ นขยายของชื่อเรอื่ ง (NR) |cส่วนของการแจ้งความรบั ผิดชอบของชอื่ เร่ือง (NR) |hประเภทของวัสดุ เชน่ [sound recording], [videorecording], [electronic resource], [computerfile] เปน็ ต้น (NR) ลงรายการหลัง |a, |n, และ |p แตร่ ายการก่อน |b เสมอ |kรูปแบบ (NR) |nเลขตอน/ส่วนท่ปี รากฏอยูใ่ นชื่อเร่อื ง (R) |pชื่อตอน/ส่วนทปี่ รากฏอยูใ่ นชอ่ื เร่อื ง (R) |sฉบบั (NR) ตัวอยำ่ ง 245 00|aการจัดการข้ันสูงสาหรับองค์การสารสนเทศ|h[electronic resource] =|bAdvancedmanagement of information organizations /|cสาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช 245 10|aโปรแกรมจัดการบญั ชขี น้ั สงู |h[computer file] /|cสุขมุ โพธ์สิ วสั ดิ์ 245 00|aตานานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช.|pตอน องค์ประกันหงสา|h[videorecording] /|cลิขสิทธิ์และจัดจาหน่ายโดย บริษทั ออดิโอ แอนด์ วิดีโอ เอน็ เตอร์เทนเมนท์ 245 10|aสนทนาภาษาญี่ปุ่นในชีวิตประจาวัน|h[sound recording] =|bJapanese conversation ineveryday /|cเสียงบรรยาย, มาซะกิโกะ ยูกะ, ยกู ิโกะ เคนตะ 245 10|aLa Boheme|h[sound recording] :|bopera in four acts /|cmusic by G. Puccini. 245 10|aIntroduction to biology|h[electronic resource] /cCharles D Logan 245 00|aTwenty twelve|h[videorecording] /cby Sony pictures home entertainment 245 00|aCalculas for windows|h[computer file]

26 246 รูปแบบช่ือเร่ืองที่แตกต่ำงจำกชื่อเร่ืองหลักหรือช่ือเร่ืองแตกต่ำง (Varying form of title) (R) ในเขตข้อมูลน้ีใช้บันทึกหรือลงรายการช่ือเร่ืองต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง เช่น ช่ือเร่ืองที่ 2 ชื่อเร่ืองที่ 3 หลังจากท่ีระบุช่ือเร่ืองที่ 1 (ชื่อเรื่องหลัก) ในเขตข้อมูล 245 แล้ว โดยเฉพาะช่ือเรื่องที่ปรากฏบนปกนอกรวมถึงช่ือเรื่องที่ปรากฏบนกล่องซีดีรอม ซึ่งชื่อเรื่องดังกล่าวนั้นมีความแตกต่างกับชื่อเรื่องหลัก ฉะน้ันในเขตข้อมูลนี้จึงจาเป็นต้องลงรายการเพิ่มเติมเพื่อให้ผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลช่อื เร่ืองได้มากกวา่ 1 ชอ่ื เรือ่ ง ประกอบด้วย ตวั บ่งช้ี (Indicators) Indicator 1 ระบุรายการเพิ่มชอื่ เรื่อง 0 ไมม่ ีการเพ่มิ ชอื่ เรอ่ื งแตเ่ พมิ่ รายการหมายเหตุใน 1 มรี ายการเพ่มิ ใหก้ ับชื่อเร่อื งและมรี ายการหมายเหตุใน 2 ไม่มรี ายการเพม่ิ ช่ือเร่ืองและไม่มรี ายการหมายเหตใุ น 3 มรี ายการเพม่ิ ชื่อเร่อื งแต่ไมม่ ีรายการหมายเหตุใน Indicator 2 ระบปุ ระเภทชอื่ เร่ือง # ไม่ระบุ 0 เป็นสว่ นหน่งึ ของช่ือเร่ืองใน 245 (ชือ่ เรอ่ื งทีใ่ ช้ในการคน้ ) 1 ชื่อเร่ืองเทียบเคียง (Parallel title) เช่น ช่ือเร่ืองในภาษาอื่นๆ สามารถลงรายการให้สืบค้นได้ มากกว่า 1 ชอื่ เรอ่ื ง 2 ชอื่ เรอ่ื งทีแ่ ตกตา่ งจากชอ่ื เร่อื งอ่ืนๆ 3 ชอ่ื เรอ่ื งอนื่ ๆ 4 ช่ือเรอ่ื งจากปก (Cover title) เปน็ ชอื่ เร่อื งทีไ่ ดจ้ ากปกนอกและชื่อเรอ่ื งท่ีไดจ้ ากที่อ่นื ๆ 5 ชอ่ื เร่ืองเพม่ิ เติมจากปกใน 6 ช่ือเรื่องจากหัวขอ้ 7 ช่ือเรือ่ งจากสว่ นบนและสว่ นลา่ งของทุกหนา้ 8 ช่ือเร่ืองจากสนั (Spine title) รหสั เขตข้อมลู ย่อย (Subfield codes) |aช่อื เรือ่ งทเี่ หมาะสม (NR) |bขอ้ มลู อ่ืนๆ ของชอื่ เร่ือง เช่น ชือ่ เร่อื งเทยี บเคียง สว่ นขยายของชอื่ เรอ่ื ง (NR) |hคาระบุ ป ระเภ ท ขอ งสื่ อใน วงเล็ บ เห ลี่ ยม เช่ น [computer file], [sound recording],[videorecording], [electronic resource] (NR) |nเลขตอน/ส่วนทปี่ รากฏอยู่ในชอื่ เรอ่ื ง (R) |pช่ือตอน/สว่ นทป่ี รากฏอยใู่ นชือ่ เรอื่ ง (R) |fระบุปีท่ี ฉบับที่ และหรือปที พ่ี ิมพข์ องผลงาน (NR) |gขอ้ มลู อนื่ ๆ ของชื่อเร่ือง |iขอ้ ความท่ีแสดงสาหรับใส่คาอธิบายหรือหมายเหตุ เพ่อื แจ้งใหท้ ราบวา่ ข้อมูลดังกล่าวนน้ั เปน็ ข้อมูลท่ีไดม้ าจากส่วนใด โดยให้ลงขอ้ มลู กอ่ น |a เสมอและต้องระบตุ ัวบง่ ชีท้ ่ี 2 เปน็ #

27ตัวอย่ำง 246 1#|iAt the head of title:|aScience & Technology|h[electronic resource] 246 18|aChartbook on aging|h[electronic resource] 246 3#|iช่ือเรอื่ งภาษาอังกฤษจากปกนอก:|aMore excited|h[electronic resource] 246 31|aFundamental of English|h[electronic resource] 246 30|aสนทนาภาษาจีนในชวี ิตประจาวนั |h[sound recording] 246 34|aResident evil|h[videorecording] 246 38|aภาษาจนี สาหรับมัคคุเทศก์|h[sound recording] 250 ฉบบั พิมพ์ เป็นการลงรายการข้อมลู ท่ีแจ้งเกีย่ วกับครง้ั ที่พิมพ์ รวมถึงการแจ้งความรับผดิ ชอบท่ีเก่ียวข้องกับคร้งั ที่พมิ พ์ ตวั บง่ ชี้ (Indicators) Indicator 1, Indicator 2 # ไมร่ ะบุ รหสั เขตข้อมลู ย่อย (Subfield codes) |aการแจ้งฉบบั พมิ พ์ ตวั อยำ่ ง 250 ##|aพิมพค์ รั้งที่ 2 250 ##|a2nd ed. 250 ##|a4th ed. 250 ##|aSpecial ed. 250 ##|aEdition version 2.0 260 กำรพิมพ์ กำรจำหน่ำย สถำนท่ีพิมพ์ ฯลฯ การลงรายการในเขตข้อมูลน้ีประกอบด้วยข้อมูลหลัก 3 ส่วนดงั น้ี คอื สถานทีพ่ ิมพ์ สถานท่ีจดั จาหน่าย, สานกั พมิ พ์ ผู้จดั พิมพ์ ผ้จู ัดจาหน่าย, ปที พ่ี มิ พ์ ปีที่จดั จาหนา่ ย (NR) ตวั บง่ ช้ี (Indicators) Indicator 1 # ไม่ระบุ Indicator 2 # ไมร่ ะบุ รหัสเขตข้อมูลย่อย (Subfield codes) |aสถานทพ่ี มิ พ์ สถานทีจ่ ดั จาหนา่ ย (R) |bสานกั พมิ พ์ ผจู้ ัดจาหนา่ ย (R) |cปีท่พี ิมพ์ ปีทจ่ี ัดจาหน่าย (R) ตัวอย่ำง 260 ##|aกรงุ เทพฯ :|bโรงพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย,|c2559 260 ##|aนครปฐม :|bคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล,|c[2542] 260 ##|a[อุบลราชธานี] :|ศูนย์ปฏิบัตธิ รรมกาญจนาภเิ ษก,|c[2538] 260 ##|aBoston :|McGraw-Hill,|cc2013 260 ##|aNew York :|bMcGraw-Hill,|cc2015[ ] ใสเ่ ฉพาะกรณที ไี่ มแ่ น่ใจเกี่ยวกับรายละเอยี ดของสถานทพ่ี ิมพ์ สถานท่ีจัดจาหนา่ ย และปที ีพ่ ิมพ/์ ปีทีจ่ ดั จาหนา่ ย

28 300 ลกั ษณะทำงกำยภำพ ประกอบดว้ ย จานวนของวสั ดุ เวลาท่ีใชใ้ นการเล่น ลักษณะทางกายภาพอ่นื ๆ เชน่ สีเสียง ขนาด และวัสดุประกอบ (R) ตวั บ่งชี้ (Indicators) Indicator 1 # ไม่ระบุ Indicator 2 # ไม่ระบุ รหสั เขตข้อมลู ย่อย (Subfield codes) |aจานวนวัสดุ (R) |bรายละเอียดอืน่ ๆ ของลักษณะทางกายภาพ เช่น สี เสยี ง (NR) |cขนาดของวัสดุ (R) |eวัสดปุ ระกอบ (NR) ตัวอยำ่ ง 300 ##|aซดี ีรอม 1 แผน่ ;|c4 ¾ นิ้ว +|eหนงั สอื ประกอบ 1 เลม่ 300 ##|a1 computer optical disc ;|c4 ¾ in. +|e1 book 300 ##|aวดิ ีโอดสิ ก์ 1 แผ่น (125 นาที) :|bเสยี ง, สี ;|c4 ¾ นิ้ว 300 ##|a1 video disc (86 min.) :|bsd., col. ;|c4 ¾ in. 490 ชือ่ ชดุ การลงรายการช่ือชดุ ให้ลงรายการดังน้ี ตวั บ่งช้ี (Indicators) Indicator 1 0 ไม่มกี ารเพิ่มชอ่ื ชุดในเขตข้อมูล 830 1 มกี ารเพ่มิ ชื่อชดุ ในเขตข้อมูล 830 Indicator 2 # ไม่ระบุ รหัสเขตขอ้ มลู ย่อย (Subfield codes) |aชื่อชดุ (NR) |nเลขตอน (R) |pชือ่ ตอน (R) |vเลขระบตุ วั เลม่ ตวั อย่ำง 490 1# |aชุดล้านนาคดีศกึ ษา ;|vลาดบั ที่ 15 490 0# |aชดุ ชวนคดิ อา่ นเขยี น เรียนภาษา 490 1# |aEasy concept series ;|vv.5 490 0# |aThe McGraw-Hill series

29 500 หมำยเหตุท่ัวไป ใช้สาหรับลงรายการหรือบันทึกข้อมูลอื่นๆ ที่ไม่ปรากฏอยู่ในระเบียนหรือเขตข้อมูลอื่นๆประกอบดว้ ย ดงั น้ี (R) ตวั บ่งชี้ (Indicators) Indicator 1 # ไม่ระบุ Indicator 1 # ไม่ระบุ รหัสเขตข้อมูลยอ่ ย (Subfield codes) |aหมายเหตทุ ัว่ ไป (NR) ตวั อย่ำง 500 ##|aซีดรี อมประกอบหนงั สือ (HA 32 ส814ก 2559) 500 ##|aรายงานประจาปี 2555, 2556, 2557, 2558, 2559 500 ##|aTitle from title screen 500 ##|aชอ่ื เรอ่ื งภาษาองั กฤษทีป่ รากฏหลงั กลอ่ ง 508 หมำยเหตเุ ก่ียวกับผผู้ ลติ (ผูม้ สี ่วนเกยี่ วข้องในกำรจัดทำ) ใช้สาหรับลงรายการหรือบนั ทึกข้อมลู ผู้ผลิตหรือผู้มีสว่ นเกีย่ วข้องในการจดั ทาทไ่ี มไ่ ด้ลงรายการในระเบียนหรอื เขตข้อมูลอน่ื ๆ (R) ประกอบด้วย ตัวบ่งช้ี (Indicators) Indicator 1 # ไมร่ ะบุ Indicator 2 # ไมร่ ะบุ รหสั เขตขอ้ มลู ย่อย (Subfield codes) |aหมายเหตเุ กย่ี วกับการผลิต ตวั อย่ำง 508 ##|aบนั ทึกภาพการแสดงสดคอนเสิร์ตโดยวง Nuvo 508 ##|aกากับภาพยนตร์โดย หมอ่ มเจ้าชาตรเี ฉลิม ยคุ ล 508 ##|aDirected by Tods Phillips 508 ##|aProduced by J.J. Abrams 508 ##|aบทเพลงพระราชนิพนธ์ “ส้มตา” ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เน่ืองในโอกาสวันอนุรักษ์มรดกไทย 2 เมษายน 2550 511 นักแสดง ผู้บรรยำย ผู้นำเสนอ ใช้สาหรับลงรายการหรือบันทึกข้อมูลผู้แสดงที่ไม่ได้ลงรายการในระเบียนหรอื เขตขอ้ มูลอ่ืนๆ (R) ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ (Indicators) Indicator 1 0 ไม่แสดงคา่ คงท่ี 2 แสดงค่าคงที่ Indicator 2 # ไมร่ ะบุ

30รหัสเขตขอ้ มูลยอ่ ย (Subfield codes) |aหมายเหตนุ กั แสดง ผู้บรรยาย ผนู้ าเสนอตวั อยำ่ ง 511 1#|aหลิว เต๋อ หัว 511 1#|aณเดช คูกมิ ิยะ 511 1#|aJoo Ji Hoon 511 1#|aEmily Blunt 511 1#|aTom Hanks521 หมำยเหตกุ ลุ่มเป้ำหมำย (R) สาหรับใชร้ ะบขุ ้อมูลของกลุ่มผใู้ ช้ ทีป่ ระกอบดว้ ยตวั บง่ ชี้ (Indicators) Indicator 1 # ไมร่ ะบุ 0 ระดับชน้ั การอ่าน 1 ระดับอายุทส่ี นใจ 2 ระดับช้ันท่ีสนใจ 3 ผ้อู า่ นทมี่ ีลักษณะเฉพาะ 4 ระดับความสนใจ 8 ไม่แสดงรายการหมายเหตุ Indicator 2 # ไม่ระบุรหสั เขตข้อมูลยอ่ ย (Subfield codes) |aหมายเหตผุ ู้ใช้ |bแหลง่ ท่ีทราบตัวอย่ำง 521 8# |aภาพยนตรท์ เี่ หมาะสมกับผดู้ ทู วั่ ไป538 ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ระบบเทคนิค เปน็ หมายเหตเุ กี่ยวกบั ระบบ (R) ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ (Indicators) Indicator 1, Indicator 2 ไม่ระบุรหัสเขตขอ้ มูลยอ่ ย (Subfield codes) |aหมายเหตรุ ายละเอียดเก่ยี วกบั ระบบตัวอย่ำง |aDVD video ; Dolby digital ; Aspect ratio 16:9

31546 หมำยเหตุภำษำ (R) ประกอบดว้ ยตัวบง่ ชี้ (Indicators) Indicator 1, Indicator 2 ไม่ระบุรหัสเขตข้อมลู ยอ่ ย (Subfield codes) |aหมายเหตุภาษา |bขอ้ มูลรหสั หรืออักษรที่เรยี งลาดบัตวั อยำ่ ง 546 ##|aThai, English, Spanish, Portuguese, Chinese, Japanese, Korean600 หัวเร่อื งบคุ คล (R) ใช้สาหรับลงรายการหัวเร่อื งทเ่ี ปน็ ชอ่ื บคุ คล ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ (Indicators) Indicator 1 รหัสบอกประเภทชื่อบุคคล ประกอบดว้ ย 0 ชือ่ ตน้ 1 ชื่อสกุลที่เป็นคาเดี่ยว 2 ชื่อสกลุ ท่ีเปน็ คาผสม 3 ช่อื วงศต์ ระกลู Indicator 2 ระบุเกย่ี วกบั ระบบการให้หวั เร่ือง 0 หัวเรอ่ื งของ Library of Congress Subject headings 1 หวั เรื่องของ LC Subject headings for children’s literature 2 หวั เรื่องทางการแพทย์ Medical Subject headings 3 หัวเร่อื งของ National Agricultural Library subject authority file 4 ไม่ระบุคู่มือ 5 หัวเรื่องของ Canadian Subject headings 6 Repertoire de vedettes-matiere 7 หวั เร่ืองจากแหล่งอนื่ ๆรหสั เขตขอ้ มูลย่อย (Subfield codes) ประกอบด้วย |aชื่อบุคคล |bเลขโรมนั ตามหลังชือ่ บุคคล |cตาแหนง่ ยศ บรรดาศักด์ิ |dปีเกิด-ปตี าย |eคาทบ่ี อกความสมั พนั ธร์ ะหว่างงานกบั บคุ คล |fปีท่ีจดั ทา |gข้อมลู ย่อยอ่ืนๆ |hส่อื |kการแบง่ ย่อยงานตามรูปแบบ

32 |lภาษาของงาน |nเลขสว่ น/เลขตอน |pชือ่ สว่ น/ช่ือตอน |qช่ือเต็มของบคุ คล |sฉบบั |tชอ่ื ของงาน |vหัวเรอื่ งทีเ่ ปน็ การแบ่งยอ่ ย |xหวั เร่ืองยอ่ ยทัว่ ไป |yหัวเรอื่ งยอ่ ยตามชว่ งเวลา |zหัวเรอ่ื งย่อยตามภมู ศิ าสตร์ |2แหลง่ ที่มาของหัวเรอ่ื งตวั อย่ำง 600 04|aภมู ิพลอดุลยเดช,|cพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา,|d2470-2559 600 04|aเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี,|cสมเด็จพระ,|d2498- 600 04|aนนั ทนา วรี ะชน 600 10|aSteward, Kristen 600 10|aHan, Jiawei 600 10|aStrassner, John610 หวั เรอื่ งนิตบิ ุคคล (R) ใช้สาหรับลงรายการหัวเรอ่ื งทีเ่ ป็นนติ บิ ุคคล ประกอบด้วยตวั บ่งช้ี (Indicators) Indicator 1 รหัสประเภทช่อื ของนิติบุคคล ประกอบด้วย 0 ชอ่ื ทก่ี ลบั คา 1 ช่ือหนว่ ยงานต้นสงั กัด 2 ช่ือตามลาดบั อกั ษรIndicator 2 หวั เรื่องของ Library of Congress Subject headings 0 หัวเรอ่ื งของ LC Subject headings for children’s literature 1 หัวเรื่องทางการแพทย์ Medical Subject headings 2 หัวเรื่องของ National Agricultural Library subject authority file 3 ไม่ระบุคูม่ ือ 4 หวั เร่ืองของ Canadian Subject headings 5 Repertoire de vedettes-matiere 6 หัวเรอ่ื งจากแหลง่ อืน่ ๆ 7

33รหสั เขตข้อมูลยอ่ ย (Subfield codes) ประกอบดว้ ย |aชือ่ นิติบคุ คลท่ีเป็นหนว่ ยงานหลกั |bหนว่ ยงานรอง |cสถานทจ่ี ัดประชมุ |dปีของการประชมุ |eคาที่เกยี่ วข้องกบั นติ ิบุคคล |fปีที่จดั ทา |gขอ้ มลู ย่อยอืน่ ๆ |hสอ่ื |kการแบง่ ย่อยงานตามรูปแบบ |lภาษาของงาน |nเลขส่วน/เลขตอน |pช่อื ส่วน/ชือ่ ตอน |rโน๊ตเพลง |sฉบับ |tช่อื ของงาน |vหัวเร่อื งทเ่ี ปน็ การแบง่ ย่อย |xหัวเร่อื งย่อยทัว่ ไป |yหัวเรื่องยอ่ ยตามช่วงเวลา |zหัวเรอ่ื งยอ่ ยตามภูมิศาสตร์ |2แหล่งท่ีมาของหวั เร่ืองตัวอย่ำง 610 24|aกระทรวงการต่างประเทศ 610 24|aกรมประชาสัมพนั ธ์ 610 24|aมหาวทิ ยาลัยพะเยา.|bศูนยบ์ รรณสารและสอ่ื การศึกษา 610 20|aAsian Institute of Technology 610 20|aMassachusetts Institute of Technology 610 20|aMinistry of Justice650 หวั เรือ่ งทั่วไป (R) ใช้สาหรับระบหุ ัวเรอื่ งท่วั ไป ประกอบด้วยตัวบง่ ช้ี (Indicators) ระบุค่าท่แี สดงระดบั ของหวั เร่อื งทัว่ ไป โดยปกตจิ ะเป็น # เสมอ Indicator 1 # ไมร่ ะบุ (ระบุคา่ ท่ีแสดงระดับของหวั เรื่อง โดยปกตจิ ะเปน็ # เสมอ) 0 ไมร่ ะบุระดบั 1 หัวเรื่องหลักและเป็นหวั เรื่องสาคัญ 2 หวั เร่อื งรอง

34 Indicator 2 0 หัวเรื่องของ Library of Congress Subject headings 1 หัวเรอ่ื งของ LC Subject headings for children’s literature 2 หวั เรือ่ งทางการแพทย์ Medical Subject headings 3 หวั เรอ่ื งของ National Agricultural Library subject authority file 4 ไม่ระบุคูม่ ือ 5 หวั เรื่องของ Canadian Subject headings 6 Repertoire de vedettes-matiere 7 หัวเรื่องจากแหล่งอน่ื ๆรหสั เขตข้อมูลย่อย (Subfield codes) ประกอบดว้ ย |aหัวเรือ่ งท่วั ไป |vหวั เร่อื งแบ่งย่อยงาน (R) |xหัวเรื่องยอ่ ยทว่ั ไป (R) |yหัวเรือ่ งยอ่ ยตามชว่ งเวลา (R) |zหัวเรื่องย่อยตามเขตภูมิศาสตร์ (R)ตวั อย่ำง 650 #4|aภาษาไทย|xการศึกษาและการสอน 650 #4|aภาษาไทย|xข้อสอบและเฉลย 650 #4|aภาษาไทย|xคาศพั ท์ 650 #0|aEnglish language|vTextbooks for foreign speakers 650 #0|aEnglish language|vConversation and phrase books 650 #0|aEnglish language|xStudy and teaching651 หัวเร่อื งภูมิศำสตร์ (R) เขตข้อมูลหวั เร่ืองท่ีเป็นชือ่ ทางภูมิศาสตร์ ประกอบดว้ ยตัวบ่งชี้ (Indicators) Indicator 1 # ไมร่ ะบุ Indicator 2 0 หัวเรื่องของ Library of Congress Subject headings 1 หวั เรือ่ งของ LC Subject headings for children’s literature 2 หวั เรอ่ื งทางการแพทย์ Medical Subject headings 3 หัวเรือ่ งของ National Agricultural Library subject authority file 4 ไมร่ ะบุคู่มือ 5 หัวเรื่องของ Canadian Subject headings 6 Repertoire de vedettes-matiere 7 หัวเรอ่ื งจากแหล่งอนื่ ๆ

35รหัสเขตขอ้ มูลยอ่ ย (Subfield codes) |aช่อื เขตภูมิศาสตร์ ระบุช่อื สถานท่ี ช่อื ประเทศ |vหัวเร่ืองแบง่ ย่อยตามรปู แบบ (R) |xหัวเรอื่ งย่อยท่วั ไป (R) |yหวั เร่อื งยอ่ ยตามช่วงเวลา (R) |zหัวเรอ่ื งยอ่ ยตามเขตภูมิศาสตร์ (R)ตัวอย่ำง 651 #4|aไทย|xภมู ิประเทศและการท่องเทย่ี ว 651 #4|aไทย|xประวัติศาสตร์ 651 #4|aไทย|xความเปน็ อยู่และประเพณี 651 #4|aไทย|xการเมืองและการปกครอง 651 #0|aEngland|xDescription and travel 651 #0|aEngland|xHistory 651 #0|aEngland|xManners and customs 651 #0|aEngland|xPolitics and government700 ชือ่ ผแู้ ตง่ เพมิ่ เติม (บคุ คล) รำยกำรเพ่มิ ชื่อบุคคล (R) ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ (Indicators) Indicator 1 ระบปุ ระเภทชอื่ บคุ คล 0 ชื่อตน้ 1 ชื่อสกลุ ทเี่ ปน็ คาเดี่ยว 2 ชอ่ื สกุลที่เปน็ คาผสม 3 ชอื่ วงศต์ ระกูล Indicator 2 ระบปุ ระเภทรายการเพิ่ม # ไม่ระบุประเภทรายการเพ่ิม 2 รายการจาแนก เป็นรายการเพิม่ บคุ คลทเ่ี กิดจากการวเิ คราะหข์ ้อมลู เพ่ิมเองรหัสเขตขอ้ มลู ย่อย (Subfield codes) |aชอ่ื บคุ คล (Personal name) (NR) |qชือ่ เต็ม (Fuller form of name) (NR) |cยศ บรรดาศกั ดิ์ (R) |dปีเกดิ -ปตี าย (NR) |eคาท่ีบอกความสัมพันธ์ระหวา่ งงานกบั บุคคล (NR)ตวั อย่ำง 700 0#|aปฐมพงษ์ วงศ์สรุ สิทธิ์,|eผูแ้ ปล 700 0#|aพันจนั ทร์ ธนวฒั นเสถยี ร,|eผู้แปล 700 0#|aชุตมิ า สัจจานันท์ 700 0#|aนา้ ทพิ ย์ วภิ าวิน

36700 1#|aDains, Joyce E.700 1#|aOlah, George A.,|d1927-700 1#|aCarey, Francis A.,|d1937-700 1#|aChristian, Gary D. 710 ชื่อผู้แต่งเพ่ิมเติม (นิติบุคคล) รายการเพิ่มชื่อนิติบุคคล สาหรบั บันทึกชื่อการประชุมที่ลงรายการภายใต้ช่ือนิตบิ คุ คลเพือ่ เป็นรายการเพิ่ม ประกอบด้วย (R) ตัวบ่งช้ี (Indicators) Indicator 1 ระบชุ ่อื ประเภทนิติบุคคล 0 ชอ่ื ทก่ี ลับคา 1 ชือ่ ตามกฎหมาย 2 ชื่อตามลาดบั อกั ษร Indicator 2 ระบุประเภทรายการเพ่ิม # ไมร่ ะบุ 2 รายการจาแนก เปน็ รายการเพิ่มบคุ คลที่เกิดจากการวิเคราะหข์ ้อมูลเพ่ิมเอง รหัสเขตขอ้ มูลยอ่ ย (Subfield codes) |aชือ่ นิติบคุ คลหนว่ ยงานหลัก |bชือ่ หนว่ ยงานย่อย |cสถานท่ีจดั ประชุม |dปีของการประชุม |eคาท่ีบอกความสัมพนั ธร์ ะหว่างงานกับบุคคล |fปีท่ีจัดทา ตวั อยำ่ ง 710 2#|aมหาวทิ ยาลัยพะเยา.|bศูนย์บรรณสารและสือ่ การศึกษา 710 2#|aPacific marketing & entertainment group 710 2#|aAsia Pacific Economic Cooperation 710 2#|aบรษิ ัทแคททาลสิ ท์ อลั ลายแอนซ์ (ประเทศไทย) 710 2#|aกระทรวงการตา่ งประเทศ 710 2#|aUniversity of Phayao.|bLibrary Resource and Educational Media Center

37830 รำยกำรเพ่มิ ชื่อชุด รายการเพ่ิมช่ือชดุ ท่ีเป็นชอ่ื เร่ืองแบบฉบบั (R) ประกอบดว้ ยตัวบ่งช้ี (Indicators) Indicator 1 # ไม่ระบุ Indicator 2 ระบอุ กั ขระท่ไี ม่ตอ้ งการให้เรียง 0-9 จานวนอกั ขระที่ไมต่ ้องการให้เรียง 0-9 อักขระรหสั เขตข้อมลู ยอ่ ย (Subfield codes) |aช่อื เร่ืองแบบฉบบั ทเ่ี ปน็ รายการชุด |vลาดบั ท่ใี นชุดตัวอย่ำง 830 #0|aชุดชวี ติ และสขุ ภาพ ;|vลาดับท่ี 157 830 #0|aColonial American craftsmen 856 รำยกำรลงิ ก์ รายการเพิ่มสาหรับระบตุ าแหน่งและการเข้าถึงของทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนกิ ส์ประกอบดว้ ย (R) ตวั บง่ ชี้ (Indicators) Indicator 1 วิธีการเขา้ ถงึ # ไม่ระบุ 0 เขา้ ถงึ ดว้ ยจดหมายอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 1 เขา้ ถึงด้วย FTP 2 เข้าถงึ ด้วย Remote Login 3 เข้าถงึ ดว้ ย Dial-up 4 เข้าถงึ ดว้ ย Http 7 เข้าถงึ ด้วยวิธีการอ่นื ๆ Indicator 2 ระบคุ วามสัมพันธ์ # ไมร่ ะบุ 0 เป็นแหล่งขอ้ มลู โดยตรง 1 เป็นฉบับอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 2 เป็นแหลง่ ท่ีสัมพนั ธ์กบั ข้อมูลในระเบียน 9 ไมส่ ามารถระบุความสมั พันธ์

38รหสั เขตขอ้ มลู ยอ่ ย (Subfield codes) |uให้ระบุ URL |yระบุข้อความท่เี ปน็ ตัวเช่อื ม (Link text) |zหมายเหตเุ พ่ิมเตมิ |2Access method ใหร้ ะบุวิธกี ารเขา้ ถงึ เชน่ email, ftp |3ลกั ษณะของข้อมูลท่ีมีใน URL นั้น เช่น บทคดั ย่อ หน้าสารบัญตัวอย่ำง 856 4#|uhttps://www.youtube.com/watch?v=EI_3ywJLQio949 ชื่อผู้ลงรำยกำร ใช้ลงข้อมูลเกี่ยวกบั ผู้ทารายการทางบรรณานกุ รม (R) ประกอบด้วยตวั บง่ ชี้ (Indicators) Indicator 1 # ไม่ระบุ Indicator 2 # ไม่ระบุรหสั เขตข้อมลู ยอ่ ย (Subfield codes) |aช่อื บคุ คลผู้ลงรายการตัวอย่ำง |aปัณณธร

บทที่ 4 วธิ ีกำรปฏบิ ัตงิ ำน งานพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ได้นาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพ่ือสถาบันอุดมศึกษาไทย (Automated Library System for Thai Higher Education Institutes: ALIST) ซ่ึงพัฒนาโดยศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ภายใต้การสนับสนุนจากสานักงานคณะกรรรมการการอุดมศึกษา มาใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่ออานวยความสะดวกแก่ผู้ปฏิบัติงานและผู้ใช้บริการ จึงกาหนดแนวทางในการปฏิบัติงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ดงั นี้ 1. วธิ ีกำรปฏบิ ัติงำนกำรวเิ ครำะหท์ รพั ยำกรสำรสนเทศ 1.1 การตรวจสอบรายการทางบรรณานุกรมซา้ ในฐานข้อมูลทรพั ยากรสารสนเทศ 1.2 การจดั หมวดหม่แู ละทารายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ 1.2.1 การสรา้ งระเบียนบรรณานกุ รมใหม่ 1.2.2 การเพม่ิ ทรพั ยากรสารสนเทศในระเบียนบรรณานุกรมซ้า 1.3 การเตรียมทรพั ยากรสารสนเทศก่อนนาออกให้บริการ 1.3.1 การตดิ บาร์โคด 1.3.2 การติดบัตรกาหนดส่ง 1.3.3 การพิมพ์เลขเรียกทรัพยากรสารสนเทศ 1.3.4 การตดิ เลขเรยี กทรัพยากรสารสนเทศ 1.3.5 การเปลยี่ นสถานท่จี ดั เก็บ (Location) ของทรพั ยากรสารสนเทศ 1.3.6 การตรวจสอบความถูกต้องกอ่ นนาทรพั ยากรสารสนเทศออกใหบ้ ริการ 1.4 ประชาสมั พนั ธท์ รัพยากรสารสนเทศใหม่ประจาสปั ดาห์ 2. วธิ ีกำรปฏบิ ตั งิ ำนกำรวิเครำะห์ทรัพยำกรสำรสนเทศสอ่ื โสตทศั นวสั ดุ 2.1 การลงทะเบียนทรัพยากรสารสนเทศส่ือโสตทัศนวสั ดุ 2.2 การตรวจสอบรายการทางบรรณานุกรมซ้าในฐานข้อมูลทรพั ยากรสารสนเทศ 2.3 การจดั หมวดหม่แู ละทารายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศสื่อโสตทศั นวสั ดุ 2.3.1 การสรา้ งระเบยี นบรรณานุกรมใหม่ 2.3.2 การเพิม่ ทรัพยากรสารสนเทศส่อื โสตทศั นวสั ดุในระเบยี นบรรณานกุ รมซา้ 2.4 การเตรียมทรัพยากรสารสนเทศสื่อโสตทศั นวัสดุก่อนนาออกให้บริการ 2.4.1 การตดิ บารโ์ คด 2.4.2 การติดบตั รกาหนดสง่ 2.4.3 การพิมพ์เลขเรียกทรพั ยากรสารสนเทศสือ่ โสตทัศนวสั ดุ 2.4.4 การตดิ เลขเรียกทรพั ยากรสารสนเทศสอื่ โสตทศั นวัสดุ 2.4.5 การเปลย่ี นสถานที่จดั เกบ็ (Location) ของทรัพยากรสารสนเทศส่อื โสตทัศนวัสดุ 2.4.6 การตรวจสอบความถูกตอ้ งก่อนนาทรัพยากรสารสนเทศส่อื โสตทัศนวัสดุออกใหบ้ ริการ 2.5 ประชาสมั พนั ธท์ รพั ยากรสารสนเทศส่อื โสตทัศนวัสดุใหม่ประจาสปั ดาห์

402. แผนผงั กำรปฏิบตั ิงำนวเิ ครำะห์ทรัพยำกรสำรสนเทศประเภทส่ือโสตทศั นวัสดุ (Audio visual cataloging flowchart)ภำพท่ี 2 แผนผงั กำรปฏบิ ัติงำนวิเครำะห์ทรพั ยำกรสำรสนเทศประเภทสื่อโสตทศั นวัสดุ

413. ขนั้ ตอนกำรลงทะเบียนและลงรำยกำรทำงบรรณำนุกรมสอื่ โสตทัศนวัสดใุ นระบบห้องสมุดอตั โนมัติ ALIST ขนั้ ตอนที่ 1 ลงทะเบียนทรพั ยากรสารสนเทศสื่อโสตทัศนวสั ดใุ นแบบบันทกึ การลงทะเบยี นสอ่ื โสตทศั นวสั ดุ ดังภาพ ภำพท่ี 3 กำรลงทะเบียนทรัพยำกรสำรสนเทศสอื่ โสตทัศนวสั ดุ ขน้ั ตอนท่ี 2 เปิดโปรแกรม ALIST สาหรับใชใ้ นการลงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ ดงั ภาพ ภำพที่ 4 กำร Log in เข้ำสรู่ ะบบห้องสมดุ อตั โนมัติ ALIST

42ขัน้ ตอนที่ 3 หลงั จาก Log in เขา้ ในระบบแล้ว เลือกทีเ่ มนู Cataloging เลอื ก work sheet ดงั ภาพ ภำพที่ 5 ขน้ั ตอนก่อนกำรลงรำยกำรทำงบรรณำนกุ รมในระบบห้องสมุดอัตโนมตั ิ ALISTก่อนท่ีจะดาเนินการลงรายการบรรณานุกรมในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ALIST ต้องทาการลงทะเบียน ติดบาร์โคดและตรวจสอบทรัพยากรสารสนเทศดังกล่าวในระบบ OPAC ก่อนทุกครั้ง เพื่อป้องกันการทารายการทางบรรณานุกรมซ้า (Bib#ซา้ ) ขั้นตอนที่ 4 หลังจากที่ลงทะเบียนและตรวจสอบรายการทางบรรณานุกรมซ้าแล้ว แยกประเภทสื่อโสตทัศนวัสดุออกเปน็ 2 ประเภท คอื สอื่ โสตทัศนวสั ดุที่เปน็ ภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ จากน้ันเลือกทป่ี ุ่ม select ดงั ภาพภำพท่ี 6 ขัน้ ตอนก่อนกำรลงรำยกำรทำงบรรณำนุกรมในระบบห้องสมุดอัตโนมตั ิ ALIST

43ขนั้ ตอนท่ี 5 เมื่อกดป่มุ select แล้ว จะได้ หน้า Bib# สาหรับการลงรายการทางบรรณานุกรมสื่อโสตทัศนวัสดุ ภำพท่ี 7 หน้ำ Bib# กอ่ นกำรลงรำยกำรทำงบรรณำนกุ รมในระบบห้องสมดุ อัตโนมตั ิ ALIST ภำพที่ 8 กำรลงรำยกำรทำงบรรณำนุกรมทรพั ยำกรสำรสนเทศสือ่ โสตทัศนวสั ดุ

44 ภำพที่ 9 กำรเพ่ิมทรัพยำกรสำรสนเทศสอ่ื โสตทัศนวัสดุ ขั้นตอนที่ 6 หลังจากที่ลงรายการทางบรรณานุกรมในระบบ ALIST ให้ตรวจสอบรายละเอียดของทรัพยากรดงั กล่าวในระบบสบื คน้ อตั โนมัติ (OPAC) ดงั ภาพ ภำพที่ 10 กำรตรวจสอบข้อมลู ทรพั ยำกรสำรสนเทศส่อื โสตทศั นวสั ดุในเว็บโอแพค (OPAC)