Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือปฎิบัติงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

คู่มือปฎิบัติงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

Description: คู่มือปฎิบัติงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

Search

Read the Text Version

43 แยกตามกลุ่มอายุ WW 704-722.1Optometry การวัดสายตาและประกอบแว่นWX Hospitals and Other Health Facilities โรงพยาบาลและสิ่งอา้ นวยความสะดวกอื่น ๆ ตอ่ สุขภาพ WX 1-100 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . ผลงานทัว่ ไปเกี่ยวกับโรงพยาบาลและสิ่งอานวย ความสะดวกอืน่ ๆ ต่อสขุ ภาพ WX 140-147 Facility Design and Construction. Equipment การออกแบบสิง่ อานวยความสะดวกและสง่ิ ก่อสรา้ ง รวมท้ัง อปุ กรณ์ต่าง ๆ WX 150-190 Hospital Administration and Health Facility Administration การบริหารโรงพยาบาล WX 200-225 Clinical Departments and Units แผนกคลินกิ และหน่วยงานWY Nursing การพยาบาล WY 1-49 Reference Works ผลงานอ้างองิ . ผลงานทว่ั ไปเกี่ยวกบั การพยาบาล WY 77-88 Economics. Ethics. Philosophy. Psychological Aspects เศรษฐศาสตร์ จรยิ ธรรม ปรชั ญา หลักทางจิตวทิ ยา WY 90-100.7 Referral. Nursing Care, Assessment and Audit การส่งตอ่ ผปู้ ่วย การดแู ล การประเมนิ และการตรวจสอบ WY 101-145 Nursing Specialties การพยาบาลเฉพาะทาง WY 150-170 Nursing in Special Fields of Medicine การพยาบาลเฉพาะทางในการแพทย์

44 WY 191-200 Other Services บริการอน่ื ๆ ทางการพยาบาล WZ History of Medicine. Medical Miscellany ประวตั ิการแพทย์ WZ 1-40 Reference Works. General Works เรื่องท่วั ไปของประวัตกิ ารแพทย์ WZ 51-80 History by Period, Locality, etc. ประวตั ิการแพทย์โดยแบ่งตามช่วงเวลา สถานที่ WZ 100-150 Biography ชีวประวตั ขิ องแพทย์ WZ 220-225 Manuscripts ต้นฉบบั หนังสอื หรอื เอกสารที่เขียนเป็นลายมอื ของแพทย์ WZ 230-260 Early Printed Books หนังสือการแพทย์ทีจ่ ัดพิมพ์ขนึ้ ยุคแรก ๆ WZ 270 Americana หนังสือหรอื เอกสารทางการแพทย์ของอเมรกิ า WZ 290-297 Modern Versions and Commentaries of Early Works ข้อปรบั ปรุงและขอ้ วิจารณ์ตา่ ง ๆ บทความแสดงข้อคดิ เห็น สิ่งที่ ใช้อธิบายด้านการแพทย์ WZ 305-350 Miscellany Relating to Medicine ปกิณกะ เรอ่ื งเบด็ เตลด็ เรือ่ งจปิ าถะที่เกีย่ วข้องกับการแพทย์ นอกจากนี้การจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพของศูนย์บ รรณ ส ารแ ล ะสื่ อ ก ารศึ ก ษ าก าห น ด ใช้ คู่ มื อ อ อ น ไล น์ ใน ก ารจั ด ห ม วด ห มู่ เพิ่ ม เติ ม ที่https://www.nlm.nih.gov/class/OutlineofNLMClassificationSchedule.html 2.3 การแบ่งหมวดหมู่ระบบเลขหมูท่ ี่หน่วยงานกา้ หนด

45 การแบ่งหมวดหมู่ระบบเลขหมู่ที่หน่วยงานกาหนด (Local Call Number System) เป็นระบบที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา กาหนดขึ้นเพื่อจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศที่มีลักษณะพิเศษประเภทอื่น ๆ โดยกาหนดสญั ลักษณ์เป็นอักษรย่อแทนประเภทของทรพั ยากร ดังน้ี 1. วิทยานิพนธ์ กาหนดสัญลกั ษณ์เป็นอกั ษรย่อ ดงั น้ี วพ หมายถึง วิทยานิพนธ์ภาษาไทย Theses หมายถึง วิทยานิพนธ์ภาษาต่างประเทศ IS หมายถึง การศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง ตวั อยา่ งวพ Theses ISLB TH QH1025.3 7215 541.2ก555ก M547h ข875ก2559 2016 25582. รายงานการวิจัยกาหนดสญั ลกั ษณ์เป็นคาอ่าน “วจ”ตวั อย่างวจSB415ก555ก25583. นวนยิ ายกาหนดสัญลักษณ์เป็นคาอ่าน “นว” สาหรับนวนิยายภาษาไทย “Fic” สาหรับ นวนิยายภาษาต่างประเทศ

46ตวั อยา่ งนว Ficส254ก N457c2558 20154. เรอ่ื งสน้ักาหนดสญั ลักษณ์เปน็ คาอ่าน “รส”ตวั อย่างรสน789ก25585. นทิ านสาหรบั เด็กกาหนดสญั ลักษณ์เปน็ คาอ่าน “ด”ตัวอย่างดม147ห25556. วารสารกาหนดสัญลักษณ์เป็นคาอ่าน “วารสาร” สาหรับวารสารภาษาไทย และ “Serials”สาหรับวารสารภาษาต่างประเทศ ในคู่มือนี้จะไม่กล่าวถึงการลงรายการทรัพยากรสารสนเทศประเภทวารสารเนื่องจากมีรูปแบบการลงรายการต่างกัน7. โสตวัสดุกาหนดสัญลักษณ์เป็นคาอ่านว่า “CD-ROM” สาหรับซีดีรอมประกอบหนังสือทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ “DVD-ROM” สาหรับดีวีดีรอมประกอบหนังสือทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ และ “MV” สาหรับซีดีหรือดีวีดีภาพยนตร์ แต่ละสัญลักษณ์จะตามด้วยหมายเลขลาดบั การลงทะเบียนจานวน 4 หลัก

47ตัวอย่างCD-ROM0001 DVD-ROM0002 MV17453. การก้าหนดเลขผู้แตง่เลขผู้แต่ง (Author Number) เป็นการจาแนกหนังสือที่มีเน้ือหาเดียวกันออกตามอักษรของรายการหลัก (Main entry) โดยจาแนกตามชื่อต้นของผู้แต่งสาหรับทรัพยากรภาษาไทย หรือชื่อสกุลของผู้แต่งสาหรับทรัพยากรภาษาต่างประเทศ หรือ ชื่อเร่ือง ในกรณีเป็นรายการย่อหน้าคาค้างพร้อมทั้งระบุปีพิมพ์ เพื่อจาแนกความแตกต่างของหนังสือที่จัดพิมพ์หลายครั้ง คู่มือที่ใช้ในการกาหนดเลขผแู้ ตง่ ได้แก่ (องั คณา สรุ ิวรรณ์, 2552, เลขหน้า 35)คู่มือฉบับพิมพ์กรมศิลปากร. หอสมุดแห่งชาติ. (2542). ตารางเลขผแู้ ต่งหนงั สือภาษาไทยสา้ เรจ็ รปูของหอสมุดแห่งชาติ. พิมพ์ครงั้ ที่ 4 (แก้ไขเพิม่ เติม). กรุงเทพฯ: กรม.Cutter, Richard A. (1969). Cutter-Sanborn three figure author table. Swan-Swift Rev. : n.p.คู่มือฉบบั ออนไลน์เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทย http://www.clm.up.ac.th/lcnumber/Cutter-Sanborn http://203.241.185.12/asd/board/Author/upfile/abcd.htm4. การก้าหนดหวั เรื่องหัวเร่ือง (Subject headings) เป็นศัพท์ควบคุมที่กาหนดขึ้นใช้แทนคาค้นหรือคาสาคัญที่เป็นภาษาธรรมชาติหลากหลายคาตามที่ปรากฏในเน้ือหาของทรัพยากร แต่มีความหมายเหมือนหรือใกล้เคียงกัน หัวเรื่องจึงนับได้ว่าเป็นตัวแทนเน้ือหาของทรัพยากรสารสนเทศที่มีความละเอียดลึกซึ้งมากกว่าเลขเรียกหนังสือ ทาหน้าที่เป็นจุดสืบค้นสารสนเทศที่สาคัญ และยังเป็นดรรชนีที่ชี้ระบุว่ามีสารสนเทศที่ต้องการในฐานข้อมูลทรัพยากรหรือไม่ มีจานวนมากน้อยเพียงใด ดังนั้น การกาหนดหัวเร่ืองจึงมีความสาคัญในการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ บรรณารักษ์มีบทบาทในการทาหน้าที่วิเคราะหเ์ ร่อื งและเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดระหว่างคาสาคญั ของผแู้ ต่งเน้ือหาทรัพยากรกับคาค้นของผู้สืบค้นสารสนเทศ (Sauperl, 2004 อ้างอิงใน อังคณา สุริวรรณ์, 2552, เลขหน้า 35) โดยการ

48กาหนดหัวเร่ืองของเน้ือหาต่าง ๆ ให้เป็นมาตรฐานและเป็นเอกภาพเดียวกัน จึงต้องกาหนดใช้คู่มือการกาหนดหัวเร่ืองที่เป็นมาตรฐานร่วมกัน หรือหากไม่มีหัวเร่ืองในหนังสือคู่มือกาหนดหัวเรื่องควรกาหนดแนวทางในการเลือกใช้คาศัพท์จากแหล่งสารสนเทศที่เชื่อถือได้ เช่น หนังสืออ้างอิงประเภทศัพท์บัญญัติซึ่งได้รับการยอมรับในแวดวงสาขาวิชาชีพต่าง ๆ กาหนดใช้เป็นหัวเร่ืองช่ัวคราว แล้วจึงเสนอให้ผู้มีหน้าที่ในการพิจารณากาหนดหัวเร่ือง เช่น คณะทางานกลุ่มวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา เพื่อร่วมกันพิจารณากาหนดเป็นหัวเร่ืองใหม่ในคู่มือต่อไป(องั คณา สรุ ิวรรณ,์ 2552, เลขหน้า 35-36) คู่มอื ที่ใชใ้ นการกาหนดหัวเรือ่ ง ได้แก่คมู่ ือกา้ หนดหวั เรื่องภาษาไทย คณะทางานกลุ่มวิเคราะหท์ รัพยากรสารสนเทศ หอ้ งสมุดสถาบนั อดุ มศึกษา ดรู ายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://webhost2.car.chula.ac.th/thaiccweb/main.php คูม่ ือกา้ หนดหัวเรือ่ งภาษาอังกฤษ หวั เรือ่ งภาษาอังกฤษท่วั ไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://catalog.loc.gov/ หัวเรื่องทางการแพทย์ (Medical subject headings) ดรู ายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://meshb.nlm.nih.gov/#/fieldSearch5. วิธีการกา้ หนดหัวเรือ่ ง ในการกาหนดหัวเร่ืองทรัพยากรสารสนเทศแต่ละรายการ บรรณารักษ์จะต้องวิเคราะห์แนวคิดสาคญั ของทรัพยากรสารสนเทศก่อน แล้วจึงถ่ายทอดหรอื สร้างตัวแทนของแนวคิดสาคัญน้ันเป็นศพั ท์ควบคมุ ที่เรยี กว่า “หวั เรือ่ ง” โดยต้องตรวจสอบกบั คู่มอื หัวเรื่องที่หน่วยงานกาหนดใช้รว่ มกันเพื่อให้ได้หัวเรือ่ งทีเ่ ป็นมาตรฐาน มีความเปน็ เอกภาพทั้งในด้านรปู แบบและลักษณะการใช้ภาษา (Lanbridge, 1989, 98 ; Lancaster, 1998, 8 อ้างอิงใน อังคณา สุริวรรณ์, 2552, เลขหน้า37) และยังควรคานึงถึงความเหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ของห้องสมุดแต่ละแห่ง มีจานวนเพียงพอและครอบคลุมเนื้อหาสาคัญของทรัพยากรสารสนเทศแต่ละรายการ มีความเฉพาะเจาะจง ไม่เป็นคากว้างเกินไปจนไม่สามารถเป็นตัวแทนเนื้อหาสาคัญได้ (Haykin, 1985, 107-111 ; Chan, 1995, 15 อ้างองิ ใน อังคณา สรุ ิวรรณ์, 2552, เลขหน้า 37)

496. การทา้ รายการบรรณานกุ รมทรพั ยากรสารสนเทศ การทาหรือการลงรายการบรรณานุกรม เป็นการบรรยายลกั ษณะของทรัพยากรสารสนเทศในด้านกายภาพและด้านเนื้อหา โดยอ้างอิงมาตรฐานสากลสาหรับการควบคมุ ทางบรรณานุกรม คือหลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 (Anglo-American CataloguingRules 2nd ed.) และมาตรฐานการบันทึกข้อมูลบรรณานุกรมที่เคร่ืองคอมพิวเตอร์อ่านได้ (MARC :Machine Readable Cataloging) (อังคณา สุริวรรณ์, 2552, เลขหน้า 37) โดยกาหนดให้ใช้คู่มือออนไลน์ในการทารายการบรรณานุกรม ดูรายละเอียดเพิม่ เติมได้ที่ http://www.loc.gov/marc/ หลักเกณฑก์ ารท้ารายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ การทารายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศจะยึดตามรูปแบบ USMARC format ที่มีส่วนประกอบของระเบียนบรรณานุกรม (Bibliographic record) ดังนี้ (อังคณา สุริวรรณ์, 2552, เลขหนา้ 38-39) 1. Leader ประกอบด้วยค่าของตัวเลขหรือรหัส และจะแสดงความสัมพันธ์โดยตาแหน่งของCharacter 2. Directory คือ ชุดของรายการข้อมูล ประกอบด้วยเขตข้อมูล (Tag) ต่าง ๆ ความยาวและจดุ เริ่มต้นของแตล่ ะขอ้ มลู ซึ่งจดั ลาดบั โดย Character ของเขตข้อมลู 3. Variable fields กาหนดโดย Tag ที่ประกอบด้วยเลข 3 หลัก ในแต่ละ Tag จะจบด้วยเครือ่ งหมาย variable data field แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คือ 3.1 Variable control fields ได้แก่ เขตข้อมูล 00X (ไม่มี indicator และ subfield)ประกอบด้วยรายการข้อมูลเดียว (Single data element) หรือชุดของความยาวข้อมูลคงที่ (Series offixed-length data elements) แสดงความสมั พนั ธ์โดยตาแหน่งของ character 3.2 Variable data fields ได้แก่ เขตข้อมูลที่เหลือ โดยจะระบุ Tag ใน Directoryประกอบด้วย 2 indicator ตามด้วย subfield code สรปุ ส่วนประกอบของ USMARC ของรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ 1 ระเบียนจะมี รายละเอียดดังน้ี (อังคณา สุริวรรณ์, 2552, เลขหน้า 39-42) Leader (24 character: ตาแหน่งที่ 00-23) 0XX Control information, identification and classification number, etc.

50 ส่วนข้อมูลควบคมุ , ตัวบ่งช้ี และเลขเรยี กหนังสือ 008 Fixed length data elements ข้อมลู กาหนดคงที่ 020 ISBN (International Standard Book Number) หมายเลขประจาหนังสือ 022* ISBN (International Standard Serial Number) หมายเลขประจาวารสาร 041 Language code รหสั ภาษาของทรัพยากร 050 LC call number เลขเรียกหนังสอื ระบบ LC 060 NLM call number เลขเรียกหนงั สอื ระบบ NLM 082 DDC call number เลขเรียกหนงั สอื ระบบ Dewey 090 Local call number เลขเรียกหนังสอื ระบบสัญลักษณ์หรอื เลขหมู่ที่ หนว่ ยงานกาหนด1XX Main entries รายการหลกั 100 Author Personal name (NR) ชือ่ บคุ คล 110 Corporate name (NR) ชื่อนิตบิ ุคคล 111 Conference name (NR) ชือ่ การประชมุ 130 Uniform title (NR) ชือ่ เรอ่ื งแบบฉบับ2XX Title and title paragraph (Title, edition, imprint) ส่วนรายการช่อื เรอ่ื ง 210* Abbreviate key title (NR) ชือ่ เรอ่ื งย่อ 222* Key title (R) ชือ่ เร่อื งหลักที่กาหนดโดยสานักงานหมายเลขประจา วารสารสากล (ISSN) 240 Uniform title (NR) ชือ่ เรอ่ื งแบบฉบับ 250 Title statement (NR) ชือ่ เร่อื ง 246 Varying form title (R) ชือ่ เรอ่ื งอ่นื ๆ ของทรพั ยากรสารสนเทศ 247* Former title or title variations (R) ชื่อเร่อื งเดิม/ชือ่ เร่อื งทีแ่ ตกต่างจาก ปจั จุบนั 250 Edition area (NR) ข้อมลู ครงั้ ทีพ่ ิมพ์ 260 Imprint (Publication, Distribution, etc.) (NR) ข้อมูลพมิ พ์ลกั ษณ์

513XX Physical description การบรรยายลกั ษณะทางกายภาพของทรพั ยากร 300 Physical description, etc. (R) ข้อมลู เกี่ยวกบั การพิมพ์ 310* current publication frequency (NR) กาหนดออก/ความถี่ในการจัดพิมพ์ ในปัจจุบัน 321* Former publication frequency (R) กาหนดออก/ความถี่ในการจดั พิมพ์ใน อดีต 362* Date of publication and/or volume designation (R) ปีพิมพ/์ การบรรยาย ข้อมูลปีที่พิมพ์4XX Series statements การบรรยายชือ่ ชุด 490 Series statements (R) ชือ่ ชุด5XX Note การบรรยายหมายเหตุ 500 General notes (R) หมายเหตทุ ว่ั ไป 502 Dissertation note (R) หมายเหตุรายการที่มีเพิ่มเตมิ ของทรัพยากร 504 Bibliography, etc. notes (R) หมายเหตุรายการบรรณานกุ รมและดรรชนี 505 Formatted contents note (R) หมายเหตจุ าแนกสารบญั 546 Language note (R) หมายเหตุระบุภาษาของทรัพยากร6XX Subject access fields เขตข้อมลู หัวเรื่อง 600 Subject added entry-Personal name (R) หัวเรือ่ งชือ่ บุคคล 610 Subject added entry-Corporate name (R) หัวเรือ่ งชือ่ นิตบิ คุ คล 611 Subject added entry-Meeting name (R) หัวเรือ่ งชือ่ การประชมุ 630 Subject added entry-Uniform title (R) หวั เรือ่ งชือ่ เร่อื งแบบฉบบั 650 Subject added entry-Topical term (R) หัวเรื่องทว่ั ไป 651 Subject added entry-Geographic name (R) หวั เรือ่ งชือ่ ภูมิศาสตร์7XX Added entries other than subject or series ; linking fields ข้อมูลรายการเพิ่มอื่น ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

52 700 Added entry-Personal name (R) รายการเพิ่มชื่อบุคคล 710 Added entry-Corporate name (R) รายการเพิม่ ชื่อนิตบิ ุคคล 711 Added entry-Meeting name (R) รายการเพิม่ ชื่อการประชมุ 730 Added entry-Uniform title (R) รายการเพิม่ ชื่อเร่อื งแบบฉบับ 740 Added entry-Uncontrolled related/analytical title (R) รายการเพิม่ ชือ่ เรือ่ งอื่น ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกบั ทรพั ยากร 770* Supplement/special issue entry (R) รายการเพิ่ ม ขอ งฉบั บ เส ริม/ฉบั บ เพิ่มเติม 772* Parent record entry (R) รายการเพิม่ เกี่ยวกับทรัพยากรหลัก 8XX Series added entries, etc. รายการเพิ่มชื่อชุด 800 Series added entry-Personal name (R) รายการเพิม่ ชื่อชดุ ช่อื บคุ คล 810 Series added entry-Corporate name (R) รายการเพิม่ ชือ่ ชดุ ชอ่ื นิตบิ ุคคล 811 Series added entry-Meeting name (R) รายการเพิม่ ชื่อชดุ ชอ่ื การประชมุ 830 Series added entry-Uniform title (R) รายการเพิม่ ชือ่ ชุดช่อื เรือ่ งแบบฉบบั 850 Holding institution (R) การแจกแจงรายการทรพั ยากรของหอ้ งสมุด 856 Electronic location and access (R) การระบุทีอ่ ยู่อเิ ล็กทรอนิกส์เพือ่ การ เช่อื มโยง 9XX Reserved for local implementation เขตข้อมูลท่ใี ช้เฉพาะของหอ้ งสมดุ 907 Local data (R) เลขบรรณานุกรม 949 Local data (R) ชือ่ ผู้ทารายการ/ผู้บันทึกข้อมูลหมายเหตุ * หมายถึง เขตข้อมูลสาหรบั สิ่งพิมพ์ตอ่ เนื่องประเภทวารสาร (R) หมายถึง เขตข้อมูลทีล่ งรายการซ้าได้ (NR) หมายถึง เขตข้อมลู ที่ลงรายการได้เพียงครงั้ เดียว ในส่วนของการลงรายการบรรณานุกรมตามรูปแบบและหลักเกณฑ์ของ MARC21 และAACR2 ได้อธิบายพร้อมตวั อย่างไว้ในบทที่ 3

บทท่ี 3 แนวทางการลงรายการบรรณานกุ รม ตามมาตรฐาน AACR 2 และ MARC 21 แนวทางการลงรายการบรรณานุกรมได้รวบรวมเน้ือหาและรายละเอียดพื้นฐานเกี่ยวกับAACR2 และ MARC21 เพื่อใช้เป็นคู่มือและเป็นแนวทางในการวิเคราะห์และทารายการบรรณานุกรมให้เป็นมาตรฐานเดียวกันของงานพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา รวมไปถึงห้องสมุดสาขาด้วย โดยเน้ือหาในคู่มือประกอบด้วยเขตข้อมลู แต่ละเขตข้อมลู พร้อมทั้งระเบียนตัวอย่างการทารายการบรรณานกุ รมในรปู แบบต่าง ๆ เพือ่ ให้งา่ ยต่อการทารายการบรรณานุกรม โดยเริม่ ต้นจากการลงรายการในเขตข้อมลู 000 จนถึงเขตข้อมูล949Tag 000 LEADER (NR) การทารายการส่วนป้ายระเบียน (Leader) ป้ายระเบียนเป็นข้อมูลส่วนแรกที่ปรากฏใน MARCเป็นส่วนทีม่ ีความยาวคงทีค่ อื มีจานวน 24 อักขระ (ตาแหน่ง 00-23) แต่ละตาแหน่งจึงประกอบด้วยตัวเลขและรหัส สาหรับโปรแกรมที่จะใช้ประมวลผลระเบียนแต่ละรายการ ข้อมูลต่าง ๆ ที่มีได้แก่ความยาวทั้งหมดของระเบียน, สถานภาพของระเบียน (new, deleted, corrected), ประเภทข้อมูลในระเบียน (book, map, recording, authority name, authority subject), ระดบั การทาบรรณานกุ รม ฯลฯตัวอย่างเช่น 000 00504nam##2200181#a#4500หมายเหตุ เคร่ืองหมาย # ใช้แทนช่องว่าง เพื่อระบุว่าจะต้องเว้นวรรคในช่วงใดบ้าง เวลาที่ต้องบันทึกข้อมูลเข้าระบบส่วนของป้ายระเบียนจะมีอักษรที่ใช้ 24 ตาแหน่ง เริ่มต้นจากเลข 00-23 และแต่ละตาแหน่งจะมีความแตกต่างกันไป จากตัวอย่างทีก่ าหนดสามารถอธิบายได้ดงั ตารางดงั ต่อไปนี้

54ตาราง 1 รายละเอียดของความหมายแต่ละตาแหน่งของ Leaderข้อมลู ตาแหนง่ ชอ่ื ตาแหนง่ ความหมาย00504 0-4 Length ความยาวระเบียนในเชิงตรรกะซึ่งเป็นความยาวโดยรวมของ รายการที่คานวณโดยคอมพวิ เตอร์n5 Status สถานะของรายการเพ่ือช้ีให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของรายการ แฟม้ ขอ้ มูล จดุ ประสงค์คือเพอ่ื การปรับปรุงข้อมลู ในที่นคี้ ือ สถานะ เป็นระเบียนใหม่a6 Type ประเภทของระเบียนในที่นีค้ ือ พมิ พเ์ ปน็ ภาษาเขียนm7 Bibliographic level ระบรุ ะดับของบรรณานกุ รม ซึ่งในทีน่ ีเ้ ป็นเอกสารตน้ ฉบับ## 8-9 Blank ยังไม่ได้ระบใุ ห้ใช้2 10 Indicator count จานวนตวั บ่งชี้ (Indicator) ในทีน่ จี้ ะเป็น 2 เสมอ2 11 Subfield count จานวนรหัสเขตข้อมูลย่อยโดยจะนับต้ังแต่อักขระคั่น รวมกับ ตวั อกั ษรทีใ่ ชร้ ะบุเขตขอ้ มลู ยอ่ ย จะเปน็ 2 เสมอ00181 12-16 Starting character of จุดเริ่มต้นของข้อมูลที่บันทึกเข้าไปในระบบ จะใช้ตัวเลข 5 ตัว เพ่ือ variable field ระบุตาแหน่งเริ่มต้นของอักษรตัวแรกที่ใช้เขตข้อมูลสาหรับบันทึก รายการคานวณโดยคอมพิวเตอร์สาหรับระเบียนน้ีเขตข้อมูลเริ่มที่ ตาแหนง่ 0181# 17 Encoding level ระดับของการใช้รหัสเพ่ืออธิบายข้อมลู บางอยา่ งในระบบ เป็นระดบั การทารายการในท่นี ้ี blank แตห่ มายถงึ ข้อมูลนาลงแบบเต็มรูปa 18 Descriptive catalog ระบุถึงรูปแบบการทารายการว่าใช้ตามกฎเกณฑ์ AACR2 หรือ form ISBD ในทีน่ ี้ a หมายถงึ AACR2# 19 Linked record ตอ้ งการเชอ่ื มกับระเบียนอื่น ในที่นไี้ มร่ ะบใุ ห้ใช้ requirement45 20-21 Map for record 4 หมายถึง ความยาวของระเบียนใช้ 4 ตาแหนง่ directory 5 หมายถึง ตาแหนง่ ทีเ่ ริ่มตน้ ของข้อมูลใช้ 5 ตาแหน่ง0 22 Length of the ไมร่ ะบุ implementation defined position0 23 Undefined entry ไมร่ ะบุ map character position

55*ตาแหน่งที่ 20-23 โดยส่วนใหญ่จะเปน็ 4500 เสมอ ในการทารายการส่วนที่เป็นป้ายระเบียนนี้ สามารถลงรายได้ 2 วิธี คอื 1. ส่วนที่ระบบดาเนินการเองได้มี 18 ตาแหน่ง คือ ตาแหน่งที่ 00-04, 08-09, 10, 11, 12-16, 20-23 2. ส่วนที่ระบบดาเนินการไม่ได้รวม 6 ตาแหน่ง ซึ่งอาจต้องลงรายการเองหรือขึ้นกับความสามารถของระบบเปน็ ผู้กาหนด คือ ตาแหน่งที่ 05, 06, 07, 17, 18, 19 โดยส่วนใหญ่แล้วป้ายระเบียนมักจะกาหนดโดยระบบคอมพิวเตอร์แทบท้ังหมด ของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา ระบบ ALIST จะตั้งค่า Default ไว้อยู่แล้ว อย่างไรก็ดีในฐานนะผู้ลงรายการควรทราบความหมายและรหัสที่กาหนดใช้ในแต่ละตาแหน่ง ซึ่ง MARC ได้กาหนดรหัสต่าง ๆ ในป้ายระเบียนไว้ดงั ตอ่ ไปนี้ 00-04 ความยาวระเบียนในเชิงตรรกะ (Logical record length) ซึ่งเป็นความยาวโดยรวมของรายการที่คานวณโดยคอมพิวเตอร์ 05 สถานะของรายการ (Record status) เพื่อชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของรายการกับแฟ้มข้อมูล จดุ ประสงคเ์ พือ่ ปรับปรุงแฟ้มขอ้ มูล กาหนดให้ใชร้ หสั ตา่ ง ๆ ดังน้ี a = increase in encoding level (เพิม่ ระดบั การทารายการ) c = corrected or revised (ระเบียนทีไ่ ด้รับการแก้ไข/ปรับปรงุ ใหม)่ d = deleted (ระเบียนที่ถูกลบ) n = new (ระเบียนใหม่) p = increase in encoding from prepublication (previous CIP) (เพิ่มระดบั การทารายการ) 06 ประเภทของระเบียน (Type of record) เปน็ ตาแหน่งสาคญั ในป้ายระเบียน ซึ่งจะใช้จาแนกสารสนเทศในระเบียนออกเปน็ ประเภทต่าง ๆ ซึ่งกาหนดให้ใชร้ หสั ตา่ ง ๆ ดังตอ่ ไปนี้ a = language material ระเบียนบรรณานุกรมที่เป็นวัสดุ/สิ่งพิมพ์ที่เป็นภาษา รวมทั้งวัสดุย่อส่วน c = printed music เปน็ ระเบียนสิง่ พิมพ์ที่มเี นือ้ หาทางดนตรี (รวมทั้งวสั ดยุ ่อส่วน) d = manuscript music เปน็ ระเบียนที่มีเน้ือหาทางดนตรี แตเ่ ปน็ ต้นฉบับตวั เขียน เปน็ โน้ตเพลงต้นฉบบั รวมทั้งวสั ดยุ ่อสว่ น

56 e = cartographic material เป็นระเบียนของแผนที่ (รวมทั้งวัสดุย่อส่วน) f = manuscript cartographic material เป็นระเบียนของแผนที่ในรูปแบบต้นฉบับ (รวมท้ังวัสดุย่อส่วน) g = projected medium เป็นระเบียนของสื่อที่แสดงโดยการฉาย ท้ังที่เป็นภาพยนตร์ เทปโทรทัศน์ ฟิล์ม สตริป สไลด์ แผ่นใส และวัสดุต่าง ๆ ที่ต้องใช้ร่วมกับเคร่ืองฉาย รวมท้ังเอกสารทางจดหมายเหตุทีต่ อ้ งใชเ้ ครื่องฉาย i = nonmusical sound recording เป็นระเบียนวสั ดทุ ี่เป็นเทปบันทึกเสียงที่ไม่ใชเ่ สียงดนตรี เชน่คาปราศรัย j = musical sound recording เปน็ ระเบียนที่ใช้สาหรับเทปบันทึกเสียงดนตรี k = 2-dimensional non-projectable graphic เป็นระเบียนของสอ่ื ที่เปน็ กราฟิก 2 มิติที่ไม่ต้องใช้เคร่ืองฉาย เช่น แผนภูมิ แผนภาพ ภาพถ่าย โปสเตอร์ รวมทั้งภาพกราฟิกที่มีความสาคัญทางจดหมายเหตุ m = computer file เป็นระเบียนข้อมูล/สื่อที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ซึ่งมีท้ังแบบตัวเลข ข้อความ โปรแกรม แผ่นดสิ เกต บตั รเจาะรู หรอื เครือ่ งอา่ น 0 = kit เป็นระเบียนที่ประกอบด้วยสื่อรูปแบบต่าง ๆ มากกว่า 2 ประเภท ซึ่งไม่สามารถระบุรูปแบบที่เด่นชัดได้ มักจะเป็นชุดการสอน เช่น อุปกรณ์สาหรับฝึกปฏิบัติ อุปกรณ์การเรียนที่มีทั้งหนงั สือ แบบฝกึ หดั คู่มอื แนะนา ฯลฯ p = mixed materials ระเบียนของวสั ดุผสม r = 3-dimensional artifact or naturally occurring object เป็นระเบียนที่เป็นรูปแบบจาลอง 3มิติ หรือวัตถุที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เช่น หุ่นจาลอง เกม งานศิลปะ เคร่ืองจักร นิทรรศการ รูปป้ันฟอสซิล รวมท้ังวัสดทุ ี่มคี วามสาคญั ทางประวัตศิ าสตร์ t = manuscript language material เป็นระเบียนวัสดุภาษาต้นฉบับตัวเขียน (รวมทั้งวัสดุย่อส่วน) 07 ระดบั ของบรรณานกุ รม (Bibliographic level) กาหนดให้ใชร้ หัสดงั ตอ่ ไปนี้ a = monographic component part (บรรณานกุ รมของส่วนหนึ่งของหนังสอื ) b = serial component part (บรรณานกุ รมของส่วนหนึง่ ของวารสาร)

57 c = collection (บรรณานุกรมของผลงานรวม) d = sub-unit (บรรณานุกรมของหน่วยย่อย) m = monograph/item (บรรณานกุ รมของหนังสอื หรือสิ่งพิมพ์) s = serial (บรรณานุกรมของวารสาร) 08 ประเภทของการควบคมุ ระเบียน (Type of control) กาหนดให้ใชร้ หัสดงั ตอ่ ไปนี้ # = no specified type (ว่างคอื ไม่ระบปุ ระเภทของการควบคมุ ) a = archival (ระเบียนทีต่ ้องควบคุม) 09 ประเภทของรหัส (Character coding scheme) กาหนดให้ใชร้ หัสดังน้ี # = MARC-8 (ให้เว้นว่างหากต้องการเกบ็ ไว้ใชใ้ นอนาคต) a = UCS/Unicode (เปน็ รหสั ของ UCS/Unicode) 10 จานวนตัวบ่งชีใ้ นแต่ละเขตข้อมูล (Indicator count) จะเป็น 2 อักขระเสมอ 11 ความยาวของรหสั ในเขตข้อมลู ย่อย (Subfield code count) จะเปน็ 2 อกั ขระเสมอ 12-16 ตาแหน่งของเริ่มต้นของระเบียน (Base address of data) บอกตาแหน่งเริ่มต้นของเขตข้อมูลที่มคี วามยาวแปรผนั ในระเบียน คอมพิวเตอร์จะเป็นผู้คานวณให้ 17 ระดับการทารายการ (Encoding level) กาหนดให้ใชร้ หสั ตา่ ง ๆ ดังน้ี # = full level ลงรายการระดับเตม็ โดยตรวจสอบวัสดุ 1 = full level, material not examined ลงรายการระดบั เตม็ โดยไม่มีการตรวจสอบวสั ดุ 2 = less-than-full level, material not examined ลงรายการต่ากว่าระดับเต็มโดยไม่มีการตรวจสอบวัสดุ 3 = abbreviated level ลงรายการระดบั ย่อ 4 = core level ลงรายการระดับใจความสาคญั 5 = partial (preliminary) level ลงรายการเพียงบางสว่ น 7 = minimal level ลงรายการระดบั ต่าที่สดุ 8 = prepublication level (CIP) ลงรายการทีม่ ีการพิมพ์ล่วงหน้า u = unknown ไม่ทราบ z = not applicable ลงรายการระดับที่เหมาะสม

58 18 รปู แบบการทารายการ (Descriptive cataloging form) กาหนดให้ใชร้ หัสตา่ ง ๆ ดังน้ี # = non-ISBD ไม่มมี าตรฐานสากลในการทารายการทางบรรณานกุ รม a = AACR2 ลงรายการตามกฎการทารายการของ AACR2 i = ISBD ลงรายการตามมาตรฐานสากลในการทารายการทางบรรณานกุ รม (ISBD) u = unknown ไม่ทราบ 19 การเช่อื มโยงระเบียน (Linked record requirement) รหัสสาหรับใช้เชือ่ มโยงระเบียนข้อมูล # = related record NOT required (to fully process this record) ไม่จาเป็นต้องเชอ่ื มโยง r = related record required (to fully process this record) จาเป็นต้องเชอ่ื มโยง20-23 แผนที่ตารางระบตุ าแหน่ง มักจะมีค่าเป็น 4500 แตล่ ะตาแหน่งหมายถึง 20 = Length of the length-of-field portion หมายถึง กาหนดความยาวของระเบียนเป็น 4ตาแหน่งเสมอ 21 = Length of the starting-character-position portion หมายถึง ตาแหน่งที่เริ่มต้นของข้อมลู กาหนดเปน็ 5 ตาแหน่งเสมอ 22 = Length of the implementation-defined portion (always “0”) ยงั ไม่ได้กาหนดใช้ 23 = Undefined (always “0”) ยงั ไม่กาหนดใช้หมายเหตุ - ตาแหน่งที่ 5 ต้องไม่เปน็ d = delete - ตาแหน่งที่ 6 ใส่ code ให้ตรงกับประเภทของทรัพยากร เช่น a = Language material(สิ่งพิมพ์รวมถึง microforms and electronic resources ที่แปลงมาจากต้นฉบับ โดยเนื้อหามีลักษณะเป็นตวั อักษร) / g = Projected medium (สือ่ โสตทีต่ อ้ งใชเ้ ครื่องฉาย เนือ้ หาเป็นภาพเคลือ่ นไหว motionpictures, videorecordings (including digital video)) / m = Computer file (computer software(including programs, games, fonts)) - ตาแหน่งที่ 7 ใส่ code ให้ตรงกับระดับการลงรายการบรรณานุกรม เช่น m = Monograph= ลงรายการทรพั ยากรสารสนเทศ 1 เล่ม หรอื 1 ชนิ้ / s = Serial = ลงรายการสิ่งพิมพ์ตอ่ เนื่อง

59 - ตาแหน่งที่ 6 และ 7 สมั พันธ์กบั การลง 008ความสาคญั ของ Tag 000 - มีประโยชน์ในการแลกเปลีย่ นข้อมูลกับ OCLC และ Union Catalog - REC TYPE หลายระบบนาไปเป็นข้อมูลในการค้นแบบ Limit search, แสดง icon แทนประเภทของทรพั ยากรการทารายการเขตข้อมูลควบคุมระเบียน MARC กาหนดเขตข้อมูลควบคุมระเบียน (Variable Control Fields) ไว้ในกลุ่มเขตข้อมูล 00X(001-009) ซึ่งเขตข้อมูลเหล่านี้จะไม่มีตัวบ่งชี้ (Indicators) และเขตข้อมูลย่อย (Subfields) เขตข้อมูลในกลุ่มนี้แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ (1) เขตข้อมูลส่วนระบบคอมพิวเตอร์กาหนดให้อัตโนมัติ และ (2) เขตข้อมูลที่ต้องวิเคราะห์รายการเพื่อกาหนดรหัสให้คอมพิวเตอร์ทราบ ซึ่งทางศูนย์บรรณสารและสือ่ การศกึ ษา มหาวิทยาลัยพะเยา ใช้เขตขอ้ มูลควบคมุ ระเบียน เพียง 2 เขตข้อมูล คือ 005 และ 008และจะขอกล่าวอธิบายเพียง 2 เขตข้อมลู น้ีเท่านน้ัTag 005 Date and Time of Latest Transaction (NR) เขตข้อมูลเกี่ยวกับวันและเวลาที่จัดการกับระเบียน ใช้ระบุวัน/เวลาล่าสุดที่มีการกระทารายการนั้น ๆ โดยบันทึกเป็นเลข 8 หลกั ในรปู แบบของ ปีเดือนวนั (yyyymmdd) ส่วนเวลาใช้เป็นเลข8 หลัก ในรูปแบบ ชั่วโมงนาทีวินาทีและมิลลิวินาที (hhmmss.f) ส่วนใหญ่ให้ระบบดาเนินการได้ ในส่วนของ ALIST จะขึน้ เองอัตโนมัติ เมื่อทาการบันทึกตวั อยา่ งเช่น 005 19940223151047.0 [วันที่ 23 กมุ ภาพนั ธ์ 1994, เวลา 3:10:47 p.m.]Tag 008 Fixed-Length Data element-General Information (NR) เขตข้อมลู ความยาวคงที่-ในส่วนรายละเอียดทวั่ ไป เปน็ การกาหนดรหสั ทีใ่ ช้กบั ระเบียน เพือ่ระบุลกั ษณะพิเศษของรายการบรรณานุกรม บางสว่ นของเขตข้อมูลนเี้ ปน็ ข้อมูลที่สาคัญและบางสว่ นก็สามารถปล่อยใหว้ ่างได้ ข้ึนอยู่กบั ระบบที่ใช้ ซึ่งขอ้ มลู บางตัวนนั้ ระบบอาจจะระบุเปน็ ค่าคงทีไ่ ว้กไ็ ด้ที่สาคญั เขตข้อมลู นี้จะไม่มีเขตขอ้ มลู ย่อย (Subfields) เขตข้อมูลนี้มีทั้งสิ้น 40 ตาแหน่งที่ให้ใส่ค่าข้อมูล แทนที่ด้วยเลขประจาตาแหน่ง คือ 00-39ตาแหน่งที่ไม่ได้ระบุให้ใช้ จะใส่เคร่ืองหมาย # หรือ | เพื่อให้รู้ว่าเป็นช่องว่าง โดยปกติแล้วตาแหน่งที่

6000-17 และ 35-39 ใช้บอกรูปแบบของวัสดุหรอื เอกสารทกุ ประเภทจะมีรูปแบบเหมือนกันหมด ส่วนตาแหน่งที่ 18-34 น้ัน เป็นการกาหนดความเฉพาะของวัสดุแต่ละประเภทที่แตกต่างกัน ซึ่งจะแตกต่างไปตามทรพั ยากรแต่ละประเภท การทารายการในเขตข้อมูลในเขตข้อมูล 008 จาเป็นสาหรับสารสนเทศทุกประเภท เพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับการทารายการในเขตข้อมูลควบคุมมากขึ้น ในที่นี้จะอธิบายรายละเอียดเฉพาะที่เป็นทรัพยากรท่ัว ๆ ไป (All material) เท่านั้น ส่วนรายละเอียดของแต่ละสื่อจะกล่าวเฉพาะของหนังสอื รายละเอียดของเขตข้อมลู 008 ในแต่ละตาแหน่งตั้งแตต่ าแหนง่ 00-39 มีดงั นี้ 00-05 วันที่บันทึกข้อมูล (Date entered on file) ส่วนนี้กาหนดโดยคอมพิวเตอร์ ในรูปแบบปีเดือนวนั (YYMMDD) ตัวอย่างเชน่ 000102 คือ วันที่ 2 มกราคม ปี 2000 06 ประเภทปีพิมพ์ สถานะการพิมพ์ (Type of date/publication status) การกาหนดรหัสในตาแหน่งนี้ แตล่ ะรหัสจะสัมพนั ธ์กบั ข้อมลู ในตาแหน่งที่ 07-10 และ 11-14 เสมอ b = no dates given; B.C. date involved ไม่มปี ีพิมพ์ แตม่ ีศกั ราชทีเ่ กี่ยวข้อง c = continuing resource currently published พิมพ์ตอ่ เนื่องจนถึงปจั จุบนั เชน่ เขตข้อมูล 008/07-10 ระบปุ ีพิมพเ์ ริ่มตน้ : เขตข้อมลู 008/11-14 ระบุ 9999 d = continuing resource cease publication สถานะหยุดพิมพ์ เชน่ เขตข้อมลู 008/07-10 ระบปุ ีพิมพเ์ ริ่มตน้ : เขตข้อมูล 008/11-14 ระบุปีพิมพส์ ดุ ท้าย e = detailed date รายละเอียดวนั ที่ เชน่ 008/07-10 1983 008/11-14 0615 260 ## $aWashington, D.C. :$bDept. of Commerce,$cJune 15, 1983 i = inclusive dates of collection ปีพิมพท์ ั้งหมดของงานรวม (Collection) เชน่ 008/07-10 1765 008/11-14 1770 260 ## $c1765-1770 k = range of years of bulk of collection ปีพิมพท์ ี่ยาวนาน เช่น 008/07-10 1796

61 008/11-14 1896 260 ## $c1796-1896 m = multiple dates มีปีพิมพ์เริม่ ต้นและสิน้ สุด เช่น เขตข้อมูล 008/07-10 ระบุปีพิมพเ์ ริม่ ตน้ : เขตข้อมูล 008/11-14 ระบปุ ีพิมพส์ ุดท้าย n = dates unknown ไม่ทราบปีพิมพ์ เขตข้อมลู 008/07-10 และเขตข้อมลู 008/11-14 เว้นว่างไว้ (#) p = date of distribution/release/issue and production/recording session when different ปีจาหน่ายและปีที่จัดทาแตกต่างกัน เช่น 008/07-10 1982 008/11-14 1867 260 ## $aWashington :$bU.S. Navy Dept.,$c1967 :$bDistibuted by National Audiovisual Center,$c1982 q = questionable date ปีพิมพย์ งั มีปญั หา เช่น เขตข้อมลู 008/07-10 ระบุปีพิมพแ์ รกสดุ ที่อาจเปน็ ได้ : เขตข้อมูล 008/11-14 ระบปุ ีพิมพล์ ่าสุดที่อาจเปน็ ไปได้ r = reprint/reissue date (Date 1) and original date (Date 2) ปีทีพ่ ิมพ์ซ้า เช่น เขตข้อมลู 008/07-10 ระบุปีพิมพเ์ ริม่ ตน้ : เขตข้อมูล 008/11-14 ระบปุ ีพิมพซ์ ้า s = single known date/probable date ปีพิมพม์ ีปีเดียวที่ทราบ/ที่อาจเป็นไปได้ เชน่ เขตข้อมลู 008/07-10 ระบปุ ีพิมพ์ที่ทราบ : เขตข้อมูล 008/11-14 ไม่ระบุ t = publication date and copyright date ปีพิมพแ์ ละปีลิขสิทธิ์ เชน่ 008/07-10 1982 008/11-14 1849 260 ## $aLondon :$bMacmillan,$c1982, c1949 u = continuing resource status unknown ไม่ทราบสถานการณพ์ ิมพ์ เช่น เขตข้อมูล 008/07-10 ระบุปีเริ่มพิมพ์ : เขตข้อมูล 008/11-14 ระบุ 9999 | = no attempt to code ไม่สามารถระบุรหัสได้

62 07-10 ปีจดั พิมพ์เอกสาร-ปีเริม่ ต้น (Date 1/beginning date of publication) ในเขตข้อมูลนจี้ ะตรวจสอบความสมั พันธ์จากเขตข้อมลู 008/06 ให้ระบปุ ีพิมพ์ของเอกสาร หรอื # = ในกรณีปีพิมพ์ที่ไม่เหมาะสม u = ไม่ทราบปีพิมพห์ รอื ทราบเปน็ บางสว่ น 11-14 วันที่ส้ินสดุ การพมิ พ์ (Date 2/ending date of publication) ระบปุ ีสดุ ท้ายของการพิมพ์ส่วนใหญ่จะใช้สาหรับวารสารและสิ่งพิมพ์ต่อเน่อื ง ข้อมลู จะสัมพนั ธ์กับเขตข้อมลู 008/06 15-17 สถานที่จดั พิมพ์ (Place of publication, production, or execution) สาหรบั ระบุสถานที่จัดพิมพ์หรือผลิตเอกสาร หรือสาถนที่ดาเนินการจัดทาทรัพยากรน้ัน รหัสที่ใช้จะกาหนดไว้ในคู่มือของ USMARC ในส่วนของ Code List for Countries ห้องสมุดบางแห่งอาจใช้รหัสเพื่อระบุรัฐหรือจังหวัด แทนชื่อของประเทศแตกต่างกันไป เพื่อระบุส่วนภูมิภาคในท้องถิ่นของตนเอง โดยส่วนใหญ่รหัสกาหนดเป็นรหสั 2-3 อกั ขระ และตาแหน่งที่ไม่ใชใ้ ห้เว้นว่างไว้ (#) ตวั อย่างเชน่ pk# = Pakistan cau = Californai 18-21 ภาพประกอบ (Illustrations) เป็นรหัสที่กาหนดขึ้นสาหรับภาพประกอบในหนังสือเท่านั้น หากเป็นสื่ออื่นให้ดูการกาหนดรหัสของสื่อแต่ละประเภทโดยเฉพาะ รหัสนี้ใช้สาหรับระบุภาพประกอบของหนังสือ มี 4 ตาแหน่ง ในกรณีที่เอกสารนั้นมีภาพประกอบมากกว่า 1 แบบ เช่นแผนที่ แผนภูมิ แต่ถ้ามีภาพประกอบเพียงรูปแบบเดียวให้ระบุรหัสในตาแหน่งที่ 18 ส่วนตาแหน่งที่19-21 ให้ปล่อยว่างไว้ รหัสที่กาหนดให้ใช้ในแตล่ ะตาแหน่งมีดงั นี้ # = no illustrations ไม่มภี าพประกอบ a = illustrations มีภาพประกอบ แตไ่ ม่จาแนกประเภทของภาพประกอบ b = maps ภาพประกอบเป็นแผนที่ c = portraits ภาพประกอบเปน็ ภาพคน d = charts ภาพประกอบเป็นแผนภมู ิ e = plans ภาพประกอบเปน็ แบบแปลน f = plates ภาพประกอบเป็นแผ่นภาพ g = music มีโน้ตเพลงประกอบ

63h = facsimiles ภาพประกอบเป็นวสั ดุย่อสว่ นi = coats of arms ภาพประกอบเปน็ ตราประจาตระกูลj = genealogical tables ภาพประกอบเปน็ ตารางแสดงวงศว์ านk = forms ภาพประกอบเป็นแบบฟอร์มl = samples มีตวั อย่างประกอบm = phonodisc, phonowire, etc. มีแผน่ เสียงประกอบo = photographs มีรปู ภาพประกอบp = illuminations มีภาพพิมพ์ประกอบ| = no attempt to code ไม่สามารถระบรุ หัสได้22 ระดับผใู้ ช้ (Target audience) ระบุรหัสของระดับผใู้ ช้หนังสือ กาหนดให้ใช้รหัสดังนี้# = unknown or not specified ไม่ทราบหรือไม่ระบุa = preschool เหมาะกบั ผใู้ ช้ระดับก่อนประถมศึกษาb = primary เหมาะกับผใู้ ช้ระดับประถมศึกษาc = elementary and junior high เหมาะกบั ผใู้ ช้ระดับมธั ยมตนd = secondary (senior high) เหมาะกับผใู้ ช้ระดบั มัธยมปลายe = adult เหมาะกับผใู้ หญ่ท่วั ไปf = specialized เหมาะกบั ผู้ใช้ที่เป็นกลุ่มนักวิชาการg = general เหมาะกับคนท่ัวไปj = juvenile เหมาะกบั กลุ่มเยาวชน| = no attempt to code ไม่สามารถระบุรหัสได้23 รปู แบบของทรพั ยากร (Form of item) ในที่น้หี มายถึงหนงั สอื กาหนดให้ใชร้ หสั ดังน้ี# = none of the following ไม่ใช่รูปแบบของส่งิ พิมพ์ที่กาหนดรหัสเอาไว้ท้ังหมดa = microfilm เปน็ ไมโครฟิล์มb = microfiche เปน็ ไมโครฟิชc = microopaque เป็นไมโครโอแพคd = large print เปน็ สิง่ พิมพ์ทีม่ อี ักษรขนาดใหญ่

64 f = braille เปน็ สิง่ พิมพ์อกั ษรเบรลล์ r = regular print reproduction เปน็ สิง่ พิมพ์ที่เกิดจากการสาเนา/พิมพใ์ หม่ s = electronic เปน็ สิ่งพิมพ์อเิ ล็กทรอนิกส์ | = no attempt to code ไม่สามารถระบรุ หัสได้ 24-27 ลักษณะเน้ือหา (Nature of contents) ให้ระบุลักษณะเนื้อหาของหนังสือ เช่นพจนานุกรม บัญชีรายชื่อ คู่มือ รหัสเฉพาะที่กาหนดให้ใช้กับทรัพยากรที่มีเท่าน้ัน แต่ถ้าไม่ได้กาหนดไว้ก็ให้ว่างไว้ ให้ระบุได้ไม่เกิน 4 ตาแหน่ง เพื่อระบุประเภทของสิ่งพิมพ์ตามเนื้อหา ถ้าบันทึกน้อยกว่าตาแหน่งทีเ่ หลอื ให้ว่างไว้ รหสั ที่กาหนดไว้มดี งั น้ี # = no specified nature of contents ไม่ระบุลักษณะเนื้อหา 5 = calendars เปน็ ปฏิทิน 6 = comics/graphic novels เนือ้ หาเป็นการ์ตนู /นยิ ายภาพ a = abstracts/summaries เนือ้ หาเปน็ สาระสังเขป/เนื้อหาย่อ b = bibliographies เนือ้ หาเป็นบรรณานุกรม c = catalogs เนือ้ หาเปน็ รายการหนงั สือ d = dictionaries เนือ้ หาเป็นพจนานกุ รม (รวมท้ังอภธิ านศัพท์และพจนานกุ รมทางภูมิศาสตร์) e = encyclopedias เนือ้ หาเป็นสารานกุ รม f = handbooks เนือ้ หาเปน็ คู่มอื g = legal articles เนือ้ หาเป็นบทความทางด้านกฎหมาย i = indexes เนือ้ หาเป็นดรรชนี (รวมทั้งดรรชนีของวสั ดุบรรณานกุ รมอืน่ ๆ) j = patent document เนือ้ หาเปน็ เอกสารสิทธิบตั ร k = discographies เป็นแผ่นเสียง l = legislation เนือ้ หาเกีย่ วกับกฎหมายและระเบียบข้อบงั คับ m = theses เนือ้ หาเปน็ วิทยานิพนธ์ n = surveys of literature เนือ้ หาเป็นบทสารวจทางวรรณกรรมเฉพาะสาขาวิชา o = reviews เนือ้ หาเป็นบทวิจารณ์ p = programmed texts เนือ้ หาเป็นหนงั สือแบบเรียนสาเร็จรูป

65 q = filmographies เป็นฟิล์มภาพยนตร์ r = directories เนือ้ หาเปน็ นามานกุ รม s = statistics เนือ้ หาเป็นเรือ่ งสถิติ t = technical reports เนือ้ หาเป็นรายงานทางวิชาการหรือเชิงเทคนิค u = standards/specifications เนือ้ หาเกีย่ วกับมาตรฐานหรอื ข้อกาหนด v = legal cases and notes เนือ้ หาเปน็ เรื่องการตดั สินคดหี รอื บันทึกข้อเทจ็ จริงตามกฎหมาย w = law reports and digests เนือ้ หาเป็นคาพพิ ากษาและสรปุ หลกั กฎหมายตามคาพิพากษา y = yearbooks เนือ้ หาเป็นรายงานประจาปี/หนงั สอื รายปี z = treaties เนือ้ หาเปน็ เรื่องสนธิสญั ญา | = no attempt to code ไม่สามารถระบรุ หสั ได้ 28 สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government publication) กาหนดรหัสสาหรับเอกสารที่เป็นสิ่งพิมพ์รัฐบาลใหใ้ ช้รหัสดังน้ี # = not a government publication ไม่ใช่สง่ิ พิมพ์รัฐบาล a = autonomous or semi-autonomous component สิ่งพิมพ์ของหนว่ ยงานอสิ ระ/กึ่งอิสระ c = multilocal สิ่งพิมพ์ของหนว่ ยงานจากหลาย ๆ พืน้ ที่ f = federal/national เป็นสิง่ พิมพ์ของหนว่ ยงานรัฐบาลระดับประเทศ i = international intergovernmental เปน็ สิ่งพิมพ์ของหนว่ ยงานรัฐบาลระดับนานาประเทศ l = local เปน็ สิ่งพิมพ์ของหนว่ ยงานรัฐบาลระดบั ท้องถิน่ m = multistate เปน็ สิ่งพิมพ์ของหนว่ ยงานรัฐบาลจากหลายรัฐ o = government publication-level undetermined สิ่งพิมพ์รัฐบาลซึ่งไม่สามารถระดับระดับได้ s = state, provincial, territorial, dependent, etc. สิ่งพิมพ์รัฐบาลของหน่วยงานระดับรัฐจังหวัด ฯลฯ u = unknown if item is government publication ไม่ทราบว่าเป็นสิ่งพิมพ์รฐั บาลหรอื ไม่ z = other type of government publication สิ่งพิมพ์รฐั บาลประเภทอืน่ ๆ | = no attempt to code ไม่สามารถระบุรหัสได้

66 29 สิ่งพิมพ์จากการประชุม (Conference publication) ใช้ระบุเพื่อจะบอกว่าเอกสารน้ันเป็นเอกสารการประชมุ หรอื ไม่ รหสั ทีก่ าหนดไว้มดี งั น้ี 0 = not a conference publication ไม่ใช่สง่ิ พิมพ์จากการประชมุ 1 = conference publication เป็นสิ่งพิมพ์จากการประชมุ | = no attempt to code ไม่สามารถระบุรหสั ได้ 30 หนังสือที่ระลึก (Festschrift) ใช้ระบุเพื่อจะบอกว่าเอกสารนั้น ๆ เป็นหนังสือที่ระลึกกาหนดให้ใชร้ หสั ดังน้ี 0 = not a festschrift ไม่ใช่หนงั สอื ที่ระลึก 1 = festschrift เป็นหนังสือทีร่ ะลึก | = no attempt to code ไม่สามารถระบุรหัสได้ 31 ดรรชนี (Index) ระบุเพื่อจะบอกว่าเอกสารน้ันมีดรรชนีประกอบหรอื ไม่ 0 = not index ไม่มดี รรชนี 1 = index present มีดรรชนี | = no attempt to code ไม่สามารถระบุรหัสได้ 32 ไม่กาหนดให้ใช้ (Undefined) ให้เว้นว่าง (#=Undefined) หรือไม่เติม | หากไม่ประสงค์จะกาหนดรหสั ใด (no attempt to code) ของศนู ย์บรรณสารและสอ่ื การศกึ ษา มหาวิทยาลยั พะเยา ให้ลง# 33 รูปแบบวรรณกรรม (Literary form) ใช้ระบุเพื่อจะบอกว่าหนังสือนั้นเป็นวรรณกรรมรปู แบบใด กาหนดให้ใชร้ หสั ดงั ตอ่ ไปนี้ 0 = not fiction (not further specified) ไม่ใช่หนังสอื บนั เทิงคดีหรอื นวนิยาย 1 = fiction (not further specified) เป็นบันเทิงคดีท่ัวไป ไม่จาแนกประเภท d = dramas เปน็ บทละคร e = essays เปน็ เรียงความ f = novels เป็นนิยายเร่อื งยาว h = humor, satires, etc. เปน็ เรือ่ งราวตลก ล้อเลียน ฯลฯ i = letters เปน็ จดหมาย

67 j = short stories เปน็ เรือ่ งส้ัน m = mixed forms เปน็ วรรณกรรมรปู แบบผสม (เช่น บทกลอนและเรือ่ งส้ัน) p = poetry เปน็ บทกวี หรอื บทกลอน s = speeches เปน็ สุนทรพจน์ u = unknown ไม่ทราบรูปแบบวรรณกรรม | = no attempt to code ไม่สามารถระบุรหัสได้ 34 ชีวประวัติ (Biography) ระบุเพื่อจะบอกว่าเป็นเอกสารชีวประวัติ กาหนดให้ใช้รหัสดงั ตอ่ ไปนี้ # = no biographical material ไม่ใช่สง่ิ พิมพ์ชีวประวัติ a = autobiography เป็นอัตชีวประวตั ิ b = individual biography เปน็ ชีวประวัตสิ ่วนบคุ คล c = collective biography เป็นหนังสือรวมชีวประวัติ d = contains biographical information เป็นหนงั สือที่มชี ีวประวัติรวมอยู่ดว้ ย | = no attempt to code ไม่สามารถระบุรหัสได้ 35-37 ภาษา (Language) เป็นรหัสอกั ขระ 3 ใช้ระบภุ าษาสิง่ พิมพ์ ซึ่งสามารถดรู หสั ภาษาได้จาก MARC Code List for Languages ตัวอย่างเชน่ 008/35-37 eng fre ger spa rus ita 38 ระเบียนที่มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลง (Modified record) ระบุว่าข้อมูลที่ได้มานั้นได้แปลหรือถอดความให้เป็นอักษรโรมันหรือไม่ ถ้ารายการน้ันไม่ได้ดัดแปลงหรือแก้ไขตามที่กล่าวมาให้ระบุเปน็blank แทน รหสั ที่กาหนดให้ใช้มี 1 อกั ขระ มีดงั น้ี # = not modified ไม่ได้แก้ไขดดั แปลง d = dashed-on information omitted ข้อมูลหายไปเลก็ น้อย o = completely Romanized/printed cards Romanized ระเบียนและการพิมพ์ลงบัตรเป็นอักษรโรมนั r = completely Romanized/printed cards in script ระเบียนเป็นภาษาโรมันแต่การพิมพ์บัตรเป็นภาษาต้นฉบบั s = shortened ระเบียนถูกทาให้สั้นลง

68 x = missing characters ระเบียนมบี างอกั ขระหายไป | = no attempt to code ไม่สามารถระบุรหสั ได้ 39 แหล่งผลิตข้อมูลทางบรรณานุกรม (Cataloging source) ระบุรหัส 1 อักขระใช้ระบุแหล่งที่ผลติ ข้อมูลทางบรรณานุกรม กาหนดให้ใชร้ หสั ดงั น้ี # = National Bibliographic Agency ตวั แทนจดั ทาบรรณานุกรมแหง่ ชาติ c = Cooperative cataloging program ความรว่ มมอื ในการทารายการรว่ มกัน d = other sources แหลง่ อน่ื ๆ u = unknown ไม่ทราบ | = no attempt to code ไม่สามารถระบุรหสั ได้ตวั อยา่ งเชน่ 008 910711s1990####th#a##########000#0#tha#dตาราง 2 ความหมายของเขตข้อมลู ควบคุมท่ัวไป 008ตาแหน่ง ช่อื ตาแหน่ง ข้อมลู ความหมาย 910711 บันทึกเมอ่ื วันที่ 11 กรกฎาคม 199000-05 วนั ที่บันทึกข้อมูล s เปน็ ปีเดียวที่ทราบขอ้ มลู 1990 ปีพมิ พค์ ือ 199006* รหสั แสดงประเภทของปีพมิ พ์ #### ไมม่ ปี ีส้ินสุด th# ประเทศไทย7-10* ปีพมิ พท์ ี่เริม่ ตน้ a### มภี าพประกอบแตไ่ มร่ ะบชุ นดิ ของภาพ # ไมร่ ะบุระดับของผู้ใช้11-14 ปีพมิ พเ์ ผยแพร่, ปีทีส่ ้นิ สุด # ไมร่ ะบรุ ปู แบบของวัสดุที่บนั ทึก #### ไมร่ ะบุรหสั จาแนกประเภทของเน้ือหา15-17* รหัสสถานที่พิมพ์ # ไมใ่ ชส่ ิ่งพิมพร์ ัฐบาล 0 ไมใ่ ชส่ ิง่ พิมพก์ ารประชมุ18-21* รหัสระบุชนดิ ของภาพประกอบ 0 ไมใ่ ชห่ นงั สือที่ระลึก 0 ไมม่ ดี รรชนีท้ายเล่ม22 รหสั ระดับผู้ใช้ # ยงั ไม่ได้กาหนดความหมาย 0 ไมใ่ ชส่ ิง่ พิมพป์ ระเภทบันเทิงคดี23 รหัสแสดงรปู แบบของวสั ดุ24-27* รหสั แสดงเน้อื หาของรายการ28 รหสั แสดงระดบั ของสิง่ พมิ พร์ ัฐบาล29* รหัสแสดงประเภทเอกสารการประชมุ30* รหัสแสดงหนังสือทีร่ ะลึก31* รหัสแสดงรายการดรรชนี32 Undefined ยังไม่กาหนด33* รหัสแสดงประเภทของวรรณกรรม

6934 รหสั แสดงประเภทของชีวประวตั ิ # ไมใ่ ชส่ ิ่งพิมพเ์ กีย่ วกบั ชีวประวตั ิ ข้อมูล ความหมายตาแหนง่ ชอ่ื ตาแหนง่ eng # จดั พิมพเ์ ปน็ ภาษาองั กฤษ35-37* รหสั แสดงภาษา d ไมม่ กี ารแก้ไขระเบียน เป็นระเบียนที่ทารายการโดยหน่วยงานไม่ได้38 รหสั แสดงการแก้ไขข้อมูลหรือระเบียน คดั ลอกจากแหลง่ บรรณานุกรมใด ๆ39* รหสั แสดงแหลง่ ทีม่ าของระเบียน*จาเป็นต้องลงรายการบ่อย ๆ หรือพจิ ารณาลงรายการหมายเหตุ- ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปี ใหใ้ ช้ปี ค.ศ. แมท้ รพั ยากรสารสนเทศจะเป็นภาษาไทยที่ใชป้ ี พ.ศ.- ตาแหน่ง 00-05 Date entered = ปี ค.ศ. (ปี/เดือน/วัน) เชน่ 141107 [ปกติระบบขนึ้ ให้]- ตาแหน่ง 07-10 Date 1 และตาแหน่ง 11-14 Date 2 (ถ้ามี) ให้ใส่ปี ค.ศ.- ตาแหน่งที่ 15-17 รหัสประเทศใช้ code ประเทศตาม MARC Code List for Countries- ตาแหน่งที่ 35-37 รหัสแสดงภาษาที่จัดพิมพ์ใช้ code ประเทศตาม MARC Code List forCountries- กรณี 000 เป็น Language material และ Monograph และส่งข้อมลู ไป OCLC ตาแหน่ง 23Form of item ถ้าเป็น e-Book ท่ัวไป ไม่ได้กาจัดว่าเป็นแบบออนไลน์หรือเก็บอยู่ในรูปแบบใด หากจะส่งข้อมูลไปลง OCLC ต้องกาหนดเป็น S-electronic / ตาแหน่ง 24-27 Nature of contents หากส่งข้อมลู ไป OCLC จะถกู นาไปเป็นข้อมูลทา Limit search ด้วย- ตาแหน่งที่ 07-10 Date 1 และตาแหน่ง 15-17 จะตรงกบั ข้อมลู ใน 260การทารายการเขตขอ้ มลู ทว่ั ไป (02X-9XX)ในส่วนนีจ้ ะนาเสนอหลักเกณฑก์ ารทารายการของเขตข้อมูลที่พบเห็นได้โดยท่ัวไป เฉพาะเขตข้อมูล 02X-9XX ที่ศนู ย์บรรณสารและสื่อการศกึ ษา มหาวิทยาลัยพะเยา จาเปน็ ต่อการใช้งานเท่าน้ันซึง่ ข้อมลู ทั่วไปแบ่งเปน็ 4 กลุ่ม คือ (1) กลุ่มเขตขอ้ มูลเกีย่ วกบั เลขและรหัส (2) กลุ่มเขตขอ้ มูลรายการหลกั และรายการเพิ่ม (3) กลุ่มเขตขอ้ มูลบรรณานุกรมอน่ื ๆ และ (4) กลุ่มขอ้ มลู เกี่ยวกบั หัวเรื่อง ซึง่ มีรายละเอียดทีค่ วรทราบดงั นี้

70(1) กลุ่มเขตข้อมูลเกี่ยวกับเลขและรหัส (Number of Code-General Information) เป็นเขตข้อมูลที่เป็นเลขมาตรฐานต่าง ๆ เช่น เลขหมู่หนังสือ รหัส และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระเบียนได้แก่ เขตข้อมูล 010-09X เขตข้อมลู ที่เกี่ยวข้องกับหนังสอื /เอกสาร และที่จาเป็นต่อการดาเนินงานTag 020 International Standard Book Number (R)เขตข้อมลู เลขมาตรฐานสากลของหนังสอื ใชบ้ นั ทึกเลข ISBN ซึง่ อาจมีหลายเลขได้ในกรณีทีม่ ีต่างฉบบั พิมพ์ เช่น ฉบบั ปกแข็งหรอื ปกอ่อน เปน็ ต้น ประกอบด้วยตัวบ่งชีท้ ี่ 1, 2 ไม่ระบุ ให้เว้นวา่ งไว้ทั้งสองตาแหน่งเขตข้อมูลย่อย $a เลข ISBN รวมท้ังขอ้ มลู อื่นทีเ่ กี่ยวข้อง เช่น สานกั พิมพ์ ปีที่ ฉบบั ที่ $c รายละเอียดเกีย่ วกบั การจดั หา บ่งบอกถึงการได้มา เชน่ ราคา $z เลข ISBN ทีถ่ ูกยกเลกิ หรือไม่ถกู ต้องตวั อยา่ งเชน่020 ##$a9787561940686 [กรณีทีไ่ ม่ทราบราคาหนังสือ]*020 ##$a9787561940686$c700 [กรณีทีท่ ราบราคาหนังสอื ]*ตามทีไ่ ด้ตกลงกนั ใหใ้ ส่ราคาหนังสือทีห่ น้า itemsหนงั สือภาษาอังกฤษ 1000 บาทหนังสือภาษาไทย (หนา) 500 บาทหนังสือภาษาไทย (บาง) 250 บาทหนังสือรับบริจาค 250 บาทวิทยานิพนธ์/วิจัย 500 บาทหมายเหตุ- ISBN หากมีตัวอักษรเอกซ์ (X) ให้ใชต้ ัวพิมพ์ใหญ่- ISBN ลงรายการโดยไม่ต้องมี “-” คั่น- ถ้า ISBN มีน้อยกว่าหรือมากกว่า 13 หรือ 10 หลักให้ใช้ $z นาหน้า (ระบบอาจค้นหาไม่ได้ เพราะไม่ได้ index)

71Tag 041 Language code (NR)เขตข้อมูลรหัสภาษา ระบุอักษร 3 ตัว (เท่าน้ัน) ที่ใช้แทนภาษาของวัสดุนั้น ใช้เม่ือเขตข้อมูล008/35-37 (ภาษา) ไม่สามารถบันทึกได้หมด หรือสื่อความหมายได้ไม่ชัดเจนพอ รวมไปถึงกรณีที่วัสดุน้ันมีหลายภาษา หรือสิ่งพิมพ์ที่ได้รับการแปลและสิ่งพิมพ์ที่สื่อความหมายออกมาเป็นภาษาสัญลักษณ์ เขตข้อมูล 041 จะใช้ได้ในกรณี (1) รายการนั้นมีภาษามากกว่า 1 ภาษา (2) รายการน้ันเป็นฉบับแปลหรือรวมภาษาที่แปลมา (3) ภาษาของเร่ืองย่อ สาระสังเขป หรือเอกสารประกอบอื่นแตกต่างจากภาษาของเน้ือหาหลัก และ (4) ภาษาของสารบัญแตกต่างจากภาษาของเน้ือหาหลักหากไม่ทราบรหัสภาษาให้ดูที่ 008 ตาแหน่งที่ 35-37 หรือ MARC Code List for Languages [ปกติแล้วการดึงข้อมลู ภาษาจะดึงจาก 008 ตาแหน่งที่ 35-37 แต่เน่ืองจาก EDS ดึงข้อมูลจาก 008 ไม่ได้จงึ ตอ้ งเพิ่มเขตข้อมลู นีท้ กุ ระเบียน]ตวั บ่งชี้ 1 ตวั บ่งชีเ้ กีย่ วกับการแปล (Translation Indicator) มีรหสั ดังนี้0 รายการนั้นไม่ใชฉ่ บบั แปล/ไม่มีการแปล1 รายการนั้นเปน็ ฉบับแปล/มีการแปลตวั บ่งชี้ 2 ไม่ระบุเขตข้อมูลย่อย $a รหัสภาษาของตัวเน้ือหา/แถบบนั ทึกเสียง/ชื่อเรอ่ื ง ใช้บนั ทึกรหสั ภาษาของวัสดุที่กาลังทารายการ จะเปน็ รหัสเดียวกับรหัสทีป่ รากฏใน 008/35-37 $b รหสั ภาษาของเร่อื งย่อหรอื สาระสังเขป หรอื ชื่อเรือ่ งย่อย $f รหัสภาษาที่ปรากฏในหน้าสารบัญ $h รหสั ภาษาสาหรับบทความที่ได้รับการแปลตวั อยา่ งเช่นกรณีไม่ใช้ฉบับแปล/ไม่มีการแปล041 0#$atha [เนือ้ หาเปน็ ภาษาไทย]041 0#$atha$aeng [เนือ้ หาเป็นภาษาไทยและภาษาองั กฤษ]041 0#$atha$bfre [เนือ้ หาเปน็ ภาษาไทย สาระสังเขปเปน็ ภาษาฝรงั่ เศส]041 0#$atha$beng [เนือ้ หาเป็นภาษาไทย สาระสงั เขปเป็นภาษาอังกฤษ]

72 กรณีเป็นฉบบั แปล/มีการแปล 041 1#$atha$hchi [เนือ้ หาเป็นภาษาไทย แปลมาจากภาษาจนี ]หมายเหตุ - รหสั ทีบ่ ันทึกในเขตข้อมูล 008/35-37 ใช้รหัสที่ 1 ของเขตข้อมูลย่อย $a ของเขตข้อมลู041 เสมอ - ในกรณีที่มภี าษาหลายภาษาให้ลงลาดบั จากความมากน้อยของเน้ือหาในแต่ละภาษา ถ้ามีมากกว่า 6 ภาษาให้ใช้ภาที่ปรากฏในชื่อเร่อื งแทน หรอื จะลง mul กไ็ ด้Tag 050 Library of Congress Call Number (R) เลขเรียกหนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (LC) ใช้บันทึกเลขเรียกหนังสือระบบหอสมุดรฐั สภาอเมริกนั ท้ังที่กาหนดโดย LC อย่างสมบรู ณ์ หรอื กาหนดโดยหนว่ ยงานอน่ื ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 1 ระบวุ ่าเป็นเลขหมู่ทีเ่ กีย่ วข้องหรอื กาหนดโดย LC หรอื ไม่ ประกอบด้วยรหสั # กรณีทีไ่ ม่ทราบว่ารายการน้ีอยู่ใน LC collection หรอื ไม่ ไม่มขี ้อมูลมาให้ 0 เลขหมู่น้กี าหนดโดย LC และมีรายการอยู่ใน LC collection 1 เลขหมู่น้ไี ม่ได้จัดหมวดหมใู่ น LC ตวั บ่งชี้ 2 ระบุแหล่งที่กาหนดเลขหมู่ขึ้นว่าเป็น LC หรือหน่วยงานอื่น ประกอบด้วยรหสั 0 กาหนดเลขตามระบบ LC 4 กาหนดตามหอ้ งสมดุ หรือหน่วยงานอื่นที่นอกเหนอื จาก LC เขตข้อมูลย่อย $a Classification Number เลขหมู่หนังสอื $b Item number เลขประจารายการ ใช้บันทึกเลขประจารายการ เช่น เลขผู้แตง่ ปีพิมพ์ตัวอย่างเช่น 050 #4$aAC 159$bส769พ 2558 050 #4$aB 765$bส868น 2546 050 #4$aCT 1536$bม843บ 2543 050 #4$aDS 588.N6$bส349ก 2557

73 050 #4$aE 178$bน273ก 2559 050 #4$aF 128.18$bภ333อ 2553 050 #4$aGT 5150$bว694ต 2549 050 #4$aHV 6722.T5$bก919 2559 050 #4$aJF 1525.P67$bค183ก 2553 050 #4$aKTP 2720$bจ492ค 2556 050 #4$aLB 1025.3$bท512ศ 2559 050 #4$aMT 733.$bน927 2558 050 #4$aNK 2195.S89$bท374จ 2559 050 #4$aPL 1129.T5$bก365ภ 2559 050 #4$aZ 674.4$bก436 2553หมายเหตุ - การหาเลขเรียกหนงั สอื ให้พิจารณาให้รอบครอบว่าตรงกบั เนือ้ หาและหวั เรือ่ งหรอื ไม่ - การหาเลขเรียกผู้แต่งให้พิจาณาเลขที่ใกล้เคียงกับชื่อผู้แต่งมากที่สุด [ภาษาไทยใช้ตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยสาเร็จรูปของหอสมุดแห่งชาติ ส่วนภาษาอังกฤษใช้ตารางเลขผู้แต่งCutter-Sanborn] - เลขเรียกผู้แต่งภาษาองั กฤษที่มี 2 หลกั ประกอบด้วย E, I, J, K, O, U, Y และ Z - เลขเรียกผู้แต่งภาษาอังกฤษที่มี 1 หลกั ประกอบด้วย Q และ X (2) กลุ่มเขตข้อมูลของรายการหลักและรายการเพิ่ม ในการทารายการปญั หาทีพ่ บคือ มักจะตัดสินใจไม่ได้ว่ารายการใดจะเป็นรายการหลัก (Main Entry) และเม่ือใดที่จะต้องวิเคราะห์ รายการเพิ่ม (Analytical Added Entry) สาหรับสืบค้นสื่อสารสนเทศแต่ละประเภท เช่น ชื่อผู้แต่งในกรณีที่เปน็บทเพลงจะเลือกรายการหลักที่ผู้แต่งเพลงหรือนักร้อง หากเลือกผู้แต่งเพลงเป็นรายการหลักก็ควรทารายการเพิ่มให้กับนักร้องด้วย หรือในกรณีที่เป็นเอกสารการประชุมหากใช้ชื่อการประชุมเป็นรายการหลัก ก็ควรทารายเพิ่มให้กับชื่อของเอกสารด้วย เขตข้อมูลรายการหลักและรายการเพิ่มที่สาคญั สรุปได้ดังตารางที่ 3 ดงั น้ี

74ตาราง 3 สรปุ กลมุ่ เขตข้อมูลรายการหลักและรายการเพิม่ รายการหลัก รายการเพิม่ชือ่ บุคคล 100 (NR) 700 (R)ชื่อนิตบิ คุ คล 110 (NR) 710 (R)ชือ่ การประชมุ 111 (NR) 711 (R)ชือ่ เรอ่ื งแบบฉบบั 130 (NR) 240 (R), 730 (R) รายการหลัก รายการเพิ่มชื่อเรอ่ื ง 245 (NR) 246 (R), 505 (#t R), 740 (R)ชื่อชดุ 490 (R), 800, 810, 811, 830 (NR)ส่วนรายละเอียดของเขตข้อมูลรายการหลกั และรายการเพิ่มมดี งั น้ีTag 100 Main entry-Personal name (NR)รายการหลักที่เป็นชื่อบุคคล ใช้บันทึกชื่อบุคคลที่เป็นรายการหลัก มักจะเป็นผู้แต่งคนแรกหรอื ผเู้ ขียนเท่าน้ัน (ไม่รวมผู้แปล) ประกอบด้วยตวั บ่งชี้ 1 รหสั ระบปุ ระเภทของชือ่ บุคคล (Type of personal name entry element)0 ชื่อต้น (Forename) กรณีคนไทย1 ชือ่ สกุลทีเ่ ป็นคาเดีย่ ว (Single Surname) คนต่างชาติ มักกาหนดเป็น 1 เสมอ2 ชื่อสกลุ ทีม่ หี ลายคาหรอื เปน็ คาผสม (Multiple Surname) เชน่ El-Abiad3 ชื่อวงศ์ตระกูล (Family name) หมายถึง ชื่อเผ่าพันธุ์ ราชวงศ์ และกลุ่มอื่น ๆซึง่ อาจมโี ครงสรา้ งแบบกลับคา หรอื ลงตามลาดบั ข้อความทีป่ รากฏได้ตัวบ่งชี้ 2 ไม่ระบุเขตข้อมลู ย่อย $a ชือ่ บุคคล (Personal name) (NR) $b ตัวเลขโรมนั ที่ตามหลังชื่อต้น (Numeration) (NR) $c ตาแหนง่ ยศ บรรดาศักดิ์ และอ่ืน ๆ (R) $d ปีที่สมั พนั ธ์กับชือ่ ส่วนใหญ่เป็นปีเกิด ปีตาย $e คาที่บอกความสมั พันธ์ระหว่างงานกับบุคคล เช่น ผู้รวบรวม $f ปีทีพ่ ิมพ์หรือปีทีจ่ ัดทา

75 $g ข้อมูลย่อยอ่ืน ๆ $k หวั เรื่องย่อยของรปู แบบ $l ภาษาของงาน $n เลขส่วนหรอื ตอนของงาน $p ชือ่ สว่ นหรอื ชือ่ ตอนของงาน $q ชื่อเต็ม (Fuller form of name) $t ชือ่ ผลงานตวั อยา่ งเช่น 100 0#$aวิมล เจียมเจรญิ 100 0#$aทมยนั ตี 100 0#$aพระโพธญาณเถร$q(ชา สุภทั โท) 100 0#$aเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี,$cสมเดจ็ พระ,$dพ.ศ. 2498- 100 1#$aซิเงโนะ, มิเอะ 100 1#$aเหยิน, จ่งิ เหวิน 100 1#$aไอซ,์ กุนเทอร์,$dค.ศ. 1907-1972 100 1#$aดูลีย์, ธอมสั แอนโทนี่ 100 1#$aยงั , เจฟฟรี เอส,$dค.ศ. 1952-หมายเหตุ - ช่องว่างระหว่างชือ่ ตวั กบั ชื่อสกลุ วรรคหน่ึง - ผแู้ ตง่ ไม่เกิน 3 คน ไม่มกี ารระบุผรู้ ับผิดชอบหลักอย่างชัดเจนให้ลงรายการหลักทีช่ ื่อแรกปรากฏ และชื่ออื่น ๆ ให้เปน็ รายการเพิ่ม - ผแู้ ต่งมากกว่า 3 คน รายการหลกั ไม่ลงรายการ ให้ลงรายการเพิ่ม เฉพาะคนแรกเท่าน้ัน - บรรณาธิการ, ผรู้ วบรวบ, ผเู้ รียบเรียง หรือบุคคลทีไ่ ม่ใชผ่ แู้ ต่ง รายการหลักไม่ลงรายการให้ลงรายการเพิ่ม - ผแู้ ตง่ ชาวไทยเสียชวี ิตแล้วไม่ต้องใส่ปีเกิด-ปีตาย

76 - ผแู้ ต่งชาวไทยไม่ต้องใส่ปีเกิด-ปีตาย ยกเว้น พระบรมวงศานุวงศใ์ ห้ใส่ปีพระราชสมภพด้วยเสมอ - ชือ่ ชาวตา่ งประเทศถ้าลงเป็นภาษาไทยและมีปีเกิด-ปีตายใหใ้ ส่ ค.ศ. ดว้ ย - ชือ่ ชาวตา่ งประเทศมกั มีการใส่ขอ้ มูลปีเกิด-ปีตาย เนือ่ งจากช่อื ชาวต่างประเทศมักมีชือ่ซ้ากนั เยอะ การลงปีเกิด-ปีตายจะช่วยแยกได้วา่ เป็นบุคคลเดียวกันหรอื คนละคน - ชื่อชาวตา่ งประเทศ ถ้าลงเป็นภาษาไทยและในตวั เล่มให้ข้อมูลเป็นตวั ย่อของชื่อ ให้หาข้อมูลชื่อเต็ม แล้วลงชื่อเตม็ - ชื่อชาวญีป่ ุ่น จีน เกาหลี เอาชือ่ สกุลหรอื แซ่ขนึ้ ก่อน - พระ แม่ชี ภิกษณุ ี สามเณร ลงตรงตัวไปเลยไม่ต้องกลับคา - ผแู้ ตง่ ทีใ่ ช้นามแฝง นามปากกา ใหล้ งตามที่ปรากฏTag 110 Corporate Name-General Information (NR) รายการหลักที่เป็นชื่อนิติบุคคล ใช้บันทึกชื่อนิติบุคคลที่เป็นรายการหลัก ข้อมูลเกี่ยวกับนิติบคุ คลมีดงั น้ี ตวั บ่งชี้ 1 รหัสประเภทของชื่อนิตบิ คุ คล ประกอบด้วย 0 ชื่อที่กลับคา เชน่ มหาดไทย, กระทรวง 1 ชื่อที่ตงั้ ข้ึนตามกฎหมาย (Jurisdiction Name) 2 ชือ่ ตามลาดับ (Name in Direct Order) ตวั บ่งชี้ 2 ไม่ระบุ เขตข้อมูลย่อย $a ชื่อหน่วยงานหรอื ชื่อตามกฎหมาย (NR) $b ชือ่ หน่วยงานรอง (R) $c สถานทีจ่ ัดประชุม (NR) $d ปีทีจ่ ดั การประชมุ หรอื ปีทีร่ ่วมลงนามในสนธิสัญญา $e คาที่แสดงความสมั พนั ธ์ระหว่างนติ ิบุคคลกับงาน (R) $f ปีทีพ่ ิมพ์หรอื ปีทีจ่ ดั ทา $g ข้อมลู ย่อยของรูปแบบ

77 $k หัวเรือ่ งย่อยของรปู แบบ $l ภาษาของงาน $n เลขลาดับตอน/ส่วนของการประชุม $p ชือ่ สว่ นหรอื ตอนการประชมุ $t ชื่อผลงานคาอธิบาย ชื่อนิติบุคคลหรือหน่วยงาน ถึงแม้จะเป็นหน่วยงานย่อย ถ้าไม่ซ้ากับใครให้ลงตรง ไม่ต้องขึ้นต้นที่หน่วยงานใหญ่ต้นสังกัด เช่น กรมควบคุมโรค ไม่ต้องลงว่า กระทรวงสาธารณสุข.$bกรมควบคุมโรค กรณขี องมหาวิทยาลัย ให้ลงข้ึนตน้ ที่ช่ือมหาวิทยาลัยเสมอ เช่น จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.$bคณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .$bภาควิชาภาษาตะวันออก จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .$bสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น ถ้าชื่อภาควิชาซ้ากันในมหาวิทยาลัยเดียวกัน ตอ้ งลงชือ่ คณะดว้ ย เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .$bคณะทนั ตแพทยศาสตร์.$bภาควิชาจุลชีววิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.$bคณะแพทยศาสตร์.$bภาควิชาจลุ ชีววิทยา จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.$bคณะวทิ ยาศาสตร์.$bภาควิชาจุลชีววิทยา จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .$bคณะสตั วแพทยศาสตร์.$bภาควิชาจุลชีววิทยา ยกเว้น ชือ่ มหาวิทยาลัยเป็นส่วนหนึง่ ของชื่อหนว่ ยงานย่อย ให้ลงตรงได้ เช่น โรงเรียนสาธิตแหง่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศนู ย์ยโุ รปแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั สานักพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย การลงชื่อบริษัท บริษทั เอ บี ซี [ถ้าเป็นชื่อแบบตวั ย่อ วรรคได้] บริษทั การบินไทย [ถ้าเป็นชื่อบริษทั ลกั ษณะนี้ ไม่ตอ้ งวรรคหลังคาว่าบริษัท]

78 ไม่ต้องมีวงเล็บชื่อหน่วยงานเป็นภาษาอังกฤษ (หากชื่อหน่วยงานแบบทางการไม่มีวงเล็บชื่อหนว่ ยงานภาษาอังกฤษ)ตัวอยา่ งเชน่ รายการหลักทีเ่ ป็นชอ่ื นิตบิ ุคคลภาษาไทย 110 2#$aมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์.$bคณะเศรษฐศาสตร์ 110 2#$aสมาคมหอ้ งสมุดแหง่ ประเทศไทย 110 2#$aบริษทั ไทยเบฟเวอเรจ 110 2#$aกรมสรรพากร 110 2#$aโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 110 2#$aมหาวิทยาลยั พะเยาหมายเหตุ - เน้ือหาต้องเป็นเร่ืองเกี่ยวกับหน่วยงานน้ัน จึงจะเอาชื่อหน่วยงานมาลง 110 ได้ เช่นรายงานประจาปี สถิตขิ องหน่วยงาน ประวัติของหนว่ ยงาน ฯลฯ - คาตอ่ ท้าย เช่น จากัด / จากัด มหาชน (องค์การมหาชน) ฯลฯ ไม่ต้องใส่ - ถ้ามี ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรอื ลักษณะดังกล่าว ตดั ออกได้เลย ไม่ต้องใส่Tag 111 Meeting Names-General Information (NR) รายการหลักที่เปน็ ช่อื การประชุม เป็นเขตข้อมูลเกีย่ วกบั ชือ่ การประชุมทีไ่ ม่มีชือ่ หน่วยงานเป็นส่วนหนึ่งของชื่อการประชุม ให้ลงเขตข้อมูลเกี่ยวกับชื่อการประชุม ให้ลงเขตข้อมูลเกี่ยวกับชื่อการประชมุ ดังน้ี ตัวบ่งชี้ 1 รหัสประเภทของการประชมุ ประกอบด้วย 0 ชื่อการประชุมทีก่ ลับคา 1 ชื่อการประชุมทีถ่ ูกต้องตามกฎหมาย 2 ชือ่ การประชุมจริงตามตัวอักษร (ลงรายการตามลาดบั ที่ปรากฏจริง) ตัวบ่งชี้ 2 ไม่ระบุ เขตข้อมูลย่อย $a ชือ่ การประชมุ หรอื ชื่อตามกฎหมาย (NR) $c สถานที่จัดประชุม (NR)

79 $d ปีทีป่ ระชมุ (NR) $e ชื่อการประชมุ ย่อยหรอื ชื่อหน่วยงานรอง (R) $f ปีที่พิมพ์หรอื ปีทีจ่ ดั ทา $g ข้อมลู ย่อยอื่น ๆ $k หวั เรื่องย่อยของรปู แบบ $l ภาษาของงาน $n เลขของตอน/ส่วนของงาน/ครงั้ ที่ประชุม (R) $p ชื่อสว่ นหรอื ตอนของการประชมุ $q ชือ่ ของการประชมุ ทีต่ ามด้วยชอ่ื ตามกฎหมาย $t ชื่อผลงานส่วนที่ 1 ชื่อการประชมุ /สัมมนา -- ส่วนที่ 2 คร้ังที่ -- ส่วนที่ 3 ปีที่จดั -- ส่วนที่ 4 สถานที่จดัตวั อยา่ งเช่น 111 2#$aการประชมุ วิชาการเรื่องนทิ ราชาคริต$d(2546 :$cจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย) 111 2#$aการประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ$n(ครั้งที่ 5:$d2547 :$cกรงุ เทพฯ) 111 2#$aการสมั มนาจรยิ ธรรมนักกฎหมาย$d(2528 :$cจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) 111 2#$aการสัมมนาเรื่องการพัฒนาคุณภาพบณั ฑิตศกึ ษา$d(2547 :$cกรงุ เทพฯ)หมายเหตุ - ถ้ามีชือ่ โรงแรม และจังหวดั ที่จัดใหใ้ ส่เฉพาะชือ่ จงั หวัด - ถ้าเป็นมหาวิทยาลยั ใหใ้ ส่ชื่อมหาวิทยาลยั - ถ้าจดั ในสถานที่ที่เปน็ หน่วยงานราชการอน่ื ๆ ที่ไม่ใช่มหาวิทยาลัยใหใ้ ส่เฉพาะชื่อจังหวดั - ไม่ต้องเว้นวรรคในชือ่ การประชุม ใหพ้ ิมพ์ติดกันไปเลย - หากมีเครื่องหมายคาพูด “ ” ไม่ต้องลงTag 130 Main entry-Uniform title (NR) รายการหลักที่เป็นชื่อเร่ืองแบบฉบับ เป็นเขตข้อมูลเกี่ยวกับชื่อเร่ืองแบบฉบับ (หมายถึงกาหนดขึ้นเพื่อเป็นมาตรฐานของชื่อเร่ือง สาหรับหนังสือที่อาจมี

80ชื่อที่หลากหลาย ซึ่งอาจเกิดปัญหาต่อการสืบค้นภายหลังได้ เช่น สามก๊ก, รามเกียรติ์ ฯลฯ) ไม่ค่อยได้พบบ่อยนัก สาหรับเขตข้อมลู นี้ ตัวบ่งชี้ 1 อักขระทีไ่ ม่นับในการจดั เรียงอักษร (Non-filing characters) 0-9 ระบุจานวนอักขระทีไ่ ม่นบั ในการจัดเรียงอกั ษร ตวั บ่งชี้ 2 ไม่ระบุ เขตข้อมูลย่อย $a ชื่อเร่อื งแบบฉบบั (Uniform title) $d ปีทีล่ งสนธิสญั ญา $f ปีทีพ่ ิมพ์หรอื ปีที่จัดทา (Date of a work) $g ข้อมลู ย่อยอืน่ ๆ $h สื่อ $k หวั เรื่องย่อยของรูปแบบ $l ภาษาของงาน $m สือ่ ทีใ่ ชใ้ นการแสดงทางดนตรี $n เลขลาดับตอน/ส่วนของงาน $o การเรียบเรียงทางดนตรี $p ชื่อสว่ นหรอื ตอนของงาน $r โน๊ตเพลง $s ฉบบั พิมพ์ (Version) $t ชื่อผลงานตัวอยา่ งเชน่ 130 0#$aชาดก 130 0#$aสามก๊ก 130 0#$aรามเกียรต์ิ 130 0#$aขนุ ช้างขนุ แผน 130 0#$aอิเหนา

81หมายเหตุ - หากลง 130 เขตข้อมูล 245 indicator 1 และ 2 ลง 10 และใช้อักษรตัวแรกของ 130เป็นเลขเรียก เช่น ช555, ร444 ฯลฯ หากเป็นหนังสือภาษาอังกฤษ จานวนอักขระที่ไม่ต้องการให้นาไปเรียง A, An, The ตวั บ่งชี้ 2 ต้องเปน็ 2, 3, 4 ตามลาดับTag 245 Title Statement (NR) รายการชื่อเร่อื ง ใช้บันทึกชอ่ื เรื่องและผรู้ บั ผิดชอบ ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 1 ระบุว่าควรทารายการเพิ่มชื่อเร่ืองหรือไม่ ควรนาชื่อเร่ืองไปทาเป็นดรรชนีหรอื ไม่ 0 ไม่ทารายการเพิ่มชื่อเร่ือง ใช้ในกรณีที่ไม่มีรายการหลักในเขตข้อมูล 1XX ลงรายการหลักที่ชือ่ เรอ่ื งอยู่แล้ว จงึ ไม่ทารายการเพิ่มให้กับชือ่ เร่อื งอกี 1 ทารายการเพิ่มให้กับชื่อเร่ืองด้วย ถ้ามีรายการผู้แต่งในเขตข้อมูล 1XX แล้วเขตข้อมูล 245 นีจ้ ะใช้ตัวบ่งชี้ 1 เสมอ ตวั บ่งชี้ 2 จานวนอกั ขระที่ไม่ต้องการให้นาไปเรียงลาดบั 0 ไม่มอี กั ขระทีไ่ ม่ต้องการให้เรยี ง 1-9 จานวนอกั ขระทีไ่ ม่ต้องการให้นาไปเรียง เชน่ The, An, A, etc. เขตข้อมลู ย่อย $a ชื่อเร่ือง (NR) ไม่รวมเลขลาดับหรือชื่อตอน/ส่วน ถ้ามีหลายชื่อเร่ืองจะใส่ชื่อเรอ่ื งที่ 1 $b ข้อมูลส่วนอื่น ๆ ของชื่อเร่ือง เช่น ชื่อเร่ืองเทียบเคียง (ภาษาอื่น) ชื่อเร่ืองย่อย และข้อมูลอน่ื (Remainder of title ex. subtitles, etc.) $c บันทึกความรับผิดชอบของผู้รับผิดชอบคนที่ 1 และ/หรือข้อมูลอื่น ๆ ที่เหลือซึ่งไม่ได้ลงในเขตข้อมูลย่อยอืน่ ๆ (Statement of responsibility) $f ปีทีค่ รอบคลุม $g ปีทีส่ าคญั $h สื่อ (Medium) ใช้บันทึกสื่อ โดยใส่ไว้ในวงเล็บเหลี่ยม [Medium] มักจะใช้กับสื่อไมต่ ีพมิ พ์มากกว่า (Non-book media) โดยลงรายการตอ่ จาก $a $n และ $p $k รปู แบบ

82 $l ภาษาของงาน $n เลขลาดับตอน/ส่วนของงาน (R) ใช้บันทึกเลขที่ของตอนหรือส่วนที่อยู่ในชือ่ เรอ่ื ง ให้ลงท้ายด้วยเครือ่ งหมาย . เสมอ ถ้ามีหลายเลขทีห่ รอื ตอนให้ระบุไว้ใน $n เดียวกันได้เลย $p ชื่อส่วนหรือชื่อของงาน Name of part/section of a work (R) ใช้บันทึกชื่อของตอน/ส่วนในชื่อเร่ือง โดยลงท้ายด้วยเคร่ืองหมาย . เสมอ จะต้องมีเขตข้อมูล $a นาหน้าด้วยให้ค่ันด้วยเครือ่ งหมาย , ก่อนใส่ชือ่ ของตอนและสว่ น $s ฉบับพิมพ์ใชบ้ นั ทึกชื่อฉบบั (Version)ตัวอยา่ งเชน่ 245 00$aการบัญชีการเงิน =$bFinancial accounting /$cเสนีย์ พวงยาณี ... [และคนอน่ื ๆ] 245 10$aธัมมิกประชาธิปไตย :$bประชาธิปไตยในกากับของพุทธจริยธรรม = Buddhistdemocracy /$cว.วชริ เมธี 245 10$aกฎหมายสือ่ สารมวลชน /$cพิศษิ ฐ์ ชวาลาธวัชหมายเหตุ - ลงชื่อเร่ืองที่เหมาะสม (Title proper) ตามปกใน ถ้าไม่มีให้ลงชื่อที่เหมาะสม ตามปกนอกและแหลง่ อน่ื ๆ - หากมีข้อมูลผู้แต่งบอกว่า คณาจารย์สาขาวิชา..... แต่ง หรือกลุ่มคนที่ไม่ได้เปน็ นิตบิ คุ คลเชน่ ทีมวชิ าการ... ใหล้ งใน 245 $c ลงใน 110 และ 710 ไม่ได้ เพราะไม่ถือว่าเปน็ นิติบคุ คล - จานวนอักขระที่ไม่ต้องการให้นาไปเรียง A, An, The ตัวบ่งชี้ 2 ต้องเป็น 2, 3, 4ตามลาดับ นอกจากนี้ยังมีภาษาฝรั่งเศสที่ใช้ L’ ตัวบ่งชี้ 2 ต้องเป็น 2 และ La, Le ตัวบ่งชี้ 2 ต้องเป็น3 - นาคาวา่ รายงานวิจยั ไว้ด้านหลังเพือ่ ป้องกันปัญหาการเช็คซ้าของระบบ - $b ปรากฏได้คร้ังเดียวใน 245 (Non repeatable - NR) - ชื่อเรอ่ื งภาษาจนี ญีป่ ุ่น เกาหลี หรอื อื่น ๆ ลงเป็น Romanized - เลขไทยใหแ้ ปลงเป็นเลขอารบิก แล้วใส่ชือ่ เร่อื งทีเ่ ป็นเลขไทยใน 246 - ชื่อเร่ืองเทียบเคียง ต้องเป็นภาษาที่ต่างกัน ถึงใช้ = ได้ และความหมายต้องเหมือนกันท้ังสองขา้ ง

83 - หนังสือภาษาไทยที่มีชื่อเร่ืองเทียบเคียงเป็นภาษาอังกฤษต้องตรวจสอบตัวพิมพ์เล็กตวั พิมพ์ใหญ่ให้ถกู ต้อง - ชื่อเร่ืองที่อยู่หลัง : ไม่จาเป็นต้องเพิ่มที่ 246 เสมอไป ควรพิจารณาว่าชื่อเร่ืองน้ันเหมาะสมที่จะใช้สาหรับสืบค้นได้หรือไม่ - ชื่อเร่อื งของรายงานการวิจัย การประชุม การสัมมนา ให้ใชช้ ื่อเร่อื งที่สื่อ เชน่ พัฒนาการและทิศทางของ E-Learning ในประเทศไทย :$bรายงานการวิจัยเทคโนโลยีกับสถาปตั ยกรรม : การประชุมทางวชิ าการ 21-22 เมษายน 2531 ณ ห้องรีเจนซี่ ชั้น 4 เซ็นทรัลพลาซ่า ปฏิรูปตารวจ ประชาชนได้อะไร :$bรายงานการสมั มนา วนั พธุ ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2550ณ โรงแรมอมารีวอเตอรเ์ กต กรุงเทพฯTag 246 Varying form of title (R) รูปแบบชือ่ เรอ่ื งทีแ่ ตกต่างจากชื่อเรื่องหลกั ใช้บันทึกชอ่ื เรื่องต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เชน่ ชื่อเร่อื งที่2 หรือ 3 หลักจากระบุชื่อเร่ืองที่ 1 ใน 245 แล้ว ชื่อเร่ืองที่ปรากฏบนปกนอก ชื่อเร่ืองที่ปรากฏบนกล่องซีดีรอม ซึ่งชื่อเร่ืองเหล่านี้อาจไม่เหมือนกับรายการชื่อเร่ืองหลัก (245) ชื่อเร่ืองในเขตข้อมูลนี้จะต้องมีความสาคญั พอ ๆ กับชือ่ เร่อื งใน 245 จะทาให้ผู้ใชส้ ามารถสืบค้นชื่อเร่อื งได้มากกว่า 1 ชื่อ ตัวบ่งชี้ 1 ระบุรายการเพิ่มชื่อเร่ือง (Note/title added entry controller) เป็นค่าแสดงให้ทราบว่ามีการทารายการในหมายเหตุ ($l) หรือมีการทารายการเพิ่มให้กับชื่อเร่ืองหรือไม่ ควรนาชื่อเรือ่ งไปทาเปน็ ดรรชนีหรอื ไม่ ประกอบด้วย 0 ไม่มีรายการเพิ่มชื่อเร่ือง แต่มีรายการหมายเหตุใน $l ด้วย (Note, titleadded entry) 1 มีรายการเพิ่มให้กบั ชือ่ เร่อื งและมีรายการหมายเหตุใน $l ด้วย 2 ไม่มรี ายการเพิ่มชือ่ เรอ่ื ง และไม่มรี ายการหมายเหตุใน $l 3 มีรายการเพิ่มชื่อเร่ือง แต่ไม่มีรายการหมายเหตุใน $l (No note, title addedentry) ตวั บ่งชี้ 2 ระบุประเภทชื่อเร่ือง (Type of title) เป็นค่าที่แสดงประเภทของชื่อเร่ืองประกอบด้วย

84 # ไม่มขี ้อมูลระบุว่าเป็นชื่อเร่ืองประเภทใด (No information provided) โดยมากเปน็ ชื่อเร่อื งทีไ่ ม่ปรากฏในตัวเล่ม 0 ชื่อเร่ืองที่ใช้ในการค้น (Portion title) ชื่อเร่ืองใน 246 เป็นส่วนหนึ่งของชื่อเรือ่ งใน 245 1 ชือ่ เร่อื งเทียบเคียง (Parallel title) ชือ่ เร่อื งใน 246 เป็นชือ่ เร่ืองเทียบเคียง เชน่ชื่อเรอ่ื งในภาษาอื่น ๆ ทีต่ อ้ งการใหส้ ืบค้นเพิม่ เติม สามารถลงได้มากกว่า 1 ชื่อเรอ่ื ง 2 ชือ่ เร่อื งที่แตกต่างจากชื่อเร่ืองอ่นื 3 ชือ่ เรอ่ื งอ่ืน 4 ชื่อเร่ืองจากปก (Cover title) ชื่อเร่ืองใน 246 เป็นชื่อเร่ืองที่ได้จากปกนอกหรอื ชื่อเร่อื งทีไ่ ด้จากทีอ่ น่ื ๆ ไม่ใช่จาก chief sources 5 ชื่อเร่อื งเพิ่มเติมทีป่ รากฏในหน้าปกใน 6 ชื่อเรอ่ื งนาเนือ้ เรื่อง 7 ชื่อเรอ่ื งประจาหนา้ 8 ชื่อเร่อื งทีส่ นั ปก (Spine title) ชื่อเรอ่ื งใน 246 เปน็ ชือ่ เรอ่ื งทีไ่ ด้จากสันหนังสือซึง่ สานักพิมพ์เป็นผจู้ ัดทา เขตข้อมูลย่อย เหมอื นกบั เขตข้อมลู 245 ประกอบด้วย $a ชื่อเร่อื งหลกั /ชือ่ เรอ่ื งสน้ั ๆ ทีแ่ ตกต่างจาก 245 $b ข้อมลู อ่นื ๆ ของชื่อเรอ่ื ง $f การกาหนดปีที่ ฉบับที่ และ/หรือ ปีที่พิมพ์ของงาน สาหรับลงรายการที่เปน็ ปีของปีทีฉ่ บบั ทีก่ รณีเปน็ สิง่ พิมพต์ ่อเนอ่ื ง รายงานประจาปี $g ข้อมลู อน่ื ๆ ของชือ่ เรอ่ื ง สาหรบั ลงรายการข้อมลู อ่ืน ๆ ที่ไม่เหมาะสมกับเขตข้อมลู ใด แตต่ ้องการให้ปรากฏ $i ข้อความที่แสดง (Display text) สาหรับบันทึกข้อความอธิบายหรือหมายเหตุ เพื่อบอกว่าข้อมูลใน 246 นี้เป็นข้อมูลมากจากส่วนใด โดยจะต้องปรากฏก่อน $a เสมอและจะต้องระบตุ ัวบ่งชี้ 2 เปน็ #

85 $n เลขส่วน/เลขตอนของงาน $p ชื่อสว่ น/ชื่อตอนของงานตวั อยา่ งเชน่ 245 00$aการบัญชีการเงิน =$bFinancial accounting /$cเสนีย์ พวงยาณี ... [และคนอื่นๆ] 246 31$aFinancial accounting 245 10$aทางออกชวี ิต =$bExit for life /$cสราวฒุ ิ สิงห์ลา 246 31$aExit for life 245 10$a7 กฎด้านจติ วิญญาณเพือ่ ความสาเร็จ /$cดีพคั โชปรา 246 3#$aเจ็ดกฎด้านจิตวิญญาณเพื่อความสาเรจ็หมายเหตุ - หลงั เครอ่ื งหมาย : ใน 245 ไม่จาเปน็ ต้องเป็นชื่อเรื่องรองเสมอไป ให้ใชช้ ื่อเร่อื งที่สื่อ และเหมาะสม - กรณีชือ่ เรอ่ื งที่ขนึ้ ต้นด้วย A, An, The ไม่ลงรายการใน tag 246Tag 700 Added entry-Personal name (R) รายการเพิ่มทีเ่ ป็นชื่อบุคคล ใช้บนั ทึกชอ่ื บคุ คลที่เปน็ รายการเพิม่ ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 1 รหสั บอกประเภทของชือ่ บคุ คล ประกอบด้วย 0 ชื่อต้น (Forename) 1 ชือ่ สกลุ ที่เปน็ คาเดีย่ ว (Sing Surname) โดยปกติจะเป็น 1 เสมอ 2 ชือ่ สกลุ ทีเ่ ป็นคาผสม (Multiple Surname) เชน่ El-Abiad 3 ชื่อวงศ์ตระกูล (Family name) หมายถึง ชื่อเผ่าพันธ์ุ ราชวงศ์ และกลุ่มอื่น ๆซึง่ อาจมโี ครงสรา้ งแบบกลับคา หรอื ลงตามลาดับข้อความทีป่ รากฏได้ ตวั บ่งชี้ 2 ระบุประเภทของรายการเพิ่ม # ไม่สามารถระบุประเภทของรายการเพิ่ม (ไม่มีข้อมูล No informationprovided) โดยปกติจะเปน็ # เสมอ

86 2 รายการจาแนก (Analytical entry) เป็นรายการเพิ่มบุคคลที่เกิดจากการวิเคราะหข์ ้อมลู เพิม่ เองจากส่วนทีป่ รากฏในตัวรายการหรือช้ินงานนั้น เขตข้อมลู ย่อย เหมอื นกบั รายการกลุ่มใน X00 หรอื 100, 600 ประกอบด้วย $a ชือ่ บุคคล (Personal name) (NR) $b ตัวเลขโรมันที่ตามหลังชื่อต้น (Numeration) (NR) $c ตาแหนง่ ยศ บรรดาศกั ดิ์ และอ่ืน ๆ (R) $d ปีที่สมั พันธ์กบั ชื่อ ส่วนใหญ่เป็นปีเกิด ปีตาย $e คาทีบ่ อกความสมั พนั ธ์ระหว่างงานกับบคุ คล เช่น ผู้รวบรวม $q ชื่อเต็ม (Fuller form of name) $t ชือ่ ผลงาน $4 รหัสที่บอกความสัมพันธ์ระหว่างงานกบั บุคคล Relator code (R)ตัวอยา่ งเช่น 700 0#$aวิมล เจียมเจรญิ 700 0#$aพระโพธญาณเถร$q(ชา สภุ ทั โท) 700 0#$aเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี,$cสมเด็จพระ,$dพ.ศ. 2498- 700 0#$aน้าทิพย์ วภิ าวิน,$eบรรณาธิการ 700 0#$aสดุ า ใจแก้ว,$eผแู้ ปล 700 1#$aซิเงโนะ, มิเอะ 700 1#$aเหยิน, จ่งิ เหวิน 700 1#$aไอซ,์ กนุ เทอร์,$dค.ศ. 1907-1972 700 1#$aดลู ีย์, ธอมสั แอนโทนี่ 700 1#$aยัง, เจฟฟรี เอส,$dค.ศ. 1952- 700 0#$aBlack Foot,$cChief,$dd. 1877$c(Spirit) 700 1#$aAdams, Henry,$d1838-1918 700 1#$aEl-Abiad, Ahmed H.,$d1926- 700 1#$aFowler, T. M.$q(Thaddeus Morfimer),$d1842-1922

87 700 1#$aFitzgerald-Jones, Sandra,$d1938-$einterviewer 700 3#$aFarquhar familyหมายเหตุ - ช่องว่างระหว่างช่ือตัวกบั ชือ่ สกุล วรรคหน่ึง - ผแู้ ตง่ ไม่เกิน 3 คน ไม่มกี ารระบุผู้รบั ผิดชอบหลกั อย่างชัดเจนใหล้ งรายการหลักที่ชื่อแรกปรากฏ และชือ่ อน่ื ๆ ใหเ้ ปน็ รายการเพิม่ - ผแู้ ตง่ มากกว่า 3 คน รายการหลักไม่ลงรายการ ใหล้ งรายการเพิม่ เฉพาะคนแรกเท่าน้ัน - บรรณาธิการ, ผู้รวบรวบ, ผู้เรียบเรียง หรือบุคคลที่ไม่ใช่ผู้แต่ง รายการหลักไม่ลงรายการ ให้ลงรายการเพิ่ม - ผแู้ ตง่ ชาวไทยเสียชวี ิตแล้วไม่ต้องใส่ปีเกิด-ปีตาย - ผู้แต่งชาวไทยไม่ต้องใส่ปีเกิด-ปีตาย ยกเว้น พระบรมวงศานุวงศ์ให้ใส่ปีพระราชสมภพด้วยเสมอ - ชื่อชาวต่างประเทศถ้าลงเป็นภาษาไทยและมีปีเกิด-ปีตายใหใ้ ส่ ค.ศ. ด้วย - ชื่อชาวต่างประเทศมักมีการใส่ข้อมูลปีเกิด-ปีตาย เน่ืองจากชื่อชาวต่างประเทศมักมีชื่อซ้ากันเยอะ การลงปีเกิด-ปีตายจะช่วยแยกได้วา่ เปน็ บุคคลเดียวกันหรอื คนละคน - ชื่อชาวต่างประเทศ ถ้าลงเป็นภาษาไทยและในตัวเล่มให้ข้อมูลเป็นตัวย่อของชื่อ ให้หาข้อมูลชือ่ เต็ม แล้วลงชื่อเต็ม - ชื่อชาวญีป่ ุ่น จนี เกาหลี เอาชือ่ สกลุ หรอื แซ่ขนึ้ ก่อน - พระ แมช่ ี ภกิ ษณุ ี สามเณร ลงตรงตวั ไปเลยไม่ต้องกลบั คา - ผแู้ ตง่ ทีใ่ ช้นามแฝง นามปากกา ให้ลงตามทีป่ รากฏTag 710 Added entry-Corporate name (R) รายการเพิ่มที่เป็นชื่อนิติบุคคล สาหรับบันทึกชื่อนิติบุคคลเป็นรายการเพิ่ม ประกอบด้วย[คาอธิบายการลงรายการดทู ีเ่ ขตขอ้ มลู 110] ตัวบ่งชี้ 1 ระบุประเภทชื่อนิตบิ ุคคล (เหมอื นกับเขตข้อมูลในกลุ่ม 110 และ 610) 0 ชื่อกลับคา (Inverted name)

88 1 ชื่อตามกฎหมาย (Jurisdiction name) 2 ชื่อเรยี งตามลาดบั (Name in direct order) ตัวบ่งชี้ 2 ระบปุ ระเภทของรายการเพิ่ม (Type of added entry) # ไม่สามารถระบุประเภทของรายการเพิ่ม (ไม่มีข้อมูล No informationprovided) โดยปกติจะเปน็ # 2 รายการจาแนก (Analytical entry) รายการเพิม่ ทีเ่ กิดจากการวิเคราะห์ข้อมูลเพิ่มเอง (ดูเพิม่ เตมิ ในตัวบ่งชีท้ ี่ 2 เขตข้อมลู 700) เขตข้อมลู ย่อย $a ชื่อนิตบิ คุ คลหน่วยงานหลกั (Corporate name or jurisdiction name) $b ชือ่ หน่วยงานย่อย (Subordinate unit) $c สถานที่จัดการประชมุ $d ปีของการประชมุ หรอื การทาสนธิสัญญา $e คาที่เกีย่ วข้องกับชื่อนิติบุคคล $f ปีทีจ่ ัดทา นอกนั้นเหมอื นกับเขตข้อมลู ในกลุ่ม 110 และ 610ตวั อยา่ งเช่นรายการเพิม่ ชื่อนิตบิ คุ คลภาษาไทย 710 2#$aมหาวิทยาลยั เชียงใหม่.$bภาควิชาภูมิศาสตร์ 710 2#$aบริษทั ไทยประกนั ชีวติ 710 2#$aสมาคมดนตรีแหง่ ประเทศไทย 260 ##$aเชยี งใหม่ :$bภาควิชาทัศนศิลป์ คณะวิจติ รศลิ ป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,$c2558 710 2#$aมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.$bภาควิชาทัศนศลิ ป์หมายเหตุ - รายการเพิ่มที่เป็นชื่อนิตบิ คุ คล อาจเปน็ ส่วนหนึ่งของชือ่ เร่อื ง หรอื ชือ่ สานกั พิมพ์ สามารถทาเป็นรายการเพิม่ ได้

89 - 110 และ 710 จะลงรายการซ้ากันไม่ได้ ตรงลงที่ใดทีห่ นึ่งแล้วแต่กรณี ตามคาอธิบาย 110 - คาตอ่ ท้าย เชน่ จากัด / จากดั มหาชน (องค์การมหาชน) ฯลฯ ไม่ตอ้ งใส่ - ถ้ามี ในพระบรมราชปู ถัมภ์ หรอื ลกั ษณะดงั กล่าว ตดั ออกได้เลย ไม่ต้องใส่Tag 711 Added entry-Meeting name (R) รายการเพิม่ ทีเ่ ปน็ ชื่อการประชุม ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 1 ระบปุ ระเภทชื่อการประชมุ (เหมอื นกบั เขตข้อมลู 111 และ 611) 0 ชือ่ ที่กลับคา (Inverted name) ปกติไม่ใช้ในหลกั ของ AACR2R 1 ชือ่ หน่วยงานต้นสงั กดั (Jurisdiction name) หรอื ชื่อทีต่ ง้ั ข้ึนตามกฎหมาย 2 ชื่อตามลาดบั (Name in Direct Order) ตัวบ่งชี้ 2 ไม่ระบุ เขตข้อมูลย่อย $a ชือ่ รายงานการประชุมหรอื ชือ่ ตามกฎหมาย $c สถานทีจ่ ดั การประชมุ $d ปีของการประชุม $e หนว่ ยงานรอง $f ปีที่พิมพ์หรอื ปีที่จัดทา $g ข้อมลู ย่อยอ่นื ๆ $k การแบ่งย่อยงานตามรูปแบบ $l ภาษาของงาน $n เลขลาดับตอน/ส่วนของการประชมุ $p ชื่อสว่ นหรอื ชื่อตอนของการประชมุ $q ชือ่ ของการประชมุ ทีต่ ามด้วยชอ่ื กฎหมาย $t ชือ่ ของงานตวั อยา่ งเช่น 711 2#$aการประชมุ วิชาการเรอื่ งนทิ ราชาคริต$d(2546 :$cจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) 711 2#$aการประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ$n(คร้ังที่ 5:$d2547 :$cกรุงเทพฯ)

90 711 2#$aการสมั มนาจรยิ ธรรมนกั กฎหมาย$d(2528 :$cจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ) 711 2#$aการสัมมนาเรื่องการพัฒนาคณุ ภาพบัณฑิตศกึ ษา$d(2547 :$cกรงุ เทพฯ)หมายเหตุ - ถ้ามีชื่อโรงแรม และจังหวดั ที่จดั ให้ใส่เฉพาะชอ่ื จังหวดั - ถ้าเป็นมหาวิทยาลัยใหใ้ ส่ชือ่ มหาวิทยาลัย - ถ้าจัดในสถานทีท่ ีเ่ ปน็ หน่วยงานราชการอน่ื ๆ ที่ไม่ใช้มหาวิทยาลัยใหใ้ ส่เฉพาะชือ่ จังหวัด - ไม่ต้องเว้นวรรคในชื่อการประชุม ใหพ้ ิมพ์ติดกันไปเลย - หามีเคร่อื งหมายคาพูด “ ” ไม่ต้องลงTag 830 Series added entry-Uniform title (R) รายการเพิม่ ชือ่ ชุดทีเ่ ปน็ ช่อื เร่อื งแบบฉบับ ประกอบด้วย ตวั บ่งชี้ 1 ไม่ระบุ ตวั บ่งชี้ 2 ระบอุ กั ขระทีไ่ ม่ต้องการใหเ้ รียง (Non-filing characters) 0-9 จานวนอักขระทีไ่ ม่ตอ้ งการใหเ้ รียง 0-9 อักขระ เขตข้อมูลย่อย ดทู ีเ่ ขตขอ้ มลู 730 ส่วนใหญ่ทีม่ ีได้แก่ $a ชือ่ เรอ่ื งแบบฉบบั ที่เป็นรายการชื่อชดุ (Uniform title) $v ลาดับทีใ่ นชดุ (Volume number)ตวั อย่างเช่น 491 1#$aสามก๊กพกพา ;$v1 830 #0$aสามก๊กพกพา ;$v1 491 1#$aค่อนศตวรรษ ส. ศิวรักษ์ ;$vเล่ม 3 830 #0$aค่อนศตวรรษ ส. ศวิ รักษ์ ;$vเล่ม 3 (3) กลุ่มเขตขอ้ มลู บรรณานกุ รมอืน่ ๆ เขตข้อมลู ในกลุ่มน้ีสว่ นใหญ่เปน็ เขตข้อมลู เกี่ยวกบัการพิมพ์ ลักษณะทางกายภาพ และรายละเอียดเกี่ยวกบั หมายเหตทุ ี่เป็นประโยชน์ตอ่ การสบื ค้นอ่นืๆ เขตข้อมลู ทีส่ าคัญ ได้แก่Tag 250 Edition statement (R) เขตข้อมลู ครั้งที่พิมพ์ ใชส้ าหรบั บนั ทึกคร้ังที่พิมพ์ของส่ิงพิมพ์ ประกอบด้วย

91 ตัวบ่งชี้ 1, 2 ## ไม่ระบุ เขตข้อมลู ย่อย $a การแจ้งฉบบั พิมพ์ ใช้บันทึกครั้งทีพ่ ิมพ์ทีป่ รากฏ $b ข้อมลู อน่ื ๆ ทีเ่ กีย่ วกบั คร้ังทีพ่ ิมพ์ เช่น ผู้รบั ผดิ ชอบ รวมไปถึงคร้ังที่พิมพ์ในภาษาอน่ื ๆตัวอยา่ งเช่น 250 ##$aพิมพ์ครง้ั ที่ 7 250 ##$aพิมพ์ครง้ั ที่ 8, ปรบั ปรงุ แก้ไข 250 ##$aพิมพ์ครง้ั ที่ 9, แก้ไขเพิม่ เติมหมายเหตุ - เขตข้อมูลน้ีซ้ากันได้ แตโ่ ปรแกรม ALIST ไม่สามารถรองรับการซ้าของเขตข้อมูลได้ จะใช้ ,คั่นแทนการเพิม่ 250 ตามตัวอย่างTag 260 Publication, distribution, etc. (R) เขตข้อมลู ส่วนของการพิมพ์ การจาหน่าย ฯลฯ ประกอบด้วย ตวั บ่งชี้ 1, 2 ## ไม่ระบุ เขตข้อมลู ย่อย $a สถานทีพ่ ิมพ์ จัดจาหน่าย ใช้บันทึกชอ่ื เมืองทีพ่ ิมพ์ เผยแพร่ $b ชื่อสานักพิมพ์ สถานทีจ่ าหน่าย ใช้บนั ทึกช่อื สานักพิมพ์ เผยแพร่ $c ปีพิมพ์ ปีจาหนา่ ย ใชบ้ ันทึกปีพิมพ์ เผยแพร่ $e สถานที่ผลติ $f ผผู้ ลติ $g ปีที่ผลติตัวอยา่ งเชน่ 260 ##$aกรงุ เทพฯ :$bสานักพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,$c2558 260 ##$aกรงุ เทพฯ :$bซีเอด็ ยูเคชน่ั ,$c[2557] 260 ##$aพะเยา :$bคณะวทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลยั พะเยา,$c2559

92หมายเหตุ - สานกั พิมพ์โดยทว่ั ไปไม่ต้องใส่คาว่าสานกั พิมพ์ เช่น “สานกั พิมพโ์ อเดียสโตร์” ให้ลงว่า“โอเดียสโตร์” - สานักพิมพ์ชื่อเดียวกบั มหาวิทยาลัย ใหใ้ ส่สานกั พิมพด์ ้วย เชน่ สานักพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สานกั พิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สานกั พิมพ์หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - ถ้าเป็นโรงพมิ พ์ ให้ใส่คาว่าโรงพมิ พ์ดว้ ย - ถ้ามีชื่อหนว่ ยงานเปน็ ผู้จัดพิมพ์ เชน่ กรม กระทรวง ให้ใส่ตาที่ปรากฏได้เลย ไม่ตอ้ งกลับเอาหน่วยงานต้นสังกัดขึ้นต้น - สถานทีพ่ ิมพ์ตอ้ งสอดคล้องกบั 008 ตาแหนง่ ที่ 15-17 - ปีที่พิมพ์ตอ้ งสอดคล้องกับ 008 ตาแหน่งที่ 07-10 - การคาดเดาให้ใส่ในเครื่องหมาย [ ]Tag 300 Physical description (R) เขตข้อมลู ลักษณะทางกายภาพของวสั ดปุ ระเภทต่าง ๆ ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 1, 2 ## ไม่ระบุ เขตข้อมลู ย่อย $a จานวนหน้า/แผ่น/เล่ม ใช้บันทึกจานวนหน้า แผ่น เล่ม $b รายละเอียดอืน่ ๆ เช่น ภาพประกอบ สี ความเรว็ $c ขนาด ใชบ้ อกขนาด มกั ใช้เป็น cm. $e วัสดทุ ี่ตดิ มากบั หนงั สือ เช่น CD-ROM $f ประเภทของหน่วย $g ขนาดของหนว่ ยตวั อย่างเชน่ 300 ##$a400 หนา้ :$bภาพประกอบ, แผนภูมิ, แผนที่ +$eCD-ROMs 300 ##$a200 หนา้ :$bภาพประกอบสี +$e2 CD-ROMs 300 ##$a100 หน้า :$bภาพประกอบ (สีบางภาพ) 300 ##$a1 เล่ม (หน้าไม่เรียงลาดับ) :$bภาพประกอบ 300 ##$a1 เล่ม (เลขหน้าไม่ปรากฏ) :$bภาพประกอบ