Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore work 1

work 1

Published by tnmapj4831, 2018-03-13 22:29:42

Description: work 1

Search

Read the Text Version

ใบความรู้1. อะตอม (จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1) ประกอบข้ึนด้วยอนภุ าคเลก็ ๆ จานวนมาก ซึง่ เรียกว่า “โมเลกุล” (Molecules) แตล่ ะโมเลกลุ ของมวลสารจะประกอบดว้ ยโครงสร้างท่เี ลก็ เรียกวา่ “อะตอม” อะตอม ประกอบดว้ ยนิวเคลยี ส นิวตรอน โปรตรอน อเิ ล็กตรอน และอิเลก็ ตรอนอสิ ระ ซ่ึงมีนิวเคลียสเปน็ ศนู ยก์ ลาง ซง่ึ ภายในนิวเคลยี สประกอบดว้ ย “โปรตอน” ซง่ึ มีค่าประจุเปน็ บวก (+) และนิวตรอนไม่มคี า่ ประจุใด ๆ จะอยู่คงทภ่ี ายในนวิ เคลยี ส สว่ นอเิ ล็กตรอนมคี ่าประจุเปน็ ลบ (-) จะวิง่ วนเปน็ วงโคจรคงทอี่ ยู่โดยรอบ 2. การไหลของกระแสไฟฟ้า (จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อท่ี 2) เนอ่ื งจากโครงสรา้ งของอะตอม โปรตอน และนิวตรอนจะอยู่คงท่ีเสมอ มเี พียงอิเลก็ ตรอนเทา่ นน้ั ทวี่ ่งิ โคจรอยู่โดยรอบ และมอี เิ ล็กตรอนจานวนหนงึ่ ว่ิงโคจรอยู่รอบนอกสดุ ซง่ึ เรียกว่า“อเิ ลก็ ตรอนอิสระ (Free Electron) และสามารถหลดุ ออกจากวงโคจรไดง้ ่าย ถ้าอะตอมนน้ั ไดร้ ับอเิ ลก็ ตรอนอสิ ระจากแหล่งอ่ืนภายนอก 3. ชนดิ ของไฟฟ้า (จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมขอ้ ท่ี 3) ไฟฟา้ ทเ่ี ราใช้กันอยทู่ ัว่ ไป เราสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนดิ 3.1. ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) คือ อเิ ล็กตรอนทเ่ี คล่ือนทไี่ ปทิศทางเดียวกันอยา่ งสม่าเสมอ เชน่ กระแสไฟฟา้ ทไี่ ด้จากแบตเตอรี่ ถ่านไฟฉาย เปน็ ต้น 3.2. ไฟฟา้ กระแสสลบั (Alternating Current) คอื อเิ ล็กตรอนท่เี คลอื่ นท่มี ีทศิ ทางการไหลเปลยี่ นแปลงไปตลอดเวลา เช่น กระแสไฟฟ้าทีไ่ ดจ้ ากเคร่ืองกาเนดิ ไฟฟ้า ไฟฟ้าตามบ้านเป็นตน้ 4. หนว่ ยวัดกระแสไฟฟา้ (จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมข้อท่ี 4) กระแสไฟฟ้า คอื การเคล่ือนทข่ี องอเิ ล็กตรอนทีไ่ หลไปตามตวั นา ประจุไฟฟ้า 1 คลู อมป์ มีจานวนอเิ ล็กตรอนอสิ ระ 6.25 x 108 ตวั ดังนน้ั กระแสไฟฟ้า 1 แอมแปร์ คอื กระแสไฟฟ้าท่เี กดิ จากการเคล่อื นท่ีของอิเล็กตรอน จานวน 6.25 x 108 ตัว ใน 1 วินาที แอมมิเตอร์ (Ammeter) เป็นเครอ่ื งมือท่ีใชว้ ัดจานวนกระแสทไ่ี หลผา่ นโหลด หรือภาระ(Load) ในวงจร ขณะทาการวัดจะตอ้ งตอ่ อนุกรมกบั โหลด 5. หนว่ ยวดั แรงเคล่ือนไฟฟ้า (จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 5) แรงเคล่ือนไฟฟา้ (Electromotive Force) หรอื แรงดันไฟฟ้า ทีท่ าให้อิเลก็ ตรอนเคล่ือนท่ีหรอื เกดิ การไหลของกระแสไฟฟ้าไปตามตวั นา จากจดุ ที่มีแรงดนั ไฟฟ้าสงู ไปยังจุดท่ีมแี รงดันไฟฟา้ ตา่ หรือกระแสไฟฟ้าไหลจากดา้ นที่มัศักยส์ ูง ไปยังดา้ นทีม่ ีศกั ย์ต่า โวลต์มิเตอร์ (Voltmeter) เปน็ เครื่องมือท่ีใช้วดั แรงเคลือ่ นไฟฟา้ ขณะทาการวัดจะตอ้ งต่อขนานกับโหลดหรอื ภาระวงจร ขณะทาการวดั จะต้องต่ออนุกรมกับโหลด6. ความต้านทานไฟฟา้ (จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรมข้อที่ 6) ความตา้ นทานไฟฟา้ (Electrical Resistance) คือ แรงต้านทางการไหลของกระแสไฟฟา้ ท่ีไหลผา่ นสารนน้ั ๆ สารทกุ ชนดิ จะมีความต้านทานไฟฟ้าต่างกนั ขน้ึ อยู่กับโครงสรา้ งของอะตอม ความตา้ นทานไฟฟ้าสามารถวดั ไดด้ ้วยโอห์มมเิ ตอร์ คา่ ความตา้ นทานไฟฟ้าจะมาก หรือน้อยขึ้นอยกู่ บั สภาพดังน้ี 6.1 ชนดิ ของสาร

เปน็ สารที่มคี วามต้านทานตา่ ทาให้กระแสไฟฟ้าไหลไดม้ าก จะจัดอยู่ในพวกสารตัวนา หากสารใดมคี ่าความต้านทานมาก ไมย่ อมให้กระแสไฟฟา้ ไหลผ่าน จะจดั อยูใ่ นพวกสารฉนวน 6.2 ขนาดของสาร เป็นสารชนดิ เดียวกนั ท่มี ีขนาดเล็กค่าความตา้ นทานจะมาก สว่ นขนาดใหญ่จะมีความตา้ นทานน้อย 6.3 ความยาวของสาร เปน็ สารชนดิ เดียวกันขนาดเท่ากัน ถ้ามีความยาวมากคา่ ต้านทานจะมาก ถ้าขนาดสั้นความต้านทานจะน้อย 6.4 อณุ หภมู ิ อณุ หภมู จิ ะทาใหส้ ารตวั นามีความต้านทานเปล่ียนแปลง เมื่อสารตัวนาไดร้ ับอุณหภูมิเพมิ่ ขน้ึ คา่ ความต้านทานจะเพม่ิ ขน้ึ ดว้ ย 6.5 สภาพของผวิ สัมผสั สภาพของผิวสมั ผสั ท่ีไม่สนิท สกปรกมีรอยไหม้ค่าความตา้ นทานจะมากข้นึ ทาให้กระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นได้นอ้ ยลง เรยี กวา่ “ความต้านทานที่หนา้ สัมผัส” (Contact Resistance) ซึ่งสามารถแก้ไขไดโ้ ดยการทาความสะอาดผวิ หน้าสัมผสั 7. สารทใี่ ชใ้ นงานไฟฟ้า (จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมข้อท่ี 7) ซ่งึ เป็นการไหลของอเิ ลก็ ตรอน หรือการไหลของกระแสไฟฟา้ ผา่ นอุปกรณไ์ ฟฟา้ ตา่ ง ๆ ต้องใช้สายไฟฟา้ ในการตอ่ วงจร วตั ถุทน่ี ามาใชท้ าสายไฟฟา้ ต้องยอมให้กระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นได้ดีวัตถนุ ั้น เรียกว่า“สารตัวนา” (Conductors)nเช่น เงิน ทองแดง อะลูมเิ นียม เหลก็ คาร์บอน เปน็ ตน้ ส่วนวตั ถุทีย่ อมให้กระแสไฟฟ้าผ่านไดบ้ า้ งดีกวา่ ฉนวนแต่ไมด่ ีเท่าตวั นา เรียกว่า “สารกึ่งตัวนา” (Semiconductors) เช่นเยอรมันเนยี ม และ ซิลคิ อน เปน็ ต้น และวตั ถุบางชนิดไมย่ อมให้กระแสไฟฟ้าไหลผา่ นได้ เรียกว่า “สารฉนวน”(Insulators) ดงั นนั้ สารทใี่ ชใ้ นงานไฟฟา้ สามารถแบง่ ออกได้ 3 ชนิด คือ 7.1 สารตวั นา 7.2 สารกึ่งตวั นา 7.3 สารฉนวน8. กฎของโอห์ม (จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมข้อที่ 8) กฎของโอห์ม กล่าวว่า “กระแสไหลผ่านตัวนา”เปปฏภิ าคโดยตรงกบั ความตา่ งศักย์ หรอืแรงดันไฟฟา้ และเปน็ ปฏิภาคโดบกลบั กับความต้านทานไฟฟา้ ”• ด้านทักษะ(ปฏบิ ตั ิ) (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 9-12) 1. กจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นรู้ 2. กจิ กรรม 1• ดา้ นคณุ ธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมขอ้ ท่ึ 13-14) 1. การเตรียมความพรอ้ มด้านการเตรียมวัสดุ อปุ กรณน์ ักศึกษาจะต้องกระจายงานได้ทัว่ ถงึและตรง ตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจดั เตรียมสถานที่ สื่อ วสั ดุ อปุ กรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรียง

2. ความมีเหตุมผี ลในการปฏบิ ตั ิงาน ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง นักศึกษาจะต้องมีการใช้ เทคนคิ ที่แปลกใหม่ ใช้สอ่ื และเทคโนโลยี ประกอบการ นาเสนอท่นี ่าสนใจ นาวสั ดใุ นท้องถิ่น มาประยุกตใ์ ช้อย่างคุ้มค่าและประหยดั(จะสอนเน้ือหาอะไรท่เี กี่ยวกับการเตรียมความพร้อมดา้ นการเตรียม วัสดุ อปุ กรณ์ และการปฏบิ ัตงิ าน อยา่ งมี เหตุและผลตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ? )


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook