Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ ท33201(1-2-3)

แผนการจัดการเรียนรู้ ท33201(1-2-3)

Published by Aornanong Cks, 2021-08-10 03:22:03

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ ท33201(1-2-3)

Keywords: แผนการจัดการเรียนรู้ ท33201(1-2-3)

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ วิชาหลกั ภาษาไทย รหสั วิชา ท ๓๓๒๐๑ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ นางสาวมาลีวรรณ มินดาทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยะฐานะ ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระท่ี ๔ หลกั ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ โรงเรียนเชยี งคาน อาเภอเชยี งคาน จงั หวัดเลย สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาเลย หนองบัวลาภู สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

๒ แบบประเมนิ แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าหลักภาษาไทย รหสั วิชา ท ๓๓๒๐๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ครผู ู้สอน นางสาวมาลีวรรณ มินดาทอง ระดบั คะแนน ขอ้ ที่ รายการประเมนิ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ หน่วยการเรยี นรูม้ ีความสมบรู ณ์ เหมาะสมและมรี ายละเอียดที่สอดคลอ้ งสมั พันธ์กนั ๒ แผนการจดั การเรยี นรสู้ อดคลอ้ งสมั พันธก์ ับหนว่ ยการเรยี นรทู้ ก่ี าหนดไว้ ๓ แผนการจดั การเรยี นรมู้ ีองคป์ ระกอบสาคญั ครบถ้วนรอ้ ยรดั สัมพันธก์ นั ๔ การเขียนสาระสาคัญในแผนถูกตอ้ ง ๕ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้มคี วามชดั เจนครอบคลมุ เนอื้ หาสาระ ๖ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้พฒั นานักเรยี นด้านความรทู้ ักษะกระบวนการและเจตคติ ๗ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรเู้ รยี งลาดบั พฤติกรรมจากงา่ ยไปยาก ๘ กาหนดเนื้อหาสาระเหมาะสมกับคาบเวลา ๙ กจิ กรรมการเรยี นรู้สอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์และเนื้อหาสาระ ๑๐ กจิ กรรมการเรยี นรู้สอดคลอ้ งกบั จุดประสงคแ์ ละระดับช้ันของนักเรียน ๑๑ กจิ กรรมการเรียนรมู้ ีความหลากหลายและสามารถปฏิบัตไิ ดจ้ รงิ ๑๒ กจิ กรรมการเรยี นรู้เปน็ กิจกรรมที่ส่งเสรมิ กระบวนการคดิ ของนักเรียน ๑๓ กิจกรรมเน้นให้นักเรียนเรยี นรู้จากการปฏิบตั จิ รงิ ๑๔ กิจกรรมการเรียนรูส้ อดคล้องแทรกคณุ ธรรมและค่านยิ มทด่ี ีงาม ๑๕ วัสดุอปุ กรณ์ สอื่ และแหล่งเรียนรมู้ ีความหลากหลาย ๑๖ วสั ดุอปุ กรณ์ ส่ือและแหล่งเรยี นรูเ้ หมาะสมกับเน้ือหาสาระ ๑๗ นกั เรียนได้ใชส้ ่อื และแหลง่ เรียนรู้ดว้ ยตนเอง ๑๘ นักเรียนทาช้นิ งานที่ไดใ้ ชค้ วามรู้ ความคิดมากกวา่ การทาตามที่ครกู าหนด ๑๙ มีการวัดและประเมนิ ผลที่สอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๒๐ มีการวัดและประเมนิ ผลทีห่ ลากหลาย คะแนนเฉลี่ย

๓ ระดบั คุณภาพของผลงาน ๔ หมายถึง คุณภาพในระดบั ดีมาก ๕ หมายถงึ คณุ ภาพในระดบั ดเี ย่ียม ๒ หมายถึง คณุ ภาพในระดับพอใช้ ๓ หมายถงึ คณุ ภาพในระดบั ดี ๑ หมายถงึ คุณภาพในระดบั ปรบั ปรงุ ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ ........…………………………………………………………………………..…………………………………….………….…………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………….……… (ลงช่ือ) (นางสาวมาลวี รรณ มนิ ดาทอง) หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

๔ บนั ทึกขอ้ ความ สว่ นราชการ โรงเรยี นเชยี งคาน อาเภอเชยี งคาน จงั หวดั เลย ท่ี ........................................................................วนั ท่ี ๑ เดือน มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔ เรือ่ ง ขออนุมัตแิ ผนการจัดการเรยี นรู้ เรียน ผู้อานวยการโรงเรียนเชียงคาน ตามทีข่ ้าพเจา้ นางสาวมาลีวรรณ มนิ ดาทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระ การเรยี นรู้ภาษาไทย ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานสอนในระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๖ รหัสวิชา ท ๓๓๒๐๑ รายวิชาหลกั ภาษาไทย จานวน ๑ หนว่ ยกิต ในภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ นน้ั ข้าพเจ้าจงึ ไดว้ เิ คราะหต์ ัวช้วี ดั /ผลการเรียนรู้ คาอธิบายรายวิชา โครงสรา้ งรายวชิ า เพื่อจัดทาแผน การจัดการเรยี นร้รู ายหนว่ ยการเรยี นรู้และรายคาบ ซง่ึ สอดคล้องกับหลกั สูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกน กลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ โดยจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สาคญั และได้นาไปใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนใหบ้ รรลุเป้าหมายของหลักสูตรฯ ตอ่ ไป จงึ เรียนมาเพอ่ื โปรดพจิ ารณา (ลงชอื่ ) (นางสาวมาลวี รรณ มนิ ดาทอง) ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ ความเห็นของหัวหนา้ กลุ่มสาระฯ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... (ลงชือ่ ) (นางสาวมาลีวรรณ มินดาทอง) หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

๕ ความเห็นรองผูอ้ านวยการดา้ นการบริหารงานวิชาการ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ) ( นายธรรมรตั น์ จติ รประเสรฐิ ) รองผู้อานวยการกลมุ่ บริหารงานวิชาการ ความเหน็ ของผบู้ ังคบั บญั ชา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................... (ลงชือ่ ) ( นายอนชุ า ศิลาเกษ ) ผอู้ านวยการโรงเรียนเชียงคาน

๖ ตารางวิเคราะหม์ าตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด/สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง **************************************** วิชาหลักภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๓๓๒๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๒ ช่ัวโมง/สัปดาห์ ภาคเรียนท่ี ๑/๒๕๖๔ มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติ การวิเคราะห์มาตรฐานกาเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวดั /สาระการเรียนรแู้ กนกลาง มาตรฐานการเรยี นร/ู้ (ผู้เรยี นทาอะไร) สมรรถนะ ตวั ช้วี ัด ความรู้ ทักษะกระบวนการ ค่านยิ มทีพ่ ึงประสงค์ (C) มาตรฐาน ท ๔.๑ ตวั ชว้ี ัด ม.๔-๖/๑ (K) (P) (A) อธบิ ายธรรมชาตขิ อง ภาษา พลงั ของภาษา - อธิบายธรรมชาตขิ อง - วเิ คราะหธ์ รรมชาติ - การสือ่ สาร และลกั ษณะของภาษา ภาษา พลงั ของภาษา พลงั ของภาษา - การคิด ตวั ชี้วัด ม.๔-๖/๒ ใช้ และลักษณะของภาษา และลักษณะของ คาและกลุม่ คาสร้าง ประโยคตรงตาม ภาษา วัตถุประสงค์ - หลักการใช้ถ้อยคา - ใช้คาและกลุ่มคา - การสื่อสาร และสานวน ประโยค สรา้ งประโยคตรง - การคดิ - หลักการสงั เกตคา ตามวตั ถปุ ระสงค์ ภาษาต่างประเทศ ในภาษาไทย ตวั ชวี้ ัด ม.๔-๖/๓ - ใชภ้ าษาเหมาะสม - มีมารยาทในการใช้ - การสอ่ื สาร ใช้ภาษาเหมาะสมแก่ แกโ่ อกาส กาลเทศะ ภาษาไทย - การคิด โอกาส กาลเทศะ และ และบคุ คล บุคคล รวมทั้งคาราชา - ใช้คาราชาศัพท์ - การสอ่ื สาร ศัพทอ์ ย่างเหมาะสม อยา่ งเหมาะสม - การคดิ ตัวช้วี ัด ม.๔-๖/๔ - การสอ่ื สาร แต่งบทร้อยกรอง - หลักการแตง่ โคลง - การคิด ร่าย และฉันท์ ตวั ช้วี ัด ม.๔-๖/๕ วเิ คราะห์อิทธพิ ลของ - วเิ คราะหอ์ ทิ ธพิ ล ภาษาต่างประเทศและ ของภาษาตา่ งประเทศ ภาษาถิ่น และภาษาถนิ่

๗ มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ขิ องชาติ (ต่อ) การวิเคราะห์มาตรฐานกาเรียนร้/ู ตวั ช้ีวัด/สาระการเรียนรู้แกนกลาง มาตรฐานการเรยี นร/ู้ (ผูเ้ รียนทาอะไร) สมรรถนะ ตวั ชว้ี ัด ความรู้ ทักษะกระบวนการ ค่านยิ มทีพ่ ึงประสงค์ (C) ตวั ช้วี ัด ม.๔-๖/๖ อธิบายและวิเคราะห์ (K) (P) (A) หลกั การสรา้ งคาใน ภาษาไทย - หลักการสร้างคา - วเิ คราะหค์ าใน - การสือ่ สาร ตวั ช้วี ัด ม.๔-๖/๗ ในภาษาไทย ภาษาไทย - การคิด วเิ คราะห์และประเมิน การใชภ้ าษาจากสอ่ื - วเิ คราะหแ์ ละ - การส่อื สาร ส่ิงพมิ พแ์ ละส่อื ประเมินการใช้ภาษา - การคดิ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ จากสอ่ื ส่งิ พมิ พ์และ สื่ออิเล็กทรอนกิ ส์

๘ คาอธบิ ายรายวชิ า วิชาหลักภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๓๓๒๐๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ เวลา ๒ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ภาคเรยี นท่ี ๑/๒๕๖๔ **************************************** ศึกษาหลักการใช้ภาษาไทยเร่อื งธรรมชาตขิ องภาษา พลังและลักษณะของภาษา การใช้ภาษาและกลุ่มคา สรา้ งประโยค ประโยคชนดิ ตา่ ง ๆ ระดับการใชภ้ าษาและคาราชาศพั ท์ใหเ้ หมาะสมคานงึ ถงึ โอกาส กาลเทศะบุคคล อิทธพิ ลของภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศที่มีตอ่ ภาษาไทย การสรา้ งคาในภาษาไทย วิเคราะห์หลักการสร้างคาในภาษาไทย ใช้ทักษะภาษาไทยศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลและถ่ายทอด เนื้อหา ประเมินการใช้ภาษา จากส่ือสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ภาษาได้ถูกต้อง ตามหลักการใช้ภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ สามารถแตง่ บทร้อยกรองประเภทกาพย์ โคลง ร่าย และฉนั ท์ โดยคานงึ ถึงภาษา รูปแบบเนื้อหาดว้ ยถอ้ ยคาไพเราะ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด ให้เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่น มีนิสัยรักการอ่าน มีวนิ ัยในตนเอง ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ ใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ ม่นั ในการทางาน มจี ติ สาธารณะ และมีคุณธรรมจริยธรรมสอดคล้องกับ สถานศกึ ษา ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายและวเิ คราะห์ธรรมชาติ พลงั ของภาษา และลกั ษณะของภาษา ๒. เลือกใช้คา กลุม่ คาสรา้ งประโยคตรงตามวัตถปุ ระสงค์ ๓. ใชภ้ าษาในการตดิ ตอ่ ส่อื สารไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะและบคุ คล ๔. อธิบายระบบการเรียงคาเขา้ ประโยค บอกลกั ษณะคา กลุ่มคา ประโยคชนิดต่าง ๆ ๕. บอกความหมายและใช้คาราชาศัพทไ์ ดถ้ กู ต้อง สืบค้นคาราชาศพั ทจ์ ากสื่อต่าง ๆ ได้ ๖. แตง่ บทร้อยกรองประเภทกาพย์ โคลง รา่ ย และฉนั ท์ได้ ๗. อธบิ ายและวิเคราะหห์ ลักการสร้างคาในภาษาไทยได้ ๘. วิเคราะหอ์ ิทธพิ ลของภาษาต่างประเทศและภาษาถ่นิ ท่ีมีต่อภาษาไทยได้ ๙. วเิ คราะห์การใช้ภาษาและประเมนิ การใช้ภาษาจากส่ือสิง่ พิมพ์และสื่ออิเลก็ ทรอนิกสไ์ ด้ ๑๐. มีมารยาทการใช้ภาษา รักการอา่ น มีจิตสานกึ ทีด่ ีตอ่ การใชภ้ าษาไทย รวมทงั หมด ๑๐ ผลการเรยี นรู้

๙ โครงสรา้ งรายวชิ า วชิ าหลักภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๓๓๒๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๖ เวลา ๒ ชว่ั โมง/สัปดาห์ ภาคเรยี นท่ี ๑/๒๕๖๔ **************************************** หน่วยที่ ชอ่ื หนว่ ย ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก ๑ (ชั่วโมง) (คะแนน) ธรรมชาติและ ๑. อธบิ ายและ ภาษาทกุ ภาษามธี รรมชาติของ ๒ พลงั ของภาษา วิเคราะห์ธรรมชาติ ภาษาคลา้ ยคลงึ กัน เชน่ ใช้เสียง ๔ ๕ และอักษร เมอื่ ความหมาย ๓ พลังของภาษา และ ประกอบจากหน่วยเล็กๆ เป็น ๖ ๕ ลกั ษณะของภาษา หน่วยใหญ่ ผูท้ ่เี ข้าใจธรรมชาติของ ภาษาย่อมสามารถใช้ภาษาได้ดี ใน ๒ ๕ กลุม่ คาสร้าง ๒.เลือกใช้คา กลมุ่ คา ขณะเดยี วกัน ภาษาก็สามารถ ประโยค สรา้ งประโยคตรงตาม สรา้ งสรรค์และทาลายได้ การใช้ วัตถปุ ระสงค์ ภาษาใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมจงึ ชว่ ย ๔.อธบิ ายระบบการ ธารงสังคมให้ดดี ้วยอกี ทางหนง่ึ เรียงคาเข้าประโยค การใช้ภาษาในชวี ติ ประจาวนั นนั้ บอกลักษณะคา การใชค้ าที่ถูกต้องเหมาะสม ตาม กลุม่ คา ประโยคชนิด หลักไวยากรณแ์ ละความหมายเปน็ ต่าง ๆ สง่ิ ท่สี าคญั ท่จี ะสือ่ ความหมายได้ ตรงประเด็นตามจดุ มุ่งหมายของผู้ ระดบั ภาษา ๓. ใชภ้ าษาในการ ส่งสาร ดงั นัน้ การศกึ ษาหลกั สาคัญ ตดิ ต่อส่อื สารได้ ในการใช้คา กลมุ่ คา การสรา้ ง เหมาะสมกับกาลเทศะ ประโยคจะทาให้สามารถใชภ้ าษา และบคุ คล ในการส่อื สารไดอ้ ย่างถกู ต้อง การศึกษาความรเู้ กย่ี วกับระดบั ภาษาจะชว่ ยใหพ้ ดู และเขยี นได้ เหมาะสมกับกาลเทศะ สือ่ สารได้ เขา้ ใจทง้ั ผู้ส่งสารและผรู้ ับสาร และบังเกิดสมั ฤทธ์ิผลตาม ความมงุ่ หมาย

๑๐ หนว่ ยท่ี ช่อื หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก ๔ คาราชาศัพท์ (ชวั่ โมง) (คะแนน) ๕.บอกความหมายและ การศกึ ษาการใช้ถ้อยคาให้ ๕ คาประพันธ์ ๓ ๕ ใช้คาราชาศพั ทไ์ ด้ เหมาะกบั บคุ คลระดับหรือคา ๖ อิทธพิ ล ๓ ๕ ภาษาตา่ ง ถกู ตอ้ ง สืบคน้ คาราชา ราชาศพั ท์ ต้องมคี วามรเู้ ข้าใจ ๖ ประเทศใน ๑๐ ภาษาไทย ศัพท์จากสอ่ื ต่าง ๆ ได้ คา ความหมาย และเลอื กใช้ได้ ๖ ๖ ๑๐ ๗ การสร้างคา อย่างถูกตอ้ ง ๕ ในภาษาไทย ๒ ๖.แต่งบทร้อยกรอง การศึกษาคาประพันธไ์ ทย เพื่อ ๒ - ๘ การวเิ คราะห์ - และประเมินค่า ประเภทกาพย์ โคลง เรียนรู้ความงามของภาษา ๒๐ การใชภ้ าษา ๓๐ จากสื่อต่าง ๆ ร่าย และฉันท์ได้ ประกอบด้วยเสียงอันไพเราะ ๑๐๐ และความหมายที่งดงาม ๘.วิเคราะหอ์ ิทธิพล การถา่ ยทอดหยบิ ยืมกันได้ ของภาษาต่างประเทศ ทาให้มีคาในภาษาใชม้ ากขึ้น และภาษาถิ่นทีม่ ีตอ่ สะดวกต่อการส่อื ความหมาย ภาษาไทย กนั ทั้งทาใหภ้ าษามีความเจรญิ งอกงามขนึ้ อกี ด้วย ๗.อธิบายและวิเคราะห์ ศกึ ษาการสร้างคาในภาษาไทย หลักการสร้างคาใน วธิ ีการสร้างคาตามหลกั เกณฑ์ ภาษาไทยได้ การสร้างคาแต่ละประเภทได้ ๙.วิเคราะห์การใช้ภาษา การประเมนิ ค่าการใช้ภาษาจาก และประเมินการใช้ภาษา สอื่ ต่าง ๆ มีความสาคญั ตอ่ จากส่ือสง่ิ พิมพ์และสื่อ ผเู้ รียน อเิ ล็กทรอนิกส์ได้ ๑๐. มมี ารยาทในการ ใชภ้ าษา รักการอ่าน มี จิตสานึกท่ีดีตอ่ การใช้ ภาษาไทย การวดั ผลและประเมนิ ผลระหว่างภาค การวดั ผลและประเมนิ ผลระหว่างภาค สอบกลางภาค สอบปลายภาค รวม

๑๑ การกาหนดการจดั การเรียนรู้ วิชาหลักภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๓๓๒๐๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๒ ช่ัวโมง/สัปดาห์ ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖๔ **************************************** สัปดาหท์ ่ี หนว่ ยที่ ชอื่ หนว่ ย ชือ่ แผนการเรียนรู้ เวลา (ชม.) ๑ – ๒ ๑ ธรรมชาตแิ ละพลังของภาษา  ความหมายและธรรมชาตขิ องภาษา ๒ ๓ – ๕ ๒ กลมุ่ คาสรา้ งประโยค  ความสาคัญและพลงั ของภาษา ๒  การเลอื กใช้คาและกล่มุ คา ๓ ๖ ๓ ระดับภาษา  ระบบประโยคในภาษาไทย ๓  ระดับภาษาไทย ๒ ๗ – ๘ ๔ คาราชาศพั ท์ คาราชาศพั ท์ ๓ ๘ – ๙ ๕ คาประพันธ์  ความงามในภาษา ๓ การพิจารณาคุณคา่ วรรณกรรม ๒ ๖ ๑๐ วัดผลและประเมนิ ผลกลางภาค ๑๑ – ๑๓ ๖ อทิ ธิพลภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย ๑๔ – ๑๖ ๗ การสรา้ งคาในภาษาไทย คามลู คาประสม คาซ้า คาซอ้ น ๓ คาสมาส คาสนธิ ๓ ๑๗ – ๑๙ ๘ การวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ค่าการใช้ภาษา การวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ค่าการใช้ ๖ จากสอ่ื ต่าง ๆ ภาษาจากสอ่ื ต่าง ๆ ๒ ๔๐ ๒๐ วดั ผลและประเมินผลปลายภาค สรุปชัว่ โมงการจัดการเรียนรู้

๑๒ การวัดประเมินผล วชิ าหลกั ภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๓๓๒๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ ภาคเรียนท่ี ๑/๒๕๖๔ **************************************** ๑. การวัดประเมินผลการเรียน ระหว่างภาค : ปลายภาค อตั ราสว่ นคะแนน ๗๐ : ๓๐ เป็น อตั ราส่วนคะแนน K : P : A ด้านความรู้ : ดา้ นทักษะกระบวนการ : ดา้ นคา่ นยิ มที่พงึ ประสงค์ เปน็ ๓๖.๓๖ : ๕๔.๕๔ : ๙.๑๐ ตารางแสดงสัดสว่ นคะแนน การประเมนิ คะแนนระหวา่ งภาค คะแนน รวม กอ่ นกลางภาค กลางภาค หลังกลางภาค ปลายภาค ความรู้ ๓๐ ทักษะกระบวนการ ๑๐ ๕ ๕ ๑๐ ๖๐ ค่านิยมทพ่ี ึงประสงค์ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ๑๐ ๕ -- ๕ ๑๐๐ รวมคะแนน ๓๐ ๒๐ ๒๐ ๓๐ ๒. การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ อนั พงึ ประสงคด์ า้ น ๑. รักชาติ ศาสน์ ๑.๑ มีความรัก และภมู ิใจในความเปน็ ชาติ กษตั ริย์ ๑.๒ ปฏิบตั ติ นตามหลกั ศาสนาและเป็นตัวอยา่ งท่ีดขี องศาสนกิ ชน ๑.๓ แสดงออกถงึ ความจงรกั ภกั ดตี ่อสถาบันพระมหากษตั ริย์ ๒. ซ่อื สตั ย์ สุจริต ๒.๑ ใหข้ ้อมูลที่ถกู ต้อง และเป็นจรงิ ๒.๒ ปฏิบัตใิ นสิ่งทีถ่ ูกตอ้ งละอายและเกรงกลวั ท่ีจะทาความผิดทาตามสัญญาท่ตี น ใหไ้ วก้ บั พอ่ แมห่ รือผ้ปู กครองและครู ๒.๓ ปฏบิ ัติตนตอ่ ผอู้ ่นื ดว้ ยความซื่อตรง และเปน็ แบบอย่างทด่ี แี กเ่ พ่ือนด้าน ความซอื่ สัตย์

๑๓ การประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (ตอ่ ) คุณลักษณะ รายการประเมนิ อนั พงึ ประสงคด์ ้าน ๓. มวี ินยั รบั ผิดชอบ ๓.๑ ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บังคับของครอบครัวและโรงเรียน ๓.๒ ตรงต่อเวลา มีความรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ัติกิจกรรมต่าง ๆ ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๔.๑ ศกึ ษาคน้ ควา้ หาความรู้จากแหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม ๔.๒ จดบันทกึ และสรุปความรไู้ ดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบและมเี หตุผล ๔.๓ รว่ มกจิ กรรมและแลกเปลีย่ นความรดู้ ้วยวิธกี ารตา่ ง ๆ อยา่ งสร้างสรรค์ ๕.อย่อู ยา่ งพอเพียง ๕.๑ ใชท้ รัพย์สนิ และสง่ิ ของของโรงเรียนอย่างประหยัด ๕.๒ ใช้อปุ กรณก์ ารเรยี นอย่างประหยัดและรูค้ ณุ คา่ ๕.๓ ใชจ้ ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงนิ ๖. มงุ่ ม่ันใน ๖.๑ มคี วามต้งั ใจและพยายามในการทางานทไ่ี ด้รับมอบหมาย การทางาน ๖.๒ มคี วามอดทนและไม่ท้อแท้ตอ่ อุปสรรคเพอ่ื ให้งานสาเรจ็ ๗. รักความเปน็ ไทย ๗.๑ มจี ิตสานึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทย ๗.๒ เหน็ คุณค่าและปฏบิ ัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๘.๑ รู้จักชว่ ยพ่อแม่ ผูป้ กครอง และครทู างาน ๘.๒ อาสาทางาน ช่วยคิด ช่วยทา และแบ่งปนั สิ่งของใหผ้ อู้ ื่น ๘.๓ ร้จู กั การดูแล รักษาทรพั ย์สมบัตแิ ละส่ิงแวดล้อมของห้องเรยี น โรงเรยี นชุมชน ๘.๔ เขา้ ร่วมกจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนข์ องโรงเรียน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ ๓ คะแนน  พฤติกรรมทป่ี ฏิบัตชิ ัดเจนและสม่าเสมอ ให้ ๒ คะแนน  พฤติกรรมที่ปฏิบัตชิ ัดเจนและบอ่ ยครั้ง ให้ ๑ คะแนน  พฤตกิ รรมที่ปฏิบัตบิ างครัง้ ให้ ๐ คะแนน  พฤตกิ รรมที่ไมไ่ ด้ปฏบิ ตั ิ

๑๔ ๓. การประเมิน/เกณฑ์การประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขียน ประเดน็ ระดบั คณุ ภาพ การประเมิน ตวั ช้วี ัดที่ ๑ สามารถ ดีเยย่ี ม ดี ผ่าน ไม่ผา่ น อ่านเพ่ือการศึกษา ค้นคว้า เลอื กอา่ นคน้ คว้า เลอื กอา่ นค้นควา้ เพ่ิมพูนความรู้ ข้อมลู สารสนเทศ เลือกอา่ นค้นควา้ เลือกอ่านค้นควา้ ขอ้ มูลสารสนเทศ ประสบการณ์และ เพ่ิมพูนความรู้ทม่ี ี เพมิ่ พูนความรทู้ ่มี ี การประยุกต์ใช้ใน ประโยชน์ ทันสมยั ข้อมูลสารสนเทศ ข้อมูลสารสนเทศ ประโยชนม์ ี ชวี ิตประจาวัน มรี ายละเอียดสาคัญ มขี ้อมลู น้อย ขาด ชัดเจน นา่ สนใจ เพมิ่ พนู ความร้ทู ่มี ี เพิ่มพนู ความรู้ทม่ี ี รายละเอยี ดสาคญั ตัวชีว้ ดั ที่ ๒ สามารถจบั มีการอา้ งอิงทีม่ า และไม่มกี ารอ้างอิง ประเดน็ สาคัญลาดับ ถกู ตอ้ ง ประโยชนม์ ี ประโยชน์มี ที่มาถกู ตอ้ ง เหตกุ ารณ์จากการอ่าน บนั ทกึ ข้อมลู จาก บนั ทึกขอ้ มลู จาก สื่อทม่ี คี วามซับซอ้ น การอา่ น มปี ระเด็น รายละเอยี ดสาคัญ รายละเอียดสาคัญ การอ่าน ไมม่ ี สาคัญ สามารถ ประเด็นสาคัญ ตวั ช้ีวดั ท่ี ๓ สามารถ ลาดับเหตุการณ์ พอสมควร และ พอสมควร แต่ไมน่ ่า ลาดับเหตุการณ์ วเิ คราะหส์ ง่ิ ท่ีผ้เู ขยี น จากการอ่านทีม่ ี จากการอา่ นไมไ่ ด้ ต้องการสอ่ื สารกับผอู้ า่ น ความซับซอ้ นชัดเจน มีการอ้างองิ ที่มา น่าสนใจและมกี ารอ้าง และสามารถวพิ ากษ์ ให้ นา่ สนใจครบถ้วน วเิ คราะห์ วิจารณ์ ขอ้ เสนอแนะใน วิเคราะห์ วิจารณ์ ถกู ต้อง ทม่ี าถกู ต้อง สิง่ ทผ่ี ู้เขยี น แงม่ มุ ตา่ ง ๆ สงิ่ ท่ผี เู้ ขยี นตอ้ งการ ตอ้ งการสอื่ สาร ตวั ชีว้ ดั ท่ี ๔ สามารถ ส่อื สารและวพิ ากษ์ บันทึกข้อมลู จาก บนั ทึกขอ้ มูลจาก และวพิ ากษ์ ให้ ประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถอื ใหข้ อ้ เสนอแนะใน ขอ้ เสนอแนะใน คณุ ค่า แนวคิดทไี่ ด้จาก แง่มุมตา่ งๆน่าสนใจ การอา่ น มีประเด็น การอา่ น มีประเด็น แง่มมุ ตา่ งๆไม่ได้ สิ่งที่อ่านอย่างหลากหลาย ชดั เจน ครบถว้ น นาเสนอ คณุ คา่ นาเสนอ คณุ ค่า สาคัญ สามารถ สาคัญ สามารถลาดบั แนวคิด ประเมิน ตวั ชว้ี ดั ที่ ๕ สามารถเขียน แนวคิด ประเมิน ความน่าเชอื่ ถือ แสดงความคิดเห็นโตแ้ ย้ง ความน่าเช่อื ถอื ลาดับเหตุการณ์ เหตุการณ์ จากการอา่ นไม่ได้ สรปุ โดยมขี อ้ มูลอธิบาย จากการอา่ นได้ สนับสนนุ อย่างเพยี งพอ ชดั เจนหลากหลาย จากการอ่านทม่ี ี จากการอ่านท่ีมี ไม่สามารถเขยี น และสมเหตุสมผล เขยี นแสดงความ แสดงความคดิ เห็น คดิ เห็นโต้แย้งโดยมี ความซบั ซ้อน ความซับซอ้ น โต้แย้ง โดยมี ข้อสนบั สนุนถกู ตอ้ ง ข้อสนับสนุน เหมาะสม เพียงพอ ชดั เจน น่าสนใจ ชัดเจนพอสมควร และสมเหตุสมผล วิเคราะห์ วจิ ารณ์ วิเคราะห์ วิจารณ์ สง่ิ ท่ผี ู้เขียนต้องการ สงิ่ ทผ่ี ูเ้ ขยี นตอ้ งการ สอ่ื สารและวพิ ากษ์ สือ่ สารและวพิ ากษ์ ให้ ใหข้ อ้ เสนอแนะใน ขอ้ เสนอแนะในแงม่ มุ แงม่ ุมตา่ งๆ ชดั เจน ต่างๆ ชดั เจน ครบถว้ น นาเสนอ คณุ คา่ นาเสนอ คุณคา่ แนวคิด ประเมิน แนวคิด ประเมินความ ความนา่ เชอ่ื ถือ น่าเชื่อถอื จากการอ่านได้ จากการอ่านได้บ้าง ชดั เจน เขยี นแสดงความ เขยี นแสดงความ คิดเห็นโต้แยง้ โดยมี คดิ เห็นโตแ้ ย้งโดยมี ขอ้ สนับสนนุ ถูกต้อง ขอ้ สนับสนนุ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม เพียงพอ เหมาะสม พอสมควร

๑๕ หนว่ ยที่ ๑ ชือ่ หนว่ ย ธรรมชาติและพลังของภาษา วิชาหลักภาษาไทย รหสั วิชา ท ๓๓๒๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ สัปดาหท์ ่ี ๑ – ๒ จานวน ๔ ช่ัวโมง **************************************** ๑. ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายธรรมชาติ พลังของภาษา และลักษณะของภาษาได้ ๒. สาระสาคัญ ภาษาทุกภาษามีธรรมชาติของภาษาคล้ายคลึงกัน เช่น ใช้เสียงและอักษร เมื่อความหมายประกอบจาก หน่วยเล็ก ๆ เป็นหน่วยใหญ่ ผู้ที่เข้าใจธรรมชาติของภาษาย่อมสามารถใช้ภาษาได้ดี ในขณะเดียวกันภาษาก็ยัง สามารถสรา้ งสรรค์และทาลายได้ การใช้ภาษาใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมจงึ ช่วยธารงสงั คมใหด้ ดี ้วยอกี ทางหนึง่ ๓. สาระการเรียนรู้ ความรู้ ๑. ธรรมชาตขิ องภาษา ๒. พลังของภาษา ๓. ลกั ษณะของภาษาไทย - เสียงในภาษา - สว่ นประกอบของภาษา - องคป์ ระกอบของพยางค์และคา ทักษะ/กระบวนการ ๑. ศกึ ษา วิเคราะหเ์ นื้อหาความร้เู ก่ยี วกับธรรมชาติของภาษา ๒. ศกึ ษา วิเคราะหเ์ น้อื หาความรเู้ กี่ยวกบั พลงั ของภาษา ๓. ศกึ ษา วเิ คราะห์เนื้อหาความรูเ้ ก่ียวกับลักษณะของภาษาไทย ๔. สรุปความรูท้ าแบบทดสอบความเข้าใจ และทดสอบเก็บคะแนน คณุ ลกั ษณะ ๑. มีนสิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ ๒. มีความมงุ่ มนั่ ในการทางาน ๓. มีความสุขในการเรียนภาษาไทย ๔. เหน็ คุณค่าของภาษาไทย

๑๖ ๔. ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attitude) คุณลักษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑  รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  อยู่อย่างพอเพียง  ซ่อื สตั ย์สุจริต  มงุ่ มน่ั ในการทางาน  มีวนิ ยั  รกั ความเป็นไทย  ใฝ่เรียนรู้  มีจติ สาธารณะ คุณลกั ษณะของผู้เรียน ตามหลักสตู รโรงเรยี นมาตรฐานสากล  เปน็ เลิศวิชาการ  สอื่ สารสองภาษา  ล้าหนา้ ทางความคิด  ผลิตงานอยา่ งสร้างสรรค์  ร่วมกันรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคมโลก อัตลกั ษณ์ของโรงเรยี นเชียงคาน  เรียนดี  มีวนิ ัย  ใฝ่กีฬา  รกั ษาวฒั นธรรม ๕. ดา้ นการ อา่ น คิดวเิ คราะห์และเขยี น ตัวช้ีวดั ที่ ๑ สามารถคดั สรรสอ่ื ท่ตี ้องการอา่ นเพื่อหาขอ้ มูลสารสนเทศได้ตามวตั ถุประสงค์ สามารถสรา้ งความเข้าใจและประยุกตใ์ ชค้ วามร้จู ากการอ่าน ตัวชีว้ ดั ท่ี ๔ สามารถสรปุ คุณค่า แนวคดิ แง่คิดท่ีได้จากการอ่าน ตัวช้ีวดั ท่ี ๕ สามารถสรุป อภิปราย ขยายความ แสดงความคดิ เหน็ โต้แยง้ สนับสนนุ โนม้ น้าว โดยการเขยี นสอ่ื สารในรูปแบบตา่ ง ๆ เชน่ ผังความคดิ เปน็ ตน้ ๖. ด้านสมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น  ความสามารถในการสอ่ื สาร ตวั ชี้วัดที่ ๑ ใชภ้ าษาถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด ความรู้สึกและทัศนะของตนเอง ด้วยการพูดและการเขียน  ความสามารถในการคดิ ตวั ชว้ี ัดที่ ๑ คิดพน้ื ฐาน (การคดิ วิเคราะห)์ ๗. ภาระงาน/ชิ้นงาน ๗.๑ ภาระงาน ๑. นาเสนองานกลมุ่ “ชนิดของคาไทย” ๒. ฝกึ เขียนขอ้ คาถามสถานการณ์การส่อื สาร ๓. การนาเสนองานเดย่ี ว “วจั นภาษาและอวัจนภาษา” ๗.๒ ชิ้นงาน ๑. บตั รข้อสอบวัจนภาษาและอวจั นภาษา ๒. รายงานหน้าเดยี ว “ชนิดของคาไทย”

๑๗ ๘. การวัดและประเมินผล วิธีประเมนิ เคร่ืองมอื เกณฑ์การประเมนิ ผล รายการประเมิน ๑. ตรวจผลงานตาม - ประเมินผลงาน - แบบประเมนิ ผลงาน - ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ภาระงาน/ช้ินงาน - ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมนิ การนาเสนอ รอ้ ยละ ๘๐ - การสังเกตความถี่ - แบบประเมินคุณลักษณะ - ระดบั คุณภาพ ๒ ๒. ประเมินคุณลกั ษณะ พฤติกรรม/ตัวบ่งช้ี อันพงึ ประสงค์ ผ่านเกณฑ์ อนั พึงประสงค์ - ประเมินผลงานและ - แบบประเมินผลงาน - ระดับคุณภาพ ๒ กิจกรรม - ตรวจผลงานจากกิจกรรม ผ่านเกณฑ์ ๓. ประเมินการอ่าน - การสงั เกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ สมรรถนะ - ระดับคณุ ภาพ ๒ คดิ วิเคราะห์ เขยี น การปฏิบัติตามภาระงาน ผา่ นเกณฑ์ สาคัญของผเู้ รียน ๔. ประเมนิ สมรรถนะ สาคัญของผู้เรียน ๙. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมนาสูก่ ารเรยี นรู้ ๑. กจิ กรรมถามตอบ ๒. กิจกรรมการศึกษาวิเคราะห์ กจิ กรรมพฒั นา ๑. ศกึ ษาวิเคราะหล์ กั ษณะความรู้ ๒. ใช้กจิ กรรมกลมุ่ และรายบุคคลในการฝึกปฏิบัติ กิจกรรมรวบยอด ๑. ใช้การสรุปหลักการ และการปฏบิ ัติงาน - สรุปแนวคดิ องคค์ วามรู้ - การประเมนิ ชน้ิ งาน ๑๐. สอื่ /แหล่งเรียนรู้ ๑๐.๑ สือ่  เอกสารประกอบการสอนหลกั ภาษาไทย  แบบทดสอบความเข้าใจ  PowerPoint ๑๐.๒ แหลง่ เรียนรู้  ห้องสมดุ  อนิ เตอรเ์ นต็  Google Classroom หอ้ งเรยี นหลักภาษาไทย ท ๓๓๒๐๑

๑๘ แผนการจดั การเรยี นรู้ ********************************** รหสั วชิ า ท๓๓๒๐๑ ช่ือวชิ า หลักภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ หนว่ ยการเรยี นรู้ ท่ี ๑ เร่อื ง ธรรมชาติและพลังของภาษา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เร่อื ง ธรรมชาตแิ ละพลังของภาษา เวลา ๔ ช่ัวโมง รปู แบบการสอนทใี่ ช้ (แผนการจัดการเรยี นรู้บรู ณาการ/กจิ กรรมการปฏิบตั ิจรงิ Active Learning/ออนไลน)์ ************************************************************** ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ ๑. อธบิ ายและวเิ คราะห์ธรรมชาติ พลังของภาษา และลกั ษณะของภาษา จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. อธิบายและวิเคราะหธ์ รรมชาติของภาษาได้อย่างถูกตอ้ ง ๒. บอกความสาคญั ของภาษาไทยและพลังของภาษาทน่ี ามาใช้ในชวี ิตประจาวนั ๓. นาเสนอ แสดงความรแู้ ละความคิดเหน็ ไดถ้ กู ต้องตามหลักการใช้ภาษาอย่างมมี ารยาท ๔. มีความรบั ผดิ ชอบ ตงั้ ใจเรียนร้ดู ้วยตนเอง และทางานรว่ มกบั ผู้อน่ื ได้ ๒. สาระสาคญั ภาษาทุกภาษามีธรรมชาตขิ องภาษาคล้ายคลึงกัน เช่น ใช้เสียงและอักษร เม่ือความหมายประกอบจาก หนว่ ยเลก็ ๆ เปน็ หน่วยใหญ่ ผู้ที่เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษายอ่ มสามารถใชภ้ าษาได้ดี ในขณะเดยี วกันภาษายงั สามารถสร้างสรรค์และทาลายได้ การใช้ภาษาให้ถกู ต้องเหมาะสมจึงชว่ ยธารงสังคมให้ดีดว้ ยอกี ทางหน่งึ ๓. สาระการเรียนรู้ ๑. ภาษาใชเ้ สียงสื่อความหมาย ๒. เสียงกับความหมายมคี วามสมั พันธ์กนั ๓. เสยี งกบั ความหมายมคี วามไมส่ ัมพันธ์กนั ๔. หน่วยในภาษา ๕. การเปลย่ี นแปลงของภาษา ๖. ลักษณะท่ีคล้ายและแตกตา่ งกนั ของภาษา ๗. ลักษณะของภาษาในการสือ่ สาร ๘. ลักษณะสาคัญของภาษาไทย ๙. พลังของภาษา

๑๙ ๔. ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ( Attitude ) คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคต์ ามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551  รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  อยู่อย่างพอเพียง  ซ่ือสตั ย์สจุ ริต  มงุ่ ม่นั ในการทางาน  มวี นิ ยั  รกั ความเป็นไทย  ใฝ่เรียนรู้  มจี ติ สาธารณะ คุณลกั ษณะของผู้เรียน ตามหลกั สูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล  เป็นเลศิ วิชาการ  สื่อสารสองภาษา  ล้าหน้าทางความคดิ  ผลติ งานอย่างสรา้ งสรรค์  ร่วมกันรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมโลก อตั ลักษณ์ของโรงเรยี นเชียงคาน  เรียนดี  มวี ินัย  ใฝ่กีฬา  รักษาวฒั นธรรม ๕. ดา้ นการ อา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน  การอา่ น : ข้อมลู ความรู้ ภาษาทีใ่ ชใ้ นการสื่อสาร ศึกษาชนดิ ของคาไทย และธรรมชาติของภาษา  การคดิ วเิ คราะห์ : วเิ คราะห์สรปุ ความรู้ จากเรอ่ื งภาษาที่ใชใ้ นการสือ่ สาร และธรรมชาติของภาษา  การเขยี น : อภปิ ราย ขยายความ แสดงความคดิ เห็นเขียนข้อคาถามสถานการณก์ ารสื่อสาร นาเสนองานเดย่ี ว “วจั นภาษาและอวจั นภาษา” ๖. ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน  ความสามารถในการส่อื สาร : เขียนข้อคาถามสถานการณก์ ารสอื่ สาร ชนิดของคาไทย พูดนาเสนอ งานเด่ียว “วัจนภาษาและอวจั นภาษา” งานกล่มุ “ชนดิ ของคาไทย”  ความสามารถในการคิด : คิดวิเคราะหส์ รุปความรู้ จากเร่ืองภาษาทีใ่ ช้ในการสอื่ สาร ชนิดของคาไทย และธรรมชาตขิ องภาษา ๗. ภาระงาน/ชน้ิ งาน ๗.๑ ภาระงาน ๑. ฝึกเขยี นข้อคาถามสถานการณ์การส่ือสาร ๒. การนาเสนองานเดย่ี ว “วจั นภาษาและอวัจนภาษา” ๓. นาเสนองานกลุม่ “ชนิดของคาไทย” ๔. ศึกษาทากจิ กรรม/แบบทดสอบในGoogle Classroom หอ้ งเรยี นหลกั ภาษาไทย ท ๓๓๒๐๑ ๗.๒ ชน้ิ งาน ๑. บตั รข้อสอบวจั นภาษาและอวจั นภาษา ๒. รายงานหนา้ เดียวชนดิ ของคาไทย

๒๐ ๘. การวัดและประเมนิ ผล วิธปี ระเมิน เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมินผล รายการประเมนิ ๑. ตรวจผลงานตาม - ประเมนิ ผลงาน - แบบประเมินผลงาน - ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ภาระงาน/ชน้ิ งาน - ประเมนิ การนาเสนอ - แบบประเมินการนาเสนอ รอ้ ยละ ๘๐ - การสงั เกตความถี่ - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ - ระดบั คณุ ภาพ ๒ ๒. ประเมนิ คุณลกั ษณะ พฤติกรรม/ตัวบ่งช้ี อนั พึงประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ อนั พึงประสงค์ - ประเมนิ ผลงานและ - แบบประเมินผลงาน - ระดับคณุ ภาพ ๒ กิจกรรม - ตรวจผลงานจากกิจกรรม ผา่ นเกณฑ์ ๓. ประเมินการอ่าน - การสงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมินสมรรถนะ - ระดับคุณภาพ ๒ คดิ วิเคราะห์ เขยี น การปฏบิ ตั ิตามภาระงาน ผา่ นเกณฑ์ สาคัญของผเู้ รยี น ๔. ประเมินสมรรถนะ สาคญั ของผ้เู รยี น ๙. กิจกรรมการเรียนรู้ ข้ันนาเขา้ สบู่ ทเรียน ๑. นาเข้าสู่บทเรยี น โดยครูสนทนากบั นักเรียนเกย่ี วกบั ความหมายและธรรมชาติของภาษาถูกตอ้ ง และใชก้ ารใช้ภาษาให้ถกู ตอ้ ง โดยตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของการใชภ้ าษาไทยซึง่ เป็นเอกลักษณข์ องชาติ ๒. ครแู จ้งจุดประสงค์ และวธิ กี ารเรยี นรู้ ข้อตกลงในการทากิจกรรมให้นกั เรียนทราบก่อนเรียน ขั้นสอน ๓. นักเรียนรว่ มศึกษาเรียนรูจ้ ากเอกสารประกอบการเรยี นหลกั ภาษาไทยจดบนั ทกึ การฟงั บรรยาย ลงในสมุด รว่ มแสดงความคิดเห็นเสนอคาตอบตามความรทู้ ่ีวเิ คราะหไ์ ด้ ซึ่งมหี ัวขอ้ คาถามดังนี้ - ความหมายของภาษาอย่างกว้างและแคบ - ธรรมชาตขิ องภาษา - การเปลย่ี นแปลงของภาษา - ลักษณะทคี่ ล้ายและแตกตา่ งกันของภาษา - ลักษณะของภาษาในการส่ือสาร - ลักษณะสาคัญของภาษาไทย ๔. นักเรยี นร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น และทาแบบทดสอบ โดยครูให้ข้อเสนอช่วยเหลอื ๕. นกั เรยี นฝึกเขียนขอ้ คาถามสถานการณ์การสื่อสารและการนาเสนองานเด่ยี ว “วัจนภาษาและอวจั นภาษา” ขัน้ สรุป ๖. นักเรยี นและครูร่วมกัน สรปุ เน้ือหาความหมายธรรมชาติของภาษาและภาษาท่ีใช้ในการสอื่ สาร การใช้ภาษาไทยใหถ้ กู ตอ้ ง

๒๑ ๑๐. สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้ ๑๐.๑ ส่ือ  เอกสารประกอบการสอนหลกั ภาษาไทย  แบบทดสอบความเข้าใจ  PowerPoint ๑๐.๒ แหลง่ เรียนรู้  หอ้ งสมดุ  อินเตอรเ์ นต็  Google Classroom หอ้ งเรยี นหลักภาษาไทย ท ๓๓๒๐๑ ๑๑. บนั ทกึ ผลหลงั สอน ๑๑.๑ ด้านความรู้ ๑) คะแนนเฉล่ีย ……..…………….……. คิดเป็นร้อยละ ……………….……….. ๒) นกั เรยี นผ่านเกณฑ์ ………..……… คน คิดเป็นรอ้ ยละ ……………..……..….. ไม่ผ่านเกณฑ์ ……………………….. คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ……………….....……. ๑๑.๒ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๑) คะแนนเฉลี่ย ………………..…….…. คดิ เปน็ รอ้ ยละ ……………………….. ๒) นักเรยี นผา่ นเกณฑ์ ……..………… คน คดิ เปน็ ร้อยละ ……………………….. ไม่ผ่านเกณฑ์ ………………………... คน คดิ เป็นร้อยละ ………………...……. ๑๑.๓ ดา้ นการอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น ๑) คะแนนเฉล่ีย ……..…………….……. คิดเป็นรอ้ ยละ ……………….…….. ๒) นักเรียนผา่ นเกณฑ์ ………………… คน คดิ เปน็ ร้อยละ ……………..……….. ไมผ่ ่านเกณฑ์ ……………………...... คน คิดเปน็ ร้อยละ …………..…...……. ๑๑.๔ ด้านสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ๑) คะแนนเฉลี่ย ……..………………..…. คดิ เปน็ รอ้ ยละ …………….……….. ๒) นกั เรียนผา่ นเกณฑ์ ………………… คน คิดเป็นร้อยละ ………………..…….. ไม่ผ่านเกณฑ์ ……………………...... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ………..……...…….

๒๒ ๑๒. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ๑๓. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ลงช่ือ..................................................................... (นางสาวมาลวี รรณ มนิ ดาทอง) ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ วันที่.........เดอื น....................................พ.ศ. ................... ความคิดเหน็ ของหัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ลงช่อื ..................................................................... (นางสาวมาลีวรรณ มนิ ดาทอง) ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ วนั ที.่ ........เดอื น....................................พ.ศ. ................... ความคดิ เห็นของรองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ..................................................................... (นายธรรมรัตน์ จิตรประเสริฐ) ตาแหน่ง รองผ้อู านวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ

๒๓ หนว่ ยท่ี ๒ ชื่อหนว่ ย กลมุ่ คาสร้างประโยค วชิ าหลกั ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๒๐๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ สัปดาห์ท่ี ๓ – ๕ จานวน ๖ ชวั่ โมง **************************************** ๑. ผลการเรยี นรู้ ๒. เลอื กใช้คา กลุ่มคาสร้างประโยคตรงตามวัตถปุ ระสงค์ ๔. อธิบายระบบการเรยี งคาเข้าประโยค บอกลักษณะคา กลุ่มคา ประโยคชนิดต่าง ๆ ๒. สาระสาคญั การใช้ภาษาในชวี ิตประจาวันนั้นการใชค้ าทถี่ กู ต้องเหมาะสม ตามหลักไวยากรณ์และความหมายเป็นส่ิงท่ี สาคัญที่จะส่ือความหมายได้ตรงประเด็นตามจุดมุ่งหมายของผู้ส่งสาร ดังนั้นการศึกษาหลักสาคัญในการใช้คา กลมุ่ คา การสร้างประโยคจะทาให้สามารถใชภ้ าษาในการสอ่ื สารไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ๓. สาระการเรียนรู้ ความรู้ ๔. การเลือกใช้คา ๕. การใชก้ ลมุ่ คา ๖. การสร้างประโยคในภาษาไทย ทกั ษะ/กระบวนการ ๕. ศกึ ษา วเิ คราะห์เนอื้ หาความรเู้ กีย่ วกับการเลือกใช้คา ๖. ศกึ ษา วเิ คราะห์เนื้อหาความรเู้ กีย่ วกับการใชก้ ลมุ่ คา ๗. ศึกษา วิเคราะห์เนอื้ หาความร้เู ก่ียวกับการสรา้ งประโยคในภาษาไทย ๘. สรปุ ความรูท้ าแบบทดสอบความเข้าใจ และทดสอบเก็บคะแนน คุณลกั ษณะ ๕. มีนิสัยใฝ่เรยี นรู้ ๖. มีความมงุ่ ม่นั ในการทางาน ๗. มีความสขุ ในการเรียนภาษาไทย ๘. เห็นคณุ ค่าของภาษาไทย ๔. ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (Attitude) คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑  รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  อยู่อย่างพอเพียง  ซอื่ สัตยส์ ุจริต  มงุ่ มน่ั ในการทางาน  มีวนิ ัย  รักความเปน็ ไทย  ใฝเ่ รยี นรู้  มีจิตสาธารณะ

๒๔ คณุ ลกั ษณะของผเู้ รยี น ตามหลกั สูตรโรงเรยี นมาตรฐานสากล  เปน็ เลศิ วชิ าการ  ส่อื สารสองภาษา  ลา้ หนา้ ทางความคิด  ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  รว่ มกนั รับผดิ ชอบต่อสังคมโลก อตั ลกั ษณ์ของโรงเรียนเชียงคาน  เรียนดี  มวี นิ ยั  ใฝก่ ีฬา  รักษาวฒั นธรรม ๕. ดา้ นการ อา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน ตัวชี้วัดที่ ๑ สามารถคัดสรรสอื่ ทีต่ ้องการอ่านเพื่อหาขอ้ มูลสารสนเทศไดต้ ามวัตถุประสงค์ สามารถสร้างความเข้าใจและประยุกตใ์ ชค้ วามรจู้ ากการอ่าน ตัวชี้วัดที่ ๔ สามารถสรปุ คุณคา่ แนวคิด แง่คิดทไี่ ด้จากการอ่าน ตวั ช้ีวดั ที่ ๕ สามารถสรุป อภิปราย ขยายความ แสดงความคิดเห็น โต้แยง้ สนบั สนุน โน้มน้าว โดยการเขยี นสือ่ สารในรปู แบบต่าง ๆ เช่น ผังความคดิ เปน็ ต้น ๖. ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น  ความสามารถในการสอื่ สาร ตัวชี้วัดท่ี ๑ ใชภ้ าษาถา่ ยทอดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด ความรู้สกึ และทศั นะของตนเอง ด้วยการพดู และการเขียน  ความสามารถในการคิด ตวั ชี้วดั ที่ ๑ คิดพ้ืนฐาน (การคิดวิเคราะห์) ๗. ภาระงาน/ชิ้นงาน ๗.๑ ภาระงาน ๑. นาเสนองานกลุ่ม “ชนิดของคาไทย” ๒. ฝกึ เขยี นข้อคาถามสถานการณก์ ารสื่อสาร ๓. การนาเสนองานเดี่ยว “วัจนภาษาและอวัจนภาษา” ๗.๒ ชิ้นงาน ๑. บตั รข้อสอบวจั นภาษาและอวัจนภาษา ๒. รายงานหนา้ เดยี ว “ชนดิ ของคาไทย”

๒๕ ๘. การวัดและประเมินผล วิธีประเมิน เคร่ืองมอื เกณฑ์การประเมนิ ผล รายการประเมิน ๑. ตรวจผลงานตาม - ประเมนิ ผลงาน - แบบประเมนิ ผลงาน - ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ภาระงาน/ชิน้ งาน - ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมนิ การนาเสนอ รอ้ ยละ ๗๐ - การสงั เกตความถี่ - แบบประเมินคุณลักษณะ - ระดบั คุณภาพ ๒ ๒. ประเมินคุณลักษณะ พฤตกิ รรม/ตวั บ่งช้ี อันพงึ ประสงค์ ผ่านเกณฑ์ อนั พึงประสงค์ - ประเมนิ ผลงานและ - แบบประเมินผลงาน - ระดับคุณภาพ ๒ กิจกรรม - ตรวจผลงานจากกิจกรรม ผ่านเกณฑ์ ๓. ประเมินการอ่าน - การสงั เกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ สมรรถนะ - ระดับคณุ ภาพ ๒ คดิ วิเคราะห์ เขยี น การปฏิบตั ิตามภาระงาน ผา่ นเกณฑ์ สาคญั ของผูเ้ รียน ๔. ประเมนิ สมรรถนะ สาคัญของผเู้ รียน ๙. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมนาสูก่ ารเรยี นรู้ ๓. กจิ กรรมถามตอบ ๔. กิจกรรมการศึกษาวิเคราะห์ กจิ กรรมพฒั นา ๓. ศกึ ษาวิเคราะหล์ กั ษณะความรู้ ๔. ใช้กจิ กรรมกลมุ่ และรายบุคคลในการฝึกปฏบิ ัติ กิจกรรมรวบยอด ๒. ใช้การสรุปหลักการ และการปฏิบตั ิงาน - สรุปแนวคดิ องคค์ วามรู้ - การประเมินชน้ิ งาน ๑๐. สอื่ /แหล่งเรียนรู้ ๑๐.๑ สือ่  เอกสารประกอบการสอนหลักภาษาไทย  แบบทดสอบความเข้าใจ  PowerPoint ๑๐.๒ แหลง่ เรียนรู้  ห้องสมุด  อนิ เตอรเ์ นต็  Google Classroom ห้องเรยี นหลกั ภาษาไทย ท ๓๓๒๐๑

๒๖ แผนการจัดการเรยี นรู้ ********************************** รหสั วิชา ท๓๓๒๐๑ ชอื่ วชิ า หลกั ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ หนว่ ยการเรียนรู้ ท่ี ๒ เรื่อง กลุ่มคาสร้างประโยค แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๑ เร่อื ง การเลือกใช้คาและกลุ่มคา เวลา ๓ ช่ัวโมง รูปแบบการสอนทีใ่ ช้ (แผนการจดั การเรียนร้บู ูรณาการ/กจิ กรรมการปฏิบัตจิ รงิ Active Learning/ออนไลน)์ ************************************************************** ๑. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ๒. อธบิ ายเลอื กใช้คา กลมุ่ คาสร้างประโยคตรงตามวัตถปุ ระสงค์ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. บอกความความหมายและเลอื กใช้คาและกล่มุ คาในการสื่อสารได้เหมาะสมกบั สถานการณ์ และตรงตามจดุ มงุ่ หมายทีต่ ้องการ ๒. นาเสนอ แสดงความรู้และความคดิ เหน็ ไดถ้ กู ต้องตามหลักการใชภ้ าษาอยา่ งมมี ารยาท ๓. มีความรบั ผิดชอบ ต้ังใจเรียนรู้ด้วยตนเอง และทางานรว่ มกบั ผอู้ นื่ ได้ ๒. สาระสาคัญ การใช้ภาษาในชีวติ ประจาวันนนั้ การใช้คาที่ถูกต้องเหมาะสม ตามหลักไวยากรณ์และความหมายเป็นส่ิงที่ สาคัญที่จะสื่อความหมายได้ตรงประเด็นตามจุดมุ่งหมายของผู้ส่งสาร ดังนั้นการศึกษาหลักสาคัญในการใช้คา กลุ่มคา การสรา้ งประโยคจะทาให้สามารถใชภ้ าษาในการสื่อสารได้อยา่ งถกู ต้อง ๓. สาระการเรยี นรู้ - การใช้คาและกลมุ่ คาใหถ้ ูกต้องเหมาะสม - การใชค้ าทม่ี คี วามหมายคล้ายกัน - การใชค้ าและกลุ่มคาทที่ าให้มองเห็นภาพหรือใหค้ วามร้สู ึกชัดขึ้นเปน็ พเิ ศษ - การใช้คาและกลุ่มคาในการประกอบรปู ประโยค - การใชป้ ระโยคถูกต้องตามแบบแผนของภาษา - การใช้ประโยคแสดงเจตนาในการสือ่ สาร

๒๗ ๔. ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ( Attitude ) คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551  รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  อยู่อย่างพอเพียง  ซอื่ สตั ย์สจุ ริต  มุง่ ม่ันในการทางาน  มวี ินัย  รกั ความเปน็ ไทย  ใฝเ่ รยี นรู้  มีจิตสาธารณะ คณุ ลักษณะของผู้เรยี น ตามหลกั สูตรโรงเรยี นมาตรฐานสากล  เป็นเลิศวิชาการ  สอื่ สารสองภาษา  ล้าหน้าทางความคิด  ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์  รว่ มกันรับผิดชอบตอ่ สังคมโลก อัตลักษณ์ของโรงเรียนเชียงคาน  เรยี นดี  มวี ินยั  ใฝก่ ีฬา  รกั ษาวัฒนธรรม ๕. ด้านการ อา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน  การอา่ น : ขอ้ มูลความรู้ เลอื กใช้คาและกลุ่มคาในการส่อื สารไดเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ และตรงตามจุดมุง่ หมายทีต่ ้องการ  การคดิ วิเคราะห์ : วเิ คราะหส์ รุปความรู้ จากเรอ่ื งการเลอื กใชค้ าและกลมุ่ คาในการสือ่ สารได้เหมาะสม กับสถานการณแ์ ละตรงตามจดุ มุ่งหมายทีต่ อ้ งการ  การเขียน : อภิปราย ขยายความ แสดงความคดิ เหน็ เขียนข้อคาถามสถานการณก์ ารสื่อสาร นาเสนองาน “ขอ้ บกพร่องในการใชภ้ าษา” ๖. ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน  ความสามารถในการส่ือสาร : นาเสนองาน “ขอ้ บกพร่องในการใช้ภาษา”  ความสามารถในการคิด : คิดวิเคราะห์สรุปความรู้ จากเรือ่ งการเลือกใช้คาและกลมุ่ คาในการสอ่ื สาร ได้เหมาะสมกบั สถานการณ์และตรงตามจุดม่งุ หมายท่ตี อ้ งการ ๗. ภาระงาน/ชิ้นงาน ๗.๑ ภาระงาน ๑. นาเสนองานกลุ่ม “ข้อบกพร่องในการใชภ้ าษา” ๒. ศึกษาทากิจกรรม/แบบทดสอบในGoogle Classroom ห้องเรียนหลักภาษาไทย ท ๓๓๒๐๑ ๗.๒ ชิ้นงาน ๑. แบบทดสอบ ๒. รายงานหน้าเดยี ว

๒๘ ๘. การวัดและประเมนิ ผล รายการประเมนิ วธิ ีประเมนิ เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ ผล ๑. ตรวจผลงานตาม - ประเมินผลงาน - แบบประเมนิ ผลงาน - ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ภาระงาน/ชน้ิ งาน - ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมินการนาเสนอ ร้อยละ ๗๐ - การสงั เกตความถี่ - แบบประเมินคณุ ลักษณะ - ระดบั คุณภาพ ๒ ๒. ประเมินคุณลกั ษณะ พฤติกรรม/ตัวบง่ ช้ี อนั พงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ อันพงึ ประสงค์ - ประเมนิ ผลงานและ - แบบประเมินผลงาน - ระดบั คณุ ภาพ ๒ กจิ กรรม - ตรวจผลงานจากกจิ กรรม ผา่ นเกณฑ์ ๓. ประเมนิ การอ่าน - การสงั เกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ สมรรถนะ - ระดบั คณุ ภาพ ๒ คดิ วิเคราะห์ เขยี น การปฏิบัติตามภาระงาน ผ่านเกณฑ์ สาคญั ของผเู้ รียน ๔. ประเมนิ สมรรถนะ สาคัญของผู้เรยี น ๙. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นนาเขา้ สูบ่ ทเรียน ๗. นาเขา้ สบู่ ทเรียน โดยครูสนทนากับนกั เรยี นเกย่ี วกบั การเลอื กใช้คาและกลมุ่ ในการสอ่ื สารให้ถูกตอ้ ง และเหมาะสมกับสถานการณ์และตรงตามจดุ มุ่งหมายที่ตอ้ งการ โดยตระหนักถึงความสาคญั ของการใช้ภาษาไทย ซึ่งเปน็ เอกลกั ษณ์ของชาติ ๘. ครแู จ้งจุดประสงค์ และวธิ กี ารเรียนรู้ ขอ้ ตกลงในการทากจิ กรรมให้นักเรียนทราบกอ่ นเรียน ขั้นสอน ๙. นกั เรียนร่วมศึกษาเรียนรจู้ ากเอกสารประกอบการเรยี นหลักภาษาไทยจดบันทึกการฟังบรรยาย ลงในสมุด ร่วมแสดงความคดิ เห็นเสนอคาตอบตามความร้ทู ีว่ ิเคราะหไ์ ด้ ซึง่ มีหัวข้อคาถามดังนี้ - ความหมายของคาและการเลอื กใชค้ า - ลักษณะ ประเภท คณุ ค่า และการใชส้ านวนไทย - การเลือกคา การเรยี งคา และการใช้โวหาร ๑๐. นักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น และทาแบบทดสอบ โดยครูให้ขอ้ เสนอช่วยเหลอื ข้ันสรุป ๑๑. นกั เรียนและครูร่วมกัน สรปุ เนื้อหาการเลอื กใช้คาและกลุ่มในการสือ่ สารได้เหมาะสมกับสถานการณ์ และตรงตามจุดม่งุ หมายท่ีตอ้ งการ

๒๙ ๑๐. สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้ ๑๐.๑ ส่ือ  เอกสารประกอบการสอนหลกั ภาษาไทย  แบบทดสอบความเข้าใจ  PowerPoint ๑๐.๒ แหลง่ เรียนรู้  หอ้ งสมดุ  อินเตอร์เนต็  Google Classroom หอ้ งเรยี นหลักภาษาไทย ท ๓๓๒๐๑ ๑๑. บนั ทกึ ผลหลงั สอน ๑๑.๑ ด้านความรู้ ๑) คะแนนเฉล่ีย ……..…………….……. คิดเป็นร้อยละ ……………….……….. ๒) นกั เรยี นผ่านเกณฑ์ ………..……… คน คิดเป็นรอ้ ยละ ……………..……..….. ไม่ผ่านเกณฑ์ ……………………….. คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ……………….....……. ๑๑.๒ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๑) คะแนนเฉลี่ย ………………..…….…. คดิ เปน็ รอ้ ยละ ……………………….. ๒) นักเรยี นผา่ นเกณฑ์ ……..………… คน คดิ เปน็ ร้อยละ ……………………….. ไม่ผ่านเกณฑ์ ………………………... คน คดิ เป็นร้อยละ ………………...……. ๑๑.๓ ดา้ นการอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น ๑) คะแนนเฉล่ีย ……..…………….……. คิดเป็นรอ้ ยละ ……………….…….. ๒) นักเรียนผา่ นเกณฑ์ ………………… คน คดิ เปน็ ร้อยละ ……………..……….. ไมผ่ ่านเกณฑ์ ……………………...... คน คิดเปน็ ร้อยละ …………..…...……. ๑๑.๔ ด้านสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ๑) คะแนนเฉลี่ย ……..………………..…. คดิ เปน็ รอ้ ยละ …………….……….. ๒) นกั เรียนผา่ นเกณฑ์ ………………… คน คิดเป็นร้อยละ ………………..…….. ไม่ผ่านเกณฑ์ ……………………...... คน คดิ เป็นร้อยละ ………..……...…….

๓๐ ๑๒. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ๑๓. ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ลงชอ่ื ..................................................................... (นางสาวมาลีวรรณ มินดาทอง) ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ วันท่ี.........เดือน....................................พ.ศ. ................... ความคดิ เหน็ ของหวั หนา้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ลงชอ่ื ..................................................................... (นางสาวมาลีวรรณ มนิ ดาทอง) ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ วนั ท่ี.........เดือน....................................พ.ศ. ................... ความคดิ เห็นของรองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ..................................................................... (นายธรรมรัตน์ จิตรประเสริฐ) ตาแหนง่ รองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ

๓๑ แผนการจดั การเรยี นรู้ ********************************** รหัสวชิ า ท๓๓๒๐๑ ช่อื วชิ า หลกั ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ หน่วยการเรียนรู้ ท่ี ๒ เรอื่ ง กลุ่มคาสรา้ งประโยค แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๒ เรอ่ื ง ระบบประโยคในภาษาไทย เวลา ๓ ชวั่ โมง รปู แบบการสอนที่ใช้ (แผนการจัดการเรียนรบู้ ูรณาการ/กจิ กรรมการปฏิบตั ิจริง Active Learning/ออนไลน)์ ************************************************************** ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ๔. อธิบายระบบการเรยี งคาเข้าประโยค บอกลกั ษณะคา กลมุ่ คา ประโยคชนดิ ต่าง ๆ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. อธิบายระบบการเรียงคาเขา้ ประโยค บอกลกั ษณะและแยกแยะประโยคชนดิ ต่าง ๆ ที่ใช้ในภาษาไทยได้ ๒. อธิบาย แยกแยะประโยคทม่ี โี ครงสร้างซับซอ้ นได้ ๓. นาเสนอ แสดงความรแู้ ละความคิดเห็นได้ถูกต้องตามหลกั การใชภ้ าษาอยา่ งมมี ารยาท ๔. มีความรับผิดชอบ ตั้งใจเรียนรู้ดว้ ยตนเอง และทางานรว่ มกับผู้อืน่ ได้ ๒. สาระสาคญั การใช้ภาษาในชีวติ ประจาวันน้ัน ควรมคี วามรู้ความเขา้ ใจการใช้คา การใชป้ ระโยคที่ถูกต้องเหมาะสม ตาม หลักไวยากรณ์และความหมายเปน็ ส่งิ ทสี่ าคัญที่จะสอื่ ความหมายไดต้ รงประเด็นตามจุดม่งุ หมายของผสู้ ่งสาร ๓. สาระการเรยี นรู้ ๑. ลักษณะของพยางค์ คา กลมุ่ คา และประโยค ๒. ใชค้ า กลุ่มคา และประโยคในการสือ่ สาร ๓. ประโยคท่เี น้นเจตนาของผ้สู ง่ สาร ๔. ประโยคตามรปู ประโยค ๕. ประโยคตามโครงสร้าง ๖. การใชป้ ระโยคในการส่ือสาร ๔. ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ( Attitude ) คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551  รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  อยู่อย่างพอเพียง  ซื่อสัตย์สุจริต  มุ่งมนั่ ในการทางาน  มีวนิ ัย  รกั ความเป็นไทย  ใฝ่เรียนรู้  มจี ิตสาธารณะ

๓๒ คณุ ลักษณะของผเู้ รยี น ตามหลักสูตรโรงเรยี นมาตรฐานสากล  เป็นเลิศวิชาการ  สือ่ สารสองภาษา  ล้าหนา้ ทางความคิด  ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์  รว่ มกนั รับผดิ ชอบตอ่ สงั คมโลก อัตลกั ษณ์ของโรงเรียนเชยี งคาน  เรียนดี  มวี ินยั  ใฝ่กีฬา  รกั ษาวัฒนธรรม ๕. ดา้ นการ อา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขยี น  การอ่าน : ขอ้ มลู ความรู้ เลือกใช้คาและกลมุ่ คาในการส่ือสารได้เหมาะสมกับสถานการณ์ และตรงตามจุดม่งุ หมายทีต่ อ้ งการ  การคิดวเิ คราะห์ : วิเคราะหส์ รปุ ความรู้ จากเร่อื งการเลอื กใช้คาและกลมุ่ คาในการสอ่ื สารไดเ้ หมาะสม กับสถานการณแ์ ละตรงตามจุดมงุ่ หมายท่ีต้องการ  การเขยี น : อภิปราย ขยายความ แสดงความคดิ เห็นเขยี นข้อคาถามสถานการณก์ ารสอื่ สาร นาเสนองาน “ข้อบกพรอ่ งในการใช้ภาษา” ๖. ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน  ความสามารถในการส่ือสาร : นาเสนองาน “ข้อบกพรอ่ งในการใช้ภาษา”  ความสามารถในการคิด : คิดวิเคราะหส์ รปุ ความรู้ จากเรือ่ งการเลือกใชค้ าและกลุ่มคาในการส่ือสาร ได้เหมาะสมกับสถานการณแ์ ละตรงตามจุดมงุ่ หมายที่ตอ้ งการ ๗. ภาระงาน/ช้ินงาน ๗.๑ ภาระงาน ๑. นาเสนองานกลุม่ “ข้อบกพรอ่ งในการใช้ภาษา” ๒. ศึกษาทากจิ กรรม/แบบทดสอบในGoogle Classroom หอ้ งเรยี นหลักภาษาไทย ท ๓๓๒๐๑ ๗.๒ ชิน้ งาน ๑. แบบทดสอบ ๒. รายงานหน้าเดียว

๓๓ ๘. การวัดและประเมนิ ผล รายการประเมนิ วิธปี ระเมิน เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมินผล ๑. ตรวจผลงานตาม - ประเมนิ ผลงาน - แบบประเมนิ ผลงาน - ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ภาระงาน/ชนิ้ งาน - ประเมนิ การนาเสนอ - แบบประเมินการนาเสนอ รอ้ ยละ ๗๐ - การสังเกตความถ่ี - แบบประเมินคุณลกั ษณะ - ระดบั คุณภาพ ๒ ๒. ประเมินคุณลกั ษณะ พฤตกิ รรม/ตัวบ่งช้ี อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ อันพึงประสงค์ - ประเมนิ ผลงานและ - แบบประเมนิ ผลงาน - ระดบั คุณภาพ ๒ กิจกรรม - ตรวจผลงานจากกจิ กรรม ผ่านเกณฑ์ ๓. ประเมนิ การอ่าน - การสังเกตพฤติกรรม - แบบประเมนิ สมรรถนะ - ระดบั คณุ ภาพ ๒ คดิ วิเคราะห์ เขยี น การปฏิบตั ิตามภาระงาน ผา่ นเกณฑ์ สาคญั ของผเู้ รยี น ๔. ประเมินสมรรถนะ สาคัญของผ้เู รียน ๙. กิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั นาเขา้ สบู่ ทเรยี น ๑๒. นาเข้าสูบ่ ทเรยี น โดยครูสนทนากับนักเรียนเกย่ี วกบั การเลอื กใช้คาและกลุ่มในการส่อื สารให้ ถูกต้อง และเหมาะสมกบั สถานการณ์และตรงตามจุดมงุ่ หมายทีต่ ้องการ โดยตระหนักถึงความสาคัญของการใชภ้ าษาไทย ซึง่ เปน็ เอกลักษณ์ของชาติ ๑๓.ครูแจง้ จดุ ประสงค์ และวิธกี ารเรยี นรู้ ข้อตกลงในการทากจิ กรรมใหน้ ักเรียนทราบกอ่ นเรยี น ขน้ั สอน ๑๔.นักเรียนร่วมศกึ ษาเรียนรจู้ ากเอกสารประกอบการเรยี นหลักภาษาไทยจดบนั ทึกการฟังบรรยาย ลงในสมดุ รว่ มแสดงความคิดเห็นเสนอคาตอบตามความรทู้ ว่ี เิ คราะหไ์ ด้ ซ่งึ มหี วั ข้อคาถามดงั นี้ - ความหมายของคาและการเลอื กใช้คา - ลกั ษณะ ประเภท คณุ ค่า และการใช้สานวนไทย - การเลือกคา การเรยี งคา และการใช้โวหาร ๑๕.นกั เรยี นร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ และทาแบบทดสอบ โดยครูใหข้ อ้ เสนอช่วยเหลอื ขั้นสรปุ ๑๖. นักเรียนและครูร่วมกนั สรุปเน้ือหาการเลอื กใช้คาและกลุ่มในการสื่อสารไดเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ และตรงตามจุดมงุ่ หมายท่ีตอ้ งการ

๓๔ ๑๐. สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้ ๑๐.๑ ส่ือ  เอกสารประกอบการสอนหลักภาษาไทย  แบบทดสอบความเข้าใจ  PowerPoint ๑๐.๒ แหลง่ เรียนรู้  หอ้ งสมดุ  อินเตอรเ์ นต็  Google Classroom หอ้ งเรยี นหลักภาษาไทย ท ๓๓๒๐๑ ๑๑. บนั ทกึ ผลหลงั สอน ๑๑.๑ ด้านความรู้ ๑) คะแนนเฉล่ีย ……..…………….……. คิดเป็นร้อยละ ……………….……….. ๒) นกั เรยี นผ่านเกณฑ์ ………..……… คน คิดเป็นรอ้ ยละ ……………..……..….. ไม่ผ่านเกณฑ์ ……………………….. คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ……………….....……. ๑๑.๒ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๑) คะแนนเฉลี่ย ………………..…….…. คดิ เปน็ รอ้ ยละ ……………………….. ๒) นักเรยี นผา่ นเกณฑ์ ……..………… คน คดิ เปน็ ร้อยละ ……………………….. ไม่ผ่านเกณฑ์ ………………………... คน คดิ เป็นร้อยละ ………………...……. ๑๑.๓ ดา้ นการอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น ๑) คะแนนเฉล่ีย ……..…………….……. คิดเป็นรอ้ ยละ ……………….…….. ๒) นักเรียนผา่ นเกณฑ์ ………………… คน คดิ เปน็ ร้อยละ ……………..……….. ไมผ่ ่านเกณฑ์ ……………………...... คน คิดเปน็ ร้อยละ …………..…...……. ๑๑.๔ ด้านสมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น ๑) คะแนนเฉลี่ย ……..………………..…. คดิ เปน็ รอ้ ยละ …………….……….. ๒) นกั เรียนผา่ นเกณฑ์ ………………… คน คิดเป็นร้อยละ ………………..…….. ไม่ผ่านเกณฑ์ ……………………...... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ………..……...…….

๓๕ ๑๒. บันทกึ ผลการจดั การเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ๑๓. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ลงช่อื ..................................................................... (นางสาวมาลวี รรณ มนิ ดาทอง) ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ วันท.่ี ........เดอื น....................................พ.ศ. ................... ความคดิ เห็นของหวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ลงชื่อ..................................................................... (นางสาวมาลีวรรณ มนิ ดาทอง) ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ วันท่ี.........เดอื น....................................พ.ศ. ................... ความคิดเหน็ ของรองผอู้ านวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ..................................................................... (นายธรรมรตั น์ จิตรประเสริฐ) ตาแหนง่ รองผูอ้ านวยการกล่มุ บรหิ ารวชิ าการ

๓๖ หน่วยท่ี ๓ ช่ือหนว่ ย ระดบั ภาษา วิชาหลักภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๒๐๑ กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ สัปดาห์ที่ ๖ จานวน ๒ ชั่วโมง **************************************** ๑. ผลการเรียนรู้ ๑. ใช้ภาษาในการตดิ ตอ่ สื่อสารไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล ๒. สาระสาคญั การศึกษาความรู้เก่ียวกับระดับภาษาจะช่วยให้พูดและเขียนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ สัมพันธภาพของ บุคคลเพอ่ื สื่อสารไดเ้ ข้าใจทง้ั ผู้ส่งสารและผูร้ ับสารและบังเกิดสมั ฤทธิ์ผลตามความมุ่งหมาย ๓. สาระการเรยี นรู้ ความรู้ ๗. ระดบั ภาษา ๘. การใชภ้ าษาในระดับต่าง ๆ ๙. ขอ้ แตกตา่ งของภาษาเขียนและภาษาพูด ทักษะ/กระบวนการ ๙. ศึกษา วิเคราะห์เนอ้ื หาความร้เู ก่ยี วกบั ระดับภาษา ๑๐.ศึกษา วเิ คราะห์เนอ้ื หาความร้เู ก่ียวกับการใช้ภาษาในระดบั ตา่ ง ๆ ๑๑.ศึกษา วเิ คราะห์เน้ือหาความร้เู กยี่ วกบั ข้อแตกต่างของภาษาเขยี นและภาษาพูด ๑๒.สรปุ ความรูท้ าแบบทดสอบความเข้าใจ และทดสอบเกบ็ คะแนน คณุ ลักษณะ ๙. มีนสิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ ๑๐.มคี วามมงุ่ ม่นั ในการทางาน ๑๑.มีความสขุ ในการเรียนภาษาไทย ๑๒.เหน็ คณุ ค่าของภาษาไทย ๔. ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (Attitude) คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑  รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  อยู่อย่างพอเพียง  ซ่ือสัตย์สุจรติ  มุง่ มัน่ ในการทางาน  มวี ินัย  รกั ความเปน็ ไทย  ใฝเ่ รียนรู้  มีจิตสาธารณะ

๓๗ คณุ ลกั ษณะของผู้เรียน ตามหลกั สตู รโรงเรยี นมาตรฐานสากล  เป็นเลศิ วิชาการ  ส่ือสารสองภาษา  ลา้ หนา้ ทางความคดิ  ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์  รว่ มกันรบั ผิดชอบตอ่ สังคมโลก อัตลักษณข์ องโรงเรียนเชยี งคาน  เรยี นดี  มวี นิ ัย  ใฝ่กีฬา  รกั ษาวัฒนธรรม ๕. ดา้ นการ อา่ น คิดวเิ คราะห์และเขยี น ตวั ชว้ี ัดท่ี ๑ สามารถคดั สรรส่อื ท่ตี อ้ งการอ่านเพ่อื หาข้อมูลสารสนเทศไดต้ ามวตั ถุประสงค์ สามารถสร้างความเข้าใจและประยุกตใ์ ชค้ วามร้จู ากการอ่าน ตวั ชวี้ ัดท่ี ๔ สามารถสรปุ คณุ ค่า แนวคิด แง่คดิ ทีไ่ ด้จากการอา่ น ตัวชีว้ ัดท่ี ๕ สามารถสรปุ อภิปราย ขยายความ แสดงความคดิ เห็น โตแ้ ยง้ สนบั สนนุ โนม้ นา้ ว โดยการเขียนสอื่ สารในรปู แบบตา่ ง ๆ เช่น ผงั ความคิด เปน็ ตน้ ๖. ด้านสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น  ความสามารถในการส่ือสาร ตวั ชี้วัดท่ี ๑ ใชภ้ าษาถา่ ยทอดความรู้ ความเขา้ ใจ ความคิด ความรู้สึกและทศั นะของตนเอง ดว้ ยการพดู และการเขียน  ความสามารถในการคดิ ตัวชี้วัดที่ ๑ คิดพน้ื ฐาน (การคดิ วเิ คราะห์) ๗. ภาระงาน/ชิน้ งาน ๗.๑ ภาระงาน ๑. นาเสนองานกลมุ่ “แสดงละครระดับภาษา” ๒. การเขยี นบทละครสะท้อนภาษาในระดับตา่ ง ๆ ๗.๒ ชิน้ งาน ๑. แบบทดสอบความเข้าใจ ๒. แบบทดสอบเกบ็ คะแนน

๓๘ ๘. การวัดและประเมินผล วิธีประเมิน เคร่ืองมอื เกณฑ์การประเมนิ ผล รายการประเมนิ ๑. ตรวจผลงานตาม - ประเมินผลงาน - แบบประเมนิ ผลงาน - ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ภาระงาน/ชิน้ งาน - ประเมนิ การนาเสนอ - แบบประเมนิ การนาเสนอ ร้อยละ ๘๐ - การสงั เกตความถี่ - แบบประเมินคุณลักษณะ - ระดับคณุ ภาพ ๒ ๒. ประเมินคุณลักษณะ พฤตกิ รรม/ตวั บ่งช้ี อันพงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ อนั พึงประสงค์ - ประเมนิ ผลงานและ - แบบประเมินผลงาน - ระดบั คณุ ภาพ ๒ กจิ กรรม - ตรวจผลงานจากกิจกรรม ผ่านเกณฑ์ ๓. ประเมินการอ่าน - การสงั เกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ สมรรถนะ - ระดบั คณุ ภาพ ๒ คิดวิเคราะห์ เขียน การปฏบิ ตั ิตามภาระงาน ผา่ นเกณฑ์ สาคญั ของผูเ้ รียน ๔. ประเมนิ สมรรถนะ สาคัญของผเู้ รียน ๙. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมนาสูก่ ารเรยี นรู้ ๕. กจิ กรรมถามตอบ ๖. กิจกรรมการศึกษาวิเคราะห์ กจิ กรรมพฒั นา ๕. ศกึ ษาวเิ คราะหล์ ักษณะความรู้ ๖. ใช้กจิ กรรมกลมุ่ และรายบุคคลในการฝึกปฏบิ ัติ กิจกรรมรวบยอด ๓. ใช้การสรุปหลักการ และการปฏิบตั ิงาน - สรุปแนวคดิ องคค์ วามรู้ - การประเมนิ ชน้ิ งาน ๑๐. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๑๐.๑ สือ่  เอกสารประกอบการสอนหลักภาษาไทย  แบบทดสอบความเข้าใจ  PowerPoint ๑๐.๒ แหลง่ เรียนรู้  ห้องสมุด  อนิ เตอรเ์ น็ต  Google Classroom ห้องเรยี นหลกั ภาษาไทย ท ๓๓๒๐๑

๓๙ แผนการจดั การเรยี นรู้ ********************************** รหัสวชิ า ท๓๓๒๐๑ ชื่อวชิ า หลกั ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ หน่วยการเรยี นรู้ ท่ี ๓ เรอ่ื ง ระดับภาษา แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑ เรือ่ ง ระดับภาษา เวลา ๒ ช่วั โมง รูปแบบการสอนที่ใช้ (แผนการจดั การเรียนรูบ้ ูรณาการ/กิจกรรมการปฏิบัตจิ ริง Active Learning/ออนไลน)์ ************************************************************** ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ๓. ใช้ภาษาในการติดต่อสือ่ สารไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. อธิบายและวิเคราะหก์ ารใช้ภาษาระดบั ต่างระดบั ได้ ๒. แสดงละครนาเสนอ แสดงความรูก้ ารใช้ภาษาระดับตา่ ง ๆ ไดถ้ กู ต้องอยา่ งมีมารยาท ๓. มีความรับผิดชอบ ตงั้ ใจเรียนรู้ด้วยตนเอง และทางานรว่ มกบั ผู้อ่นื ได้ ๒. สาระสาคญั การศึกษาความรู้เกี่ยวกับระดับภาษาจะช่วยให้พูดและเขียนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ สัมพันธภาพของ บุคคลเพอื่ ส่อื สารได้เข้าใจทั้งผู้สง่ สารและผรู้ ับสารและบังเกดิ สมั ฤทธิ์ผลตามความมุ่งหมาย ๓. สาระการเรียนรู้ - ระดับภาษา - การใช้ภาษาในระดบั ตา่ ง ๆ - ขอ้ แตกต่างของการใชภ้ าษาเขยี นและภาษาพูด ๔. ด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ( Attitude ) คุณลักษณะอันพงึ ประสงคต์ ามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551  รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  อยู่อย่างพอเพียง  ซ่อื สัตย์สุจรติ  ม่งุ มน่ั ในการทางาน  มวี ินัย  รกั ความเป็นไทย  ใฝเ่ รียนรู้  มีจติ สาธารณะ

๔๐ คณุ ลักษณะของผเู้ รียน ตามหลกั สูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล  เปน็ เลิศวิชาการ  สอื่ สารสองภาษา  ล้าหนา้ ทางความคิด  ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  รว่ มกันรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมโลก อตั ลักษณ์ของโรงเรียนเชียงคาน  เรยี นดี  มีวินัย  ใฝ่กฬี า  รักษาวฒั นธรรม ๕. ดา้ นการ อา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน  การอ่าน : ข้อมูลความรู้ เลือกใช้ภาษาระดบั ตา่ ง ๆ ในการสอ่ื สารไดเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ และตรงตามจดุ มงุ่ หมายทีต่ ้องการ  การคดิ วเิ คราะห์ : วิเคราะห์สรปุ ความรู้ จากเรือ่ งระดบั ภาษาในการส่อื สารได้เหมาะสม กับสถานการณแ์ ละตรงตามจุดมุ่งหมายท่ีตอ้ งการ  การเขียน : บทละครสะท้อนภาษาในระดบั ตา่ ง ๆ ตามสถานการณ์การสือ่ สาร ๖. ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น  ความสามารถในการสื่อสาร : แสดงละครนาเสนอ “การใช้ภาษาระดับตา่ ง ๆ”  ความสามารถในการคิด : คิดวิเคราะหส์ รปุ ความรู้ จากเรอ่ื งระดับภาษาในการสอื่ สาร ได้เหมาะสมกับสถานการณแ์ ละตรงตามจุดมงุ่ หมายทต่ี อ้ งการ ๗. ภาระงาน/ช้นิ งาน ๗.๑ ภาระงาน ๑. นาเสนองานกลุม่ “แสดงละครระดับภาษา” ๒. การเขยี นบทละครสะทอ้ นภาษาในระดบั ต่าง ๆ ๓. ศึกษาทากิจกรรม/แบบทดสอบในGoogle Classroom ห้องเรยี นหลกั ภาษาไทย ท ๓๓๒๐๑ ๗.๒ ช้นิ งาน ๑. แบบทดสอบความเข้าใจ ๒. แบบทดสอบเกบ็ คะแนน

๔๑ ๘. การวัดและประเมนิ ผล วิธปี ระเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การประเมินผล รายการประเมนิ ๑. ตรวจผลงานตาม - ประเมินผลงาน - แบบประเมินผลงาน - ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ภาระงาน/ชน้ิ งาน - ประเมนิ การนาเสนอ - แบบประเมินการนาเสนอ รอ้ ยละ ๘๐ - การสังเกตความถ่ี - แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ - ระดบั คณุ ภาพ ๒ ๒. ประเมนิ คณุ ลักษณะ พฤตกิ รรม/ตวั บ่งชี้ อนั พึงประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ อันพึงประสงค์ - ประเมินผลงานและ - แบบประเมินผลงาน - ระดบั คณุ ภาพ ๒ กจิ กรรม - ตรวจผลงานจากกจิ กรรม ผา่ นเกณฑ์ ๓. ประเมนิ การอา่ น - การสงั เกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ สมรรถนะ - ระดับคณุ ภาพ ๒ คดิ วเิ คราะห์ เขยี น การปฏิบัติตามภาระงาน ผา่ นเกณฑ์ สาคญั ของผูเ้ รยี น ๔. ประเมินสมรรถนะ สาคัญของผเู้ รยี น ๙. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้นั นาเข้าสบู่ ทเรียน ๑๗.นาเข้าสบู่ ทเรยี น โดยครูสนทนากับนักเรียนเกย่ี วกบั การเลือกใช้ภาษาในระดบั ต่าง ๆ ในการส่อื สาร ให้ถกู ต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์และตรงตามจุดม่งุ หมายท่ีต้องการ โดยตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของการใช้ ภาษาไทยซึ่งเป็นเอกลกั ษณ์ของชาติ ๑๘.ครูแจง้ จุดประสงค์ และวธิ ีการเรยี นรู้ ข้อตกลงในการทากจิ กรรมใหน้ ักเรยี นทราบกอ่ นเรยี น ข้นั สอน ๑๙. นักเรยี นรว่ มศึกษาเรียนรูจ้ ากเอกสารประกอบการเรียนหลักภาษาไทยจดบนั ทกึ การฟังบรรยาย ลงในสมุด รว่ มแสดงความคดิ เหน็ เสนอคาตอบตามความรทู้ ่ีวิเคราะห์ได้ ซึ่งมีหวั ขอ้ คาถามดงั นี้ - ระดับภาษา - การใชภ้ าษาในระดับต่าง ๆ - ข้อแตกตา่ งการใชภ้ าษาเขยี นและภาษาพูด ๒๐. นักเรยี นแบง่ กลุ่มตามความสมคั รใจกลมุ่ ละ ๕ คน ๒๑. นักเรียนแตล่ ะกลุม่ ร่วมการเขียนบทละคร แสดงสถานการณ์การใชภ้ าษาในระดับต่าง ๆ ๒๒. นกั เรยี นแสดงละครนาเสนอเนอ้ื เรอื่ งที่ แสดงสถานการณก์ ารใชภ้ าษาในระดบั ตา่ ง ๆ ๒๓. นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น และทาแบบทดสอบ โดยครใู หข้ ้อเสนอชว่ ยเหลอื ขน้ั สรปุ ๒๔. นกั เรียนและครูรว่ มกนั สรุปเนอ้ื หาการใช้ภาษาในการสอื่ สารไดเ้ หมาะสมกับสถานการณ์และ ตรงตามจดุ มุ่งหมายทต่ี ้องการ

๔๒ ๑๐. สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้ ๑๐.๑ ส่ือ  เอกสารประกอบการสอนหลกั ภาษาไทย  แบบทดสอบความเขา้ ใจ  PowerPoint ๑๐.๒ แหลง่ เรียนรู้  หอ้ งสมดุ  อนิ เตอรเ์ นต็  Google Classroom หอ้ งเรยี นหลักภาษาไทย ท ๓๓๒๐๑ ๑๑. บนั ทกึ ผลหลงั สอน ๑๑.๑ ด้านความรู้ ๑) คะแนนเฉลี่ย ……..…………….……. คิดเป็นร้อยละ ……………….……….. ๒) นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์ ………..……… คน คิดเป็นรอ้ ยละ ……………..……..….. ไม่ผ่านเกณฑ์ ……………………….. คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ……………….....……. ๑๑.๒ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๑) คะแนนเฉลี่ย ………………..…….…. คดิ เปน็ รอ้ ยละ ……………………….. ๒) นักเรียนผ่านเกณฑ์ ……..………… คน คดิ เปน็ ร้อยละ ……………………….. ไม่ผ่านเกณฑ์ ………………………... คน คดิ เป็นร้อยละ ………………...……. ๑๑.๓ ดา้ นการอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น ๑) คะแนนเฉล่ีย ……..…………….……. คิดเป็นรอ้ ยละ ……………….…….. ๒) นักเรียนผ่านเกณฑ์ ………………… คน คดิ เป็นร้อยละ ……………..……….. ไมผ่ ่านเกณฑ์ ……………………...... คน คิดเปน็ ร้อยละ …………..…...……. ๑๑.๔ ด้านสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น ๑) คะแนนเฉลี่ย ……..………………..…. คดิ เป็นรอ้ ยละ …………….……….. ๒) นกั เรียนผา่ นเกณฑ์ ………………… คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ………………..…….. ไม่ผ่านเกณฑ์ ……………………...... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ………..……...…….

๔๓ ๑๒. บนั ทึกผลการจัดการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ๑๓. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ลงชื่อ..................................................................... (นางสาวมาลีวรรณ มินดาทอง) ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ วนั ท.ี่ ........เดือน....................................พ.ศ. ................... ความคิดเหน็ ของหัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ลงชอ่ื ..................................................................... (นางสาวมาลีวรรณ มนิ ดาทอง) ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ วนั ท่.ี ........เดือน....................................พ.ศ. ................... ความคดิ เห็นของรองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ..................................................................... (นายธรรมรตั น์ จิตรประเสริฐ) ตาแหน่ง รองผอู้ านวยการกล่มุ บรหิ ารวิชาการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook