วารสารศลิ ปากรศกึ ษาศาสตรว์ จิ ยั การพัฒนาสอ่ื มัลตมิ เี ดยี เพ่อื การเรยี นร้ ู เร่ือง ดนตรีจีนชมุ ชนบางหลวง ปที ี่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มถิ ุนายน 2556) อนริ ทุ ธ์ สติม่นั - สมหญิง เจริญจติ รกรรม - เอกนฤน บางทา่ ไม้ - น�ำ้ มนต์ เรอื งฤทธิ์ การพัฒนาสอ่ื มลั ตมิ ีเดียเพ่ือการเรียนร้ ู เร่ือง ดนตรีจีนชุมชนบางหลวง The Development of Multimedia for Learning on Bang Luang’s Chinese Music อนริ ุทธ์ สติมนั่ * Anirut Satiman สมหญงิ เจรญิ จติ รกรรม** Somying Jaroenjittakam เอกนฤน บางทา่ ไม้*** Eknarin Bangthamai นำ้� มนต์ เรืองฤทธิ*์ *** Nammon Ruangrit บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพ่ือศึกษาบริบทและภูมิปัญญาท้องถ่ินเกี่ยวกับดนตรีจีน ของชมุ ชนบางหลวง 2) เพอ่ื สร้างและพฒั นาสอื่ มลั ตมิ ีเดยี เพอ่ื การเรียนรู้ เรื่อง ดนตรจี นี ของชุมชนบางหลวง 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อมัลติมีเดีย เร่ือง ดนตรีจีนของ ชุมชนบางหลวง และ 4) เพื่อศึกษาความคิดห็นของผู้ใช้ส่ือมัลติมีเดียเรื่อง ดนตรีจีนของชุมชนบางหลวง กล่มุ ตวั อยา่ งทใี่ ช้ในการศึกษาบรบิ ทและภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ได้แก่ ประธานชุมชน ประธานวฒั นธรรม ผใู้ หญ่ บา้ นทม่ี คี วามคนุ้ เคยในชมุ ชน ปราชญช์ าวบา้ นดา้ นดนตรจี นี ผเู้ ชยี่ วชาญและผมู้ ปี ระสบการณใ์ นการสอนดนตรี จีนในชุมชนบางหลวง และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองส่ือได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเจยี้ นหัว อ�ำเภอบางเลน จังหวดั นครปฐม จ�ำนวน 32 คน ได้มาโดยวิธีการสุม่ แบบยกชน้ั (Cluster Sampling) ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุมชนบางหลวงเป็นชุมชนชาวไทยเช้ือสายจีนท่ีอพยพมาต้ังรกรากอยู่ ณ ตำ� บลบางหลวงเมอ่ื 100 กว่าปีที่ผ่านมา วัฒนธรรมการเลน่ ดนตรจี ีนนำ� มาจากประเทศจนี , การเล่นดนตรี เกดิ ขน้ึ ในชว่ งเวลาวา่ งจากการทำ� งาน เปน็ การรวมกลมุ่ ของสมาชกิ ในชมุ ชนกลางตลาด รปู แบบวธิ กี ารถา่ ยทอด และการเล่นเป็นการเล่นสืบทอดต่อกันมา เคร่ืองดนตรีท่ีใช้เล่นดนตรี ประกอบด้วย ขลุ่ย ซอ ล้อ มีการรวมตัวกันจัดตั้งวงดนตรีจีน ชื่อคณะรวมมิตรบางหลวง โน้ตท่ีใช้ในการสอนและการถ่ายทอดเป็น โน้ตจีนโบราณโดยน�ำต้นแบบมาจากประเทศจีน 2) ส่ือมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เร่ือง ดนตรีจีนของชุมชน บางหลวงที่ผ่านการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญด้านมัลติมีเดียมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก โดยมีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 4.50 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.29 และโดยผเู้ ชยี่ วชาญด้านเนอื้ หามีคณุ ภาพอยูใ่ นระดบั ดี มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.33 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.36 และประสิทธิภาพของส่ือมัลติมีเดียเพื่อ การเรียนรู้ เรื่อง ดนตรีจีนของชุมชนบางหลวง มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.14/80.06 ซ่ึงผ่านตามเกณฑ์ *, ***, **** อาจารย์ ดร. ภาควิชาเทคโนโลยีการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ** รองศาสตราจารย์ ภาควชิ าเทคโนโลยกี ารศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร 34
วารสารศิลปากรศกึ ษาศาสตร์วิจยั การพัฒนาส่อื มลั ตมิ ีเดียเพื่อการเรียนร้ ู เรอ่ื ง ดนตรจี ีนชุมชนบางหลวง ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มถิ นุ ายน 2556) อนริ ทุ ธ์ สตมิ ัน่ - สมหญงิ เจริญจติ รกรรม - เอกนฤน บางทา่ ไม้ - น�ำ้ มนต์ เรอื งฤทธ์ิ ทีก่ �ำหนด 3) ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนก่อนเรียนกบั หลังเรยี นดว้ ยสื่อมลั ติมีเดียพบวา่ คะแนนหลงั การเรยี นรู้ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ความคิดเห็นของผู้เรียนท่ีมีต่อการเรียนด้วยส่ือ มลั ตมิ เี ดียอย่ใู นระดับดี โดยมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.33 สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.60 คำ� ส�ำคัญ : มลั ตมิ เี ดีย/ ดนตรีจนี / สื่อเพอ่ื การเรียนรู/้ เทคโนโลยีการศึกษา Abstract The objectives of this study were: 1) to study the context and local wisdom of Bang Luang’s Chinese music; 2) to develop the multimedia for learning on Bang Luang’s Chinese music; 3) to compare pretest and posttest learning achievements of students who learned via multimedia for learning on Bang Luang’s Chinese music; and 4) to study the students’ opinion towards the multimedia for learning on Bang Luang’s Chinese music. The subjects were community leaders, cultural leaders, headmen, local wisdom men, experts in Chinese music and 32 secondary students from Jeanhua School, Bang Luang’s, Nakornpatom. The results of the study were as follows: 1) In the context and local wisdom of Bang Luang’s Chinese music, the study found that the community consisted of the Thai-Chinese, who had evacuated and settled down at Bang Luang about a hundred years ago. They brought their music from China. Socializing with their neighbors in a market community.The way the music was played was taught among the community members from generation to generation. The instruments were Klui (a Thai flute), Sor (a Thai traditional stringed instrument) and Lor (another Thai stringed instrument). The music was instructed through the ancient notes, whose origin was from China. 2) The multimedia for learning on Bang Luang’s Chinese music had the efficiency criterion at 81.14/80.06 according to the set criterion. 3) The posttest of the learning achievement of students who learned via the multimedia of Bang Luang’s Chinese music for learning was higher than the pretest at a significant level of .05 and 4) The students who learned via the multimedia for learning on Bang Luang’s Chinese music showed their opinion at a good level. Keywords : Multimedia/ Chinese Music/ Media for Learning/ Educational Technology บทน�ำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ การศกึ ษาของประเทศไทยมคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ กำ� หนดใหม้ กี ารใชเ้ ทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษาเขา้ มาชว่ ย และให้ความสนใจการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาบุคลากรเพ่ือให้มีความรู้ มีความสามารถ เพอื่ การศกึ ษาเปน็ อยา่ งมาก เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความ ท่ีจะใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมอย่างมีคุณภาพและ เปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม โดยเหน็ ได้จาก มีประสิทธิภาพ โดยได้ก�ำหนดให้ผู้เรียนมีสิทธิ์ได้รับ 35
วารสารศลิ ปากรศึกษาศาสตร์วจิ ัย การพัฒนาสอื่ มลั ติมีเดยี เพอื่ การเรียนรู้ เรอ่ื ง ดนตรีจีนชุมชนบางหลวง ปที ี่ 5 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม - มิถุนายน 2556) อนริ ุทธ์ สตมิ นั่ - สมหญงิ เจรญิ จติ รกรรม - เอกนฤน บางท่าไม้ - นำ�้ มนต์ เรอื งฤทธิ์ การพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพ่ือ ชาวบ้านที่เป็นผู้เช่ือมโยงชุดความรู้ท่ีเป็นภูมิปัญญา การศึกษาในโอกาสแรกท่ีท�ำได้ เพื่อให้มีความรู้และ ท้องถิ่นร่วมกับสถานศึกษาเข้าสู่หลักสูตร และ ทกั ษะเพยี งพอทจี่ ะใชเ้ ทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษาในการ กระบวนการเรียนการสอนของสถานศึกษาในแต่ละ แสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอด ท้องถิ่น สถานศึกษาทุกแห่งทุกระดับถือเป็นตัวแทน ชีวิต การนำ� เทคโนโลยีเพอ่ื การศกึ ษาเข้ามาใชจ้ ะชว่ ย ของรฐั ในการจดั การศกึ ษา และดำ� เนนิ การตามเจตนารมณ์ ใหผ้ ูเ้ รียนไดเ้ รยี นรอู้ ย่างกวา้ งขวางย่ิงข้ึน เรียนได้เรว็ ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ดังน้ันจ�ำเป็น ข้ึน การเรียนรู้จะเกิดข้ึนได้ในทุกเวลา ทุกสถานท่ี ต้องมีการจัดแหล่งการเรียนรู้ส�ำหรับผู้เรียนให้เรียน ผู้เรียนจะมีอิสระในการเสาะแสวงหาความรู้ มีความ ได้เต็มศักยภาพและมีประสิทธิภาพ โดยค�ำนึงถึง รับผิดชอบต่อตัวเอง เป็นการเปิดโอกาสได้เรียนรู้ ความสอดคล้องเหมาะสมกับท้องถิ่น (กระทรวง ตามความสามารถซ่ึงจะสนองต่อความต้องการของ ศึกษาธิการ, 2551) ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นส่ิงท่ีมี แต่ละบุคคลได้เป็นอย่างดี เป็นการน�ำโลกภายนอก ความส�ำคัญและจ�ำเป็นต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เข้ามาสู่ห้องเรียนท�ำให้ช่องว่างระหว่างห้องเรียนกับ ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำ� คัญเพราะเป็นลักษณะการเรียนรู้ สังคมลดน้อยลง อีกทั้งท�ำให้เกิดความเสมอภาค ที่เน้นให้ผู้เรียนฝึกทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์ ทางการศึกษา โดยทุกคนมีโอกาสในการเข้ารับ การจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติ การศึกษามากขึ้น การเรียนการสอนเปน็ กระบวนการ ให้ท�ำได้ ท�ำเป็น เรียนรู้จากส่ือและแหล่งวิทยากร สอ่ื สารและถา่ ยทอดความรู้ ประสบการณ์ ทกั ษะ ความ ประเภทตา่ งๆ เกิดความรกั ในท้องถิน่ ชว่ ยกันอนุรักษ์ คิดเห็น ตลอดจนเจตคติระหว่างผู้สอนและผู้เรียน และเผยแพร่ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินใหค้ งอยู่ตอ่ ไป ดังน้ันในการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ชุมชนบางหลวงปัจจุบันตั้งอยู่ในต�ำบล กระบวนการจดั การเรยี นรจู้ งึ จำ� เปน็ ตอ้ งพฒั นาศกั ยภาพ บางหลวง อำ� เภอบางเลน จังหวดั นครปฐม เปน็ ชมุ ชน ความสามารถของผู้เรียนอย่างเต็มท่ี เพ่ือให้มีนิสัย ท่ีเก่าแก่ตามประวัติศาสตร์นานนับร้อยปี มีข้อ ใฝร่ ใู้ ฝเ่ รยี น แสวงหาความรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง การนำ� แหลง่ สันนิษฐานจากหลักฐานหลายอย่างว่าบริเวณน้ีเคย เรียนรู้ในชุมชน ตลอดจนวิทยากรและภูมิปัญญา เป็นเมอื งเก่าแกเ่ มอื งหนึง่ เพราะมีพวกเศษกระเบือ้ ง ทอ้ งถ่ิน มาใชป้ ระโยชน์ในกระบวนการเรยี นการสอน ดินเผาอยู่ทั่วไปและมีมูลดินเป็นลักษณะคูเมือง จึงเป็นวิถีทางหนึ่งที่จะช่วยให้กระบวนการเรียนการ ในสมัยทีเ่ มืองอู่ทองเปน็ ราชธานแี ห่งหนง่ึ ในลุ่มแม่น�้ำ สอนบรรลุจดุ ม่งุ หมายได้ตามทตี่ อ้ งการ ทา่ จนี จนกระทงั่ ถงึ สมยั รชั กาลที่ 5 แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ การน�ำภูมปิ ัญญาชาวบ้าน แหล่งเรียนรู้ มาใช้ มีการตั้งชุมชนเป็นมณฑล อ�ำเภอและต�ำบล เมื่อ ในการจดั การเรยี นการสอน จงึ เปน็ กจิ กรรมทต่ี ง้ั อยบู่ น พ.ศ. 2446 บรเิ วณน้จี ึงได้ชือ่ ว่า “ตำ� บลบางหลวง” พื้นฐานความเชือ่ ทว่ี ่า ภมู ิปญั ญาชาวบ้าน ภูมปิ ญั ญา ชาวชุมชนบางหลวงให้ความส�ำคัญกับการเล่นดนตรี ท้องถ่ิน และแหล่งเรียนรู้ เป็นชุดความรู้ในชุมชน เป็นอย่างมาก และวฒั นธรรมประเพณีท่ีโดดเด่นของ ท่ีมีการใช้เพื่อการด�ำเนินวิถีชีวิตที่ได้ผลมาในอดีต ชมุ ชนบางหลวง คอื การเลน่ ดนตรีจนี บางหลวง ทง้ั นี้ สามารถด�ำรงความสันติสุขแกบ่ คุ คล ครอบครัว และ เนอ่ื งจากบรรพบรุ ษุ ชาวชมุ ชนบางหลวงสว่ นใหญอ่ พยพ ชมุ ชน ตลอดจนอย่รู ว่ มกับธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม มาจากเมืองจีนและมาต้ังถิ่นฐานในต�ำบลบางหลวง ไดอ้ ยา่ งผสมกลมกลนื เปน็ กระบวนการพฒั นาหลกั สตู ร แห่งนี้ ชาวจีนท่ีอพยพมานั้นมีหลายเช้ือสายด้วยกัน ท่ีเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยเฉพาะปราชญ์ มีท้งั ชาวแต้จิ๋ว ชาวกวางตุง้ ชาวฮกเกีย้ นหรือชาวแคะ 36
วารสารศิลปากรศกึ ษาศาสตร์วจิ ัย การพฒั นาสอ่ื มลั ติมเี ดียเพ่ือการเรยี นร ู้ เรอ่ื ง ดนตรจี นี ชมุ ชนบางหลวง ปีท่ี 5 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม - มถิ นุ ายน 2556) อนริ ทุ ธ์ สตมิ ่ัน - สมหญงิ เจรญิ จิตรกรรม - เอกนฤน บางทา่ ไม้ - นำ้� มนต์ เรอื งฤทธิ์ เปน็ ตน้ ในการอพยพมาตงั้ ถนิ่ ฐานในประเทศไทยของ ผู้เรียนด�ำเนนิ ไปไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ท�ำให้ผเู้ รียน ชาวจนี น้ัน ได้น�ำเครือ่ งดนตรจี ากเมืองจีนมาดว้ ย มคี วามเขา้ ใจความหมายของเนอ้ื หาบทเรยี นไดต้ รงกบั ดนตรีจีนบางหลวง คือภูมิปัญญาท้องถ่ิน ท่ีผู้สอนต้องการ (กิดานันท์ มลิทอง, 2543: 89) ทสี่ ำ� คัญของชาวชมุ ชนบางหลวง และมีบทบาทอย่าง นอกจากน้ี สอ่ื ยงั เปน็ เครอ่ื งมอื ของการเรยี นรู้ ทำ� หนา้ ที่ มากกบั โรงเรียนภายในชมุ ชนบางหลวง โดยโรงเรยี น ถา่ ยทอดความรู้ ความเขา้ ใจ ความรสู้ กึ เพม่ิ พนู ทกั ษะ ในท้องถิ่นได้มีการน�ำดนตรีจีนบางหลวง เข้ามาเป็น และประสบการณ์ สร้างสถานการณ์การเรียนรู้ให้แก่ ส่วนหนึ่งในหลักสูตรท้องถ่ินของโรงเรียน ทั้งน้ี ผู้เรียน กระตุ้นให้เกิดการพัฒนาศักยภาพทาง เพ่ือให้นักเรียนได้เรียนรู้ถึงความส�ำคัญ ช่วยกัน ความคิด ตลอดจนสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม อนุรักษ์และสืบทอดดนตรีจีนบางหลวง ซึ่งเป็น และคา่ นยิ มใหแ้ กผ่ เู้ รยี น และเปน็ ตวั กระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี น ภูมิปัญญาท้องถ่ินของชุมชนแต่จากการสัมภาษณ์ กลายเป็นผู้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (กระทรวง ผู้ที่ท�ำหน้าท่ีถ่ายทอดการสอนดนตรีจีนในชุมชน ศึกษาธิการ, 2539: 6) สื่อมัลติมีเดียเป็นสื่อทาง บางหลวง พบวา่ มปี ัญหาในการถ่ายทอดและการสอน ด้านคอมพิวเตอร์อีกประเภทหน่ึงที่นิยมน�ำมาใช้ใน ดนตรจี ีนในชมุ ชนบางหลวง ซ่งึ มีหลายสาเหตุ ไดแ้ ก่ ด้านการศึกษาเป็นอย่างมาก สามารถเช่ือมทฤษฎี ผู้สอนหรือผู้ถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นดนตรีจีนบาง และการปฏิบัติเข้าด้วยกัน กล่าวคือ ให้โอกาสผู้ใช้ หลวง นน้ั เรม่ิ มอี ายมุ ากขน้ึ ตามกาลเวลาทเ่ี ปลย่ี นแปลง บทเรียนได้ทดลองปฏิบัติในสิ่งท่ีได้เรียนในห้องเรียน ไป เยาวชน/นกั เรยี น ผสู้ บื ทอดภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ เรอ่ื ง ในสภาพแวดล้อมที่เรียนด้วยความรู้สึกสบายใจ ดนตรีจีนบางหลวง มีเวลาฝึกซ้อมน้อยลงเมื่อศึกษา มัลติมีเดียช่วยเปลี่ยนผู้ใช้บทเรียนจากสภาพ ในช้นั ท่สี งู ขน้ึ และระดบั ความรู้ ความสามารถ ความ การเรยี นรใู้ นเชงิ รบั (Passive) มาเปน็ เชงิ รกุ (Active) ช�ำนาญและความสนใจของผู้เรียนแตกต่างกัน การ (บปุ ผชาติ ทัฬหกิ รณ์, 2544) โดยองค์ประกอบของ ขาดแคลนบุคลากรและงบประมาณในการฝึกซ้อม มัลติมิเดียวจะประกอบดว้ ยตวั อกั ษร (Text) ภาพนง่ิ และผู้เรียนชอบการเรียนแบบผสมผสาน ทันสมัย (Still Image) ภาพเคล่ือนไหวหรืออะนิเมชัน ทำ� ใหผ้ ูส้ อนไมอ่ าจตอบสนองความต้องการได้ (วริ ฬุ (Animation) เสียง (Sound) และวิดีโอ (Video) เหลย่ี ววงคภ์ ูธร, สัมภาษณ์. 27 พฤศจกิ ายน 2553) โดยผ่านกระบวนการทางระบบคอมพิวเตอร์เพื่อสื่อ จากปัญหาดังกล่าวพบว่าแนวทางแก้ไขเพ่ือ ความหมายกับผู้ใช้อย่างมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive ช่วยท�ำให้องค์ความรู้เร่ืองดนตรีจีนในชุมชนยังคงอยู่ Multimedia) และได้บรรลุตามวัตถุประสงค์การใช้ มกี ารสบื ทอดไดต้ ลอดไป และหาแนวทางสร้างสรรค์ งานซงึ่ ถอื ไดว้ า่ เปน็ กจิ กรรมทผ่ี ใู้ ชส้ ามารถเลอื กกระทำ� กระบวนการเรียนรู้และการถ่ายทอดที่ก่อให้เกิดการ ตอ่ มลั ติมีเดียไดต้ ามต้องการ เรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพมากยิง่ ขึ้น โดยเลอื กวธิ ี การศกึ ษาวจิ ยั ครงั้ นม้ี งุ่ ทจี่ ะศกึ ษาถงึ การพฒั นา การนำ� เอาเทคโนโลยเี ขา้ มาชว่ ยในกระบวนการถา่ ยทอด นวัตกรรมในรูปแบบสื่อมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ และการเรียนรู้ หรือท่เี ราเรียกกนั วา่ เทคโนโลยกี าร ที่จะเสนอในเรื่องของความรู้นวัตกรรมดนตรีจีนของ ศึกษา ซ่ึงเป็นการประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ชุมชนบางหลวง จังหวัดนครปฐม โดยนำ� เสนอเปน็ อยา่ งมรี ะบบและน�ำมาใชใ้ นกระบวนการเรยี นรู้ แกไ้ ข ส่ือเผยแพร่ให้ผู้ท่ีสนใจศึกษาความรู้เกี่ยวกับประวัติ ปัญหาและพัฒนาการศึกษาให้ก้าวหน้า สื่อการสอน ความเป็นมา ภูมิปัญญาท้องถ่ิน เครื่องดนตรีจีน เป็นตัวกลางท่ีช่วยให้การส่ือสารระหว่างผู้สอนและ ประเภทต่างๆ รวมถึงบทเพลงจีนท่ีได้เก็บบันทึก 37
วารสารศิลปากรศึกษาศาสตรว์ ิจยั การพฒั นาสือ่ มลั ติมีเดียเพ่ือการเรียนร ู้ เรือ่ ง ดนตรจี นี ชุมชนบางหลวง ปที ี่ 5 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม - มถิ นุ ายน 2556) อนิรุทธ์ สตมิ ่ัน - สมหญงิ เจริญจติ รกรรม - เอกนฤน บางท่าไม้ - นำ้� มนต์ เรอื งฤทธิ์ เรอ่ื งราวและถ่ายทอดมาเป็นระยะเวลาทีน่ าน โดยใช้ ข้ันที่ 1 การศึกษาบริบทและภูมิปัญญา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และมัลติมีเดียเก็บบันทึก ท้องถ่ินเกย่ี วกบั ดนตรีจีนของชมุ ชนบางหลวง และนำ� เสนอผา่ นสอื่ คอมพวิ เตอรท์ ปี่ ระกอบดว้ ยภาพ การดำ� เนนิ การในขนั้ นใ้ี ชก้ ระบวนการสนทนา และเสยี งถา่ ยทอดความรู้ไปสู่ผู้สนใจ สามารถทีจ่ ะน�ำ กลมุ่ (Focus Group Discussion) ในการศกึ ษาบรบิ ท ไปใช้ประกอบในการเรียนรู้ทั้งในและนอกหลักสูตร ดา้ นเน้อื หาดนตรีจนี จากผนู้ ำ� ชมุ ชน ปราชญ์ชาวบา้ น ซึ่งผู้ใช้สามารถเรียนรู้จากส่ือได้ด้วยตนเอง โดยมี ครูดนตรีจีน ผู้จัดการสถานศึกษาในเขตบางหลวง วัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพ่ือศึกษาบริบท ครอู าจารย์ทส่ี อนดนตรีจีน กระบวนการสนทนากลุม่ และภูมิปัญญาท้องถ่ินเกี่ยวกับดนตรีจีนของชุมชน การด�ำเนินการวิจัยมีการสร้างแบบการสนทนากลุ่ม บางหลวง 2) เพ่ือสร้างและพัฒนาส่ือมัลติมีเดีย และน�ำไปให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบความเท่ียงตรง เพ่ือการเรียนรู้ เร่ือง ดนตรจี นี ของชุมชนบางหลวงให้ เชงิ เนือ้ หา (Content Validity) แล้วนำ� มาวิเคราะห์ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 3) เพื่อเปรียบเทียบผล หาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อค�ำถาม IOC = สัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วยส่ือ Index of Item Objective Congruence ซ่งึ ผลได้ มลั ติมเี ดยี เร่ือง ดนตรีจนี ของชุมชนบางหลวง และ คา่ ดัชนีความสอดคลอ้ งเท่ากบั 1.00 จึงน�ำแบบการ 4) เพื่อศกึ ษาความคิดห็นของผ้เู รยี นทม่ี ตี ่อการเรยี น สนทนากลมุ่ ไปใชใ้ นการจัดประชุมสนทนากลุ่ม เรอ่ื ง ดว้ ยสอื่ มลั ตมิ เี ดยี เรอ่ื ง ดนตรจี นี ของชมุ ชนบางหลวง ดนตรีจีนชุมชนบางหลวง มีการสนทนาแลกเปล่ียน ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญที่เป็น วิธีดำ� เนนิ การวจิ ยั กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาบริบทชุมชนและภูมิปัญญา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาบริบทและ ท้องถ่ิน การเรียนรู้และถ่ายทอดเกี่ยวกับดนตรีจีน ภูมิปัญญาท้องถื่นเกี่ยวกับดนตรีจีนของชุมชน ของชมุ ชนบางหลวง ซง่ึ ไดน้ ำ� ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการสนทนา บางหลวงได้แก่ ประธานชุมชน ประธานวัฒนธรรม กลุ่มมาวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) ท่ีได้ ผใู้ หญบ่ า้ นท่ีมีความคนุ้ เคยในชมุ ชน ปราชญช์ าวบา้ น จากการสนทนา สรปุ เป็นองค์ความร้แู ละเปน็ แนวทาง ด้านดนตรจี นี ผ้เู ชีย่ วชาญและมีประสบการณ์ในการ ในการออกแบบและสร้างสอ่ื มัลตมิ ีเดีย เร่อื ง ดนตรี สอนดนตรจี นี ในชุมชนบางหลวง จ�ำนวน 10 คน และ จนี ชมุ ชนบางหลวง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองสื่อได้แก่ นักเรียน ขั้นที่ 2 การพัฒนาส่ือมัลติมีเดียเพื่อ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรยี นเจยี้ นหวั อำ� เภอบางเลน การเรยี นรู้ เรอื่ ง ดนตรีจนี ชมุ ชนบางหลวง จังหวัดนครปฐม จ�ำนวน 32 คน ไดม้ าโดยวิธีการสมุ่ ด�ำเนินการศึกษาเน้ือหาดนตรีจีน ชุมชน แบบยกช้ัน (Cluster Sampling) บางหลวง วเิ คราะหห์ ลกั สูตร วตั ถปุ ระสงค์และศึกษา การวิจัยคร้ังน้ีใช้แผนการทดลองแบบกลุ่ม วิธีการสร้างสื่อมัลติมีเดียจากเอกสารและงานวิจัยที่ เดยี วสอบกอ่ นและหลงั (One-Group Pretest-Posttest เกย่ี วขอ้ ง สร้างแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง และ Design) ซ่งึ มีขนั้ ตอนต่างๆ ดังน้ี น�ำไปสัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญด้านการออกแบบสื่อ มัลติมีเดียและผู้เช่ียวชาญด้านเน้ือหาดนตรีจีน บางหลวง น�ำความคิดเห็นและข้อสรุปที่ได้จากการ สมั ภาษณ์ การศกึ ษาและวเิ คราะหเ์ นอ้ื หาเกยี่ วกบั ดนตรี จีนบางหลวงจากขั้นท่ี 1 การสนทนากลุ่ม มาเป็น 38
ชุมชนบางหลวง วปาีทรี่ ส5ารฉศบลิับปทา่ี กดข1ร้านัํ(ศมเึกทกนษรี่ิาาน2คศมากกสา-ตารมรรว์ิถศพิจนุ ึกัยาฒั ยษนนา2าเ5นส5้ื6ื่ออ)มหัลาดตนิมีเตดรียีจเพีนอื่ อวกนิเริาคุทรรธเ์ ารสะตียกมิหานรน่ั พ์หร-ฒัู้ ลสเนรมกัา่ือหสสญง่อื ูิงมตดลัเรนจตรมิตญิวเี ดจรตั ิตียีจถรเพกนี ุปรอื่ ชรกรมุมาะร-เชสเรอียนงกนคนบรฤ้ ูแ์า นเงลรบือ่หะางงลศทดวึ่ากนไงตมษร้ -ีจานีนวชำ้� ิธมุมนีชกตนา์บเรราอืงสหงฤรลทว้าธงง์ิ ส่ือ มลั ติมีเดียจากเอกสารและงานวิจยั ที่เก่ียวขอ้ ง สร้างแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างนาํ ไปสัมภาษณ์ ผแเู้ ชนี่ยววทชาางญในดกา้ นารกกา�ำรหอนอกดแรูปบแบบสบื่อกมิจลั กตริมรีเดมียกแาลรเะรผียเู้ ชนี่ยรวู้ ชาตญอนดทา้ นี่ 1เนด้ือนหตราจีดนี นใตนรชีจมุ ีนชนบบางางหหลลววงงนตาํอคนวทา่ี ม2คปิดรเะหเภ็นท แเวพกแพผโทแกิธลลาฒดั �ำ่ีผื่ลไอรีกะะยหดนสใขนบขามนห้จานรออภ้ทีขดสา้สวคทสูมภก้ัน่ืจอดอั าํนริาสุกดตมแดแุพปาปาอาลลนัคกทรยรน(ตะละลศSะี่ไงกปิม้นอุ่มึtสกดาoาีเรงนาํงษจ้ดรrะกแคyมสาียาเbับกล์าทรม(oเกก้ะาาโF้ัปิงนaรงาตาดห็lrนเดผรรdoยรรมเัแสลง)wียมวรนดนรใัมนีจยีข้ีหมววภส้นนัCม1าท้สาวอตพ)ทษhิธาอนบองั้ฒงaีกัณดอ�ำนคใรrาทคอ์นนtาวรกก)ฤลยกวากาาาลสัดษอ้มแรราแะื่รแงบอสฎศถลเกกลีึบแมูกรกอะาบัํ้ะาลษัีสยลตหงบปดกะราอ้ตดนรท้แาขเาิงมกงัะงรดล้อภเนี่ีเยเเหเระปมดมราว้ีูปมวี1พยีู็ินนลยกิเ)แานคบั ะบรกนสอบดตขแบาาอะมาํอาท้ลอรกทกนหแวงเิ้นจวพแเเฤด์ลักไทนคนลบปษแะรอื้่ีร้ืองบลตปรฎือ่หแ4หมะรสีงแรหาวปาดกดับลรง่ทเจนครา้นกาะปักสรงะณตุ่ีตยขษรเเอเรวรรปอม้คุงะจีีจีบกย็า่นมิแนกีนนีนปบั 4ูกลแผาบแรรด)รไ้ทผลลาู้ะปนนขกงนี่ไะเ2หำฏ�ตามํผดภ)สหิลบริเู้นจู้มอื่ชีนจวันตาคิมสย่ีงีน3กิาเํดุณลัาวคไ)ตกบจยตชปรภอุาดางมิาื่อปรางนาญปเีงพหศนดรทเรดดึขึกกยีโลี่ะา้น(3ดีทยษษวFนสตยนส่ีงเlาาสงoรรผผจรทโคอ่ืwยีีา้าเูู้้้เปงักม์งชนตกชหเารลั่ียรรขอ่ียCรแมวูต้ยีต้นนัวเhชกบมัวิรดชททaีโยารรเีมrานดี่อ้ญ่ีนมt1ญา)ต้ยี5ย ค(อSมtoพryิวbเตoaอrรd์ส) ร้วางมสทื่อง้ั รมาลัยตลิมะเี ดอียแดลเกะย่ี ใวชกโ้ บัปกราแรกวดัรมแลคะอมพผิวลเตกอารป์กระาฟเมิ กินอดอ้ากนแเบนื้อบหานอา้ ยจู่ใอน(รSะcดreับeดnี มDีคeะsiแgนn)น รตโตดขคไสอแปปะดอ่าอนา้วอน่ืรอรมดเยเน้ตฉับะสกมะทบผัโทรเปลดนแนัลเูี่มีได้ ่ีชี่รตยบย�อ2ำดตีินงุี่ยมเอแนบแกิม้ทแปผวีคนลำ�หนาีํเก่ารลชเะดหะทนะสกไ้ะาแตีขยขน่ีา้เนบัญ25ภนจแรอด)อทด3บวนล4งไเจ).า้ขนผทะเนว(3ฉนสSเอู้ือใ5เ้�ำเชโพลชอขเcงไหน่ียด่ีrปย้โเลยีบาควe้ปืยอเปงนทคทeชรนรหแรโnแี่สื่อว่าาแาปหํึกาบกญ่างวเDกดรส่ษงมดง่บันแแรคeนอนานถมลเกsผ4ุณอบตูอกตiคะร.gู้เก3รีคเยตมรนชอนnี6เจีงา่จ้คอี่ยปาม)ํ้ือีนเีนสไ4อบงว็นพตห)ปแ่บวเชมนาิวหานลนทาาพม5ทเมมงญะาตํเดทิวี่แบหสาผาตอเลเ่ไีบตีะยต่ืพลอเูด้อรชงรส่งอวม้ก่ื์อกนงี่เยอฐมงรบลำ�เัรขวกอ์สาหแาตนดอชนตบ็กฟรนลิมังคมา้าอเเขนิดกปะีเทง�ญำานดอ้็ีตน่าีดยมทรกทา้5ูลี่เเแ0ขฐบั3นทฉี่สตอล.าต5ล่าเสนร่องะรอก6ี่ย้ผาื่ีอไเยปนับงทเ้เูปนมรเทช0ด่ารดับลัร.่ยีก่า4ีย้า3งัู้ตปตกวบ.ับนน43วัิมับชร้รสี5แโุ0งตาีเ้อ่ืดอน.แญลอ54ยีสยมกะต้6นแ.แ3่วั้ลปไผลลทดตขน6ตรละวา้้อี่สเ1ัิบมนนกไบนสื่อี�ำปเดาปส่ียท่วมดไรนต่ืงอรปน่ีัีปลยเุ4รงตมทบเอตรวแบรลัดนทะิยมจีกจ่ยตลมเสูกี่ัเใีนไ้มงิมอดนาษอเขใินีตเงบียรดบนะสเรดะนตกียกปื่ชฐอาด้มอาบ็าาุมรนมมับรยานขะชลัเตปขใู่ด้อเนเนนทมตร้อฏีม้ือฐบิ่ิานมริเบมูลหกาสะีาเคตีตคันดับงาดนุณ่อิเ่าเีอหยคบัอทเไภตย0ลรฉปดแ่าู่ใ่ืาา.อวลกีน3พนมมงงับ่ีย4ะี ข้ันที่ 3 การทดลองและหาประสิทธิภาพ เจ้ียนหัว โดยมีข้ันตอนการด�ำเนินการทดลองหา ส่ือมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เร่ืองดนตรีจีนชุมชน ประสิทธิภาพ 3 ขนั้ ตอนดงั น้ี ข้ันทดลองรายบุคคล บางหลวง (Individual Tryout) ทดลองกบั นักเรียนจำ� นวน 3 น�ำสื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ดนตรีจีนชุมชน คน เพ่ือทดสอบประสิทธิภาพเบื้องต้นและปรับปรุง บางหลวงท่ีผ่านการประเมินคุณภาพจากผู้เช่ียวชาญ แก้ไข ขั้นทดลองกลุ่มยอ่ ย (Small Group Tryout) แลว้ ไปทดลองใชเ้ พอื่ หาประสิทธภิ าพสอื่ กับนักเรียน ทดลองกับนักเรียนจ�ำนวน 9 คน เพ่ือหาแนวโน้ม ซึ่งเป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน ประสทิ ธภิ าพสอื่ ตรวจสอบคณุ ภาพตามวตั ถปุ ระสงค์ 39
วารสารศลิ ปากรศึกษาศาสตรว์ จิ ัย การพัฒนาสื่อมัลตมิ ีเดยี เพือ่ การเรียนรู้ เรื่อง ดนตรจี นี ชมุ ชนบางหลวง ปที ่ี 5 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2556) อนริ ุทธ์ สตมิ ่ัน - สมหญิง เจริญจติ รกรรม - เอกนฤน บางท่าไม้ - นำ�้ มนต์ เรอื งฤทธิ์ และน�ำข้อมูลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไขในส่วนท่ีบกพร่อง ผลการศึกษา ข้ันทดลองภาคสนาม (Field Tryout) ทดลองกับ 1. บริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่นเก่ียวกับ นักเรียนจ�ำนวน 20 คน เพ่ือหาประสิทธิภาพส่ือ ดนตรีจีนของชุมชนบางหลวงพบว่า ชุมชนบางหลวง มัลติมีเดียและปรับปรุงแก้ไข ผลการวิเคราะห์หา เปน็ ชมุ ชนชาวไทยเชอ้ื สายจนี ทอี่ พยพมาตง้ั รกรากอยู่ ประสทิ ธภิ าพส่ือมลั ตมิ เี ดยี เพ่ือการเรยี นรู้ เรอื่ งดนตรี ณ ตำ� บลบางหลวง เมอื่ 100 กวา่ ปที ผ่ี า่ นมา วฒั นธรรม จ8นี1ช.4มุ 0ช/น8บ0า.6งห0ลซว่ึงงผพ่าบนวเา่กมณปี ฑระท์ ส่ีไทิดธก้ ภิำ� หาพนดEไ1ว/้E2 เทา่ กบั การเล่นดนตรีจีน นำ� มาจากประเทศจนี เวลาการเลน่ ดนตรจี นี เกดิ ขึน้ ในช่วงเวลาวา่ งจากการท�ำงาน มกี าร ขน้ั ที่ 4 การทดลองเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิ รวมกลุ่มของสมาชิกในชุมชนกลางตลาด มีการจิบ ทางการเรียนและศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อสื่อ นำ�้ ชากันและเลน่ ดนตรีไปด้วย และเลน่ ในเวลาเหงา มัลตมิ เี ดีย คิดถึงบ้าน รูปแบบวิธีการถ่ายทอดและการเล่นเป็น หลังจากส่อื มัลติมีเดีย เรื่อง ดนตรจี นี ชมุ ชน การเล่นสืบทอดต่อๆ กันมา เครื่องดนตรีท่ีใช้เล่น บางหลวงไดผ้ า่ นทดลองการประสิทธภิ าพแล้ว นำ� สื่อ ดนตรี ประกอบด้วย ขลุ่ย ซอ ล้อ มีการรวมตวั กนั จดั มัลติมีเดียดังกล่าวไปด�ำเนินการทดลองเพ่ือศึกษา ตั้งวงดนตรีจีน ช่อื คณะรวมมติ รบางหลวง โดยคนใน เปรียบเทียบการเรียนด้วยส่ือมัลติมีเดีย เรื่องดนตรี ชุมชนจัดต้ังเป็นวงขึ้นมากันเอง การสอนวิธีการเล่น จีนชุมชนบางหลวง โดยทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง ดนตรีถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น โดยผู้สอนดนตรีจีนเป็น ทีเ่ ป็นนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรยี นเจี้ยนหัว คนในชุมชนท่ีสืบทอดกันมา มีครูดนตรีจีน ปัจจุบัน ขั้นตอนการทดลองมีการแนะน�ำการใช้บทเรียน ชอ่ื อาจารย์เฉาบู้ เป็นอาจารย์รนุ่ ที่ 3 ได้ท�ำการสอน การเข้าสู่บทเรียน การท�ำแบบทดสอบก่อนเรียน และมศี ิษย์รนุ่ ที่ 4 รุ่นที่ 5 ปัจจบุ นั รนุ่ ที่ 6 โนต้ ทใี่ ช้ใน จากน้ันเขา้ ศกึ ษาเนือ้ หาบทเรียนตามหัวข้อตอนตา่ งๆ การสอนและการถา่ ยทอดเปน็ โนต้ จนี โบราณซง่ึ มอี ายุ พร้อมกับท�ำแบบฝึกหัดในแต่ละตอน หลังจากน้ัน สี่ถึงห้าพันปีโดยน�ำต้นแบบมาจากประเทศจีนเป็น ผู้เรียนท�ำแบบทดสอบหลังเรียน และแบบสอบถาม ดนตรจี นี โบราณของชมุ ชน การสบื สานดนตรวี ฒั นธรรม ความคิดเห็นท่ีมีต่อการเรียนด้วยส่ือมัลติมีเดีย ตา่ งๆ ในชุมชนโดยงานพิธกี ารตา่ งๆ ในชุมชนมกี ารใช้ เพอื่ การเรยี นรู้ เรอ่ื ง ดนตรจี ีนชมุ ชนบางหลวง หลงั วงดนตรีจีนร่วมบรรเลงอย่อู ย่างสม�ำ่ เสมอ จากข้ันตอนการทดลองแล้วน�ำผลท่ีได้ไปด�ำเนินการ 2. ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของส่ือ วเิ คราะห์และสรปุ ผลการวิจยั ตอ่ ไป มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง ดนตรีจีนชุมชน บางหลวง โดยทดลองกับนักเรียนจ�ำนวน 20 คน พบว่ามีประสิทธิภาพสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เร่ืองดนตรีจีนชุมชนบางหลวง E1/E2 เท่ากับ 81.40/80.60 40
วารสารศลิ ปากรศกึ ษาศาสตรว์ ิจยั การพฒั นาส่ือมลั ตมิ ีเดยี เพ่ือการเรียนร ู้ เรื่อง ดนตรจี นี ชุมชนบางหลวง ปที ่ี 5 ฉบับท่ี 1 (มกราคม - มถิ นุ ายน 2556) อนริ ทุ ธ์ สตมิ น่ั - สมหญิง เจริญจติ รกรรม - เอกนฤน บางทา่ ไม้ - น้�ำมนต์ เรืองฤทธ์ิ ตารางที่ 1 การวเิ คราะห์ประสทิ ธิภาพของส่ือมัลตมิ ีเดยี เพือ่ การเรียนรู้ เร่อื ง ดนตรจี นี ชมุ ชนบางหลวง การทดสอบ คะแนนเตม็ คะแนนรวม ร้อยละ เกณฑ์ 80/80 25 407 81.4 มปี ระสิทธิภาพ ระหวา่ งเรียน (E1) 30 484 80.6 มปี ระสทิ ธภิ าพ หลังเรยี น (E2) 3. การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการเรียนรู้ เรื่อง ดนตรีจีนชุมชนบางหลวงของนักเรียนท่ีเรียน ด้วยส่ือมัลติมีเดีย ก่อนเรียนกับหลังเรียน พบว่าคะแนนเฉล่ียหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน เม่ือทดสอบ ความแตกต่างด้วยสถิติทดสอบ t พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สามารถ อธบิ ายไดว้ า่ การเรียนดว้ ยสื่อมลั ตมิ เี ดียทำ� ใหผ้ ูเ้ รียนมีการพฒั นาความก้าวหนา้ ทางการเรยี นรู้ทีส่ ูงข้นึ ตารางท่ี 2 การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการเรียนรู้ของนักเรียนจากสื่อมัลติมีเดีย เร่ือง ดนตรีจีน ชุมชนบางหลวง การทดสอบ จำ�นวน (N) คะแนนเตม็ X S.D t Sig.(2-tailed) กอ่ นเรียน 20 30 13.3 2.94 *17.023 .000 24.2 1.77 หลงั เรยี น 20 30 * มีนัยสำ� คญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ .05 4. ความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนด้วยส่ือมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เร่ืองดนตรีจีนชุมชน บางหลวง อยใู่ นระดับมาก โดยมีคา่ เฉล่ยี เทา่ กับ 4.33 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.60 ตารางที่ 3 การวิเคราะห์ความคดิ เห็นของผเู้ รยี นท่ีมตี ่อสอ่ื มัลตมิ ีเดีย เรอื่ ง ดนตรีจีนชุมชนบางหลวง รายการประเมิน ( X ) S.D. แปลผล 1. ด้านเน้ือหา 1.1 วัตถุประสงคข์ องแต่ละเนื้อหามีความชดั เจนสอดคลอ้ งตรงตามเนอ้ื หา 4.45 0.51 มาก 1.2 เนอ้ื หาสาระมคี วามเหมาะสมและน่าสนใจ 4.00 0.56 มาก 1.3 การจดั ลำ�ดับเนื้อหาเป็นไปอย่างตอ่ เนือ่ งเขา้ ใจง่าย 4.15 0.67 มาก 1.4 เน้อื หามีการแบ่งเปน็ หัวข้อยอ่ ยๆ ที่มคี วามชัดเจนชว่ ยใหเ้ กดิ การเรียนรู้ 4.45 0.69 มาก อยา่ งต่อเนือ่ ง 41
วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย การพฒั นาสื่อมลั ติมีเดยี เพอื่ การเรยี นร ู้ เรอื่ ง ดนตรีจนี ชมุ ชนบางหลวง ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2556) อนริ ุทธ์ สติมนั่ - สมหญิง เจริญจติ รกรรม - เอกนฤน บางท่าไม้ - นำ�้ มนต์ เรอื งฤทธ์ิ รายการประเมนิ ( X ) S.D. แปลผล 1.5 เนอื้ หามคี วามเหมาะสมกับระยะเวลา 4.10 0.64 มาก มาก 1.6 ความเหมาะสมของปรมิ าณของเนอ้ื หาในบทเรียน 4.15 0.67 มาก มาก 1.7 แบบทดสอบและการประเมนิ ผลมีความสอดคลอ้ งครอบคลุมกับ 4.35 0.49 มาก วตั ถุประสงค์ มาก 1.8 เน้ือหาท่เี รียนเป็นประโยชน์สามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้ในการเรยี นการสอน 3.95 0.60 มาก เฉลี่ยรวมรายดา้ น 4.20 0.60 2. ด้านมัลตมิ เี ดีย 2.1 รปู แบบของบทเรียนมีความสวยงามและน่าสนใจ 4.30 0.66 2.2 การนาํ เข้าสู่บทเรียนทาํ ใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ความพึงพอใจทจ่ี ะศกึ ษาเนอื้ หามากขึ้น 4.15 0.59 2.3 มีคำ�แนะนำ�ในการใชบ้ ทเรียนและกิจกรรมมลี ำ�ดบั ขน้ั ตอนเหมาะสม 4.45 0.51 มาก 2.4 ตัวอักษรอ่านงา่ ยชัดเจน 4.45 0.67 มาก 2.5 ภาพท่ีใช้มีความสอดคล้องกับเนอื้ หาและช่วยส่งเสรมิ การเรียนรู้ 4.25 0.55 มาก 2.6 เสียงท่ีใช้ในการบรรยายในบทเรียนมีการกระตุ้นใหเ้ กดิ ความนา่ สนใจ 4.00 0.92 มาก 2.7 วดี โิ อประกอบบทเรียนมคี วามนา่ สนใจ สามารถทำ�ให้เขา้ ใจเนื้อหาได้มายงิ่ ข้นึ 4.30 0.57 มาก 2.8 บทเรยี นมีเทคนคิ ในการนําเสนอที่เหมาะสมและนา่ สนใจ 4.15 0.59 มาก เฉล่ยี รวมรายดา้ น 4.26 0.63 มาก 3. ด้านประโยชน์ท่ีไดร้ บั จากสอ่ื มัลติมเี ดีย 3.1 มกี ารเปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นได้ควบคมุ การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง 4.50 0.61 มากท่ีสดุ 3.2 การเรียนดว้ ยสอ่ื มลั ตมิ ีเดียช่วยทำ�ให้เข้าใจเน้อื หาบทเรียนไดง้ า่ ยขน้ึ 4.40 0.60 มาก สามารถทบทวนความรู้ไดต้ ามความตอ้ งการ 3.3 ผู้เรียนรูส้ ึกสนกุ สนานเพลิดเพลนิ และพึงพอใจกบั การเรียนดว้ ยสือ่ 4.35 0.67 มาก มัลติมเี ดีย 3.4 ประโยชน์และความรู้ที่ไดร้ ับจากการเรียนในครง้ั น้ี 4.45 0.83 มาก 3.5 หลังจากศกึ ษาสือ่ มลั ติมเี ดยี แล้วผู้เรียนได้รับความรเู้ รอื่ งดนตรจี นี ชมุ ชน 4.35 0.59 มาก บางหลวงเพม่ิ ขึ้น มาก มาก เฉลีย่ รวมรายด้าน 4.41 0.66 มาก 4. ภาพรวมของสื่อมัลติมีเดีย เรอื่ ง ดนตรจี นี ชุมชนบางหลวง มคี ุณคา่ อยู่ 4.45 0.51 ในระดบั เฉล่ียรวมทกุ ดา้ น 4.33 0.60 42
วารสารศลิ ปากรศึกษาศาสตรว์ ิจยั การพฒั นาสื่อมลั ติมีเดียเพ่อื การเรียนรู ้ เร่อื ง ดนตรีจนี ชุมชนบางหลวง ปที ี่ 5 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม - มถิ นุ ายน 2556) อนิรทุ ธ์ สตมิ ั่น - สมหญงิ เจรญิ จิตรกรรม - เอกนฤน บางทา่ ไม้ - น้ำ� มนต์ เรืองฤทธ์ิ อภิปรายและสรปุ ผลการศึกษา ดนตรจี นี ยงั คงมอี ยอู่ ยา่ งตอ่ เนอื่ งโดยงานพธิ กี ารตา่ งๆ 1. จากการศึกษาวิจัยตามวัตถุประสงค์ใน ในชุมชนมีการใช้วงดนตรีจีนร่วมบรรเลงอยู่อย่าง ข้อที่ 1 เพื่อศึกษาบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่น สม่�ำเสมอ อีกทั้งในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ยึดถือตาม เกี่ยวกับดนตรีจีนของชุมชนบางหลวง ซ่ึงเป็นการ หลักการการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นวิธีค้นหาความจริง ทำ� งานวจิ ยั ทมี่ งุ่ คน้ ควา้ ในรปู แบบ การวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ จากเหตุการณ์ และสภาพแวดล้อมท่ีมีอยู่ตามความ (Qualitative Research) ซ่ึงเป็นการวิจัยที่แสวงหา เป็นจริง โดยพยายามวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของ ความจรงิ ในสภาพทเ่ี ปน็ อยโู่ ดยธรรมชาติ (อารยี ว์ รรณ เหตุการณ์กับสภาพแวดล้อม เพ่ือให้เกิดความเข้าใจ อ่วมตานี, 2550) มีการลงพ้ืนท่ีเพ่ือเก็บข้อมูลเชิง อย่างถ่องแท้ (Insight) คณุ ภาพกบั ชมุ ชน หนว่ ยงาน โรงเรยี น ประธานชมุ ชน 2. ผลการวจิ ยั พบว่า ส่ือมลั ติมีเดียเพอ่ื การ ประธานวฒั นธรรม ผใู้ หญบ่ า้ นทมี่ คี วามคนุ้ เคยในชมุ ชน เรียนรู้ เรอ่ื งดนตรจี นี ชุมชนบางหลวง มปี ระสิทธิภาพ ปราชญ์ชาวบ้านด้านดนตรีจีน ผู้เชี่ยวชาญและ เปน็ ไปตามเกณฑท์ กี่ ำ� หนด 80/80 โดยไดค้ า่ 81.4/80.6 มีประสบการณ์ ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก เพราะได้ผ่านกระบวนการหาประสิทธิภาพหลาย การสนทนากลุ่ม ซึ่ง ชาย โพธิสติ า (2550) กล่าววา่ ขน้ั ตอนจนมีความเหมาะสม สามารถนำ� ไปทดลองใช้ วิธีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพท่ีใช้กันมากได้แก่การ จรงิ กบั กลมุ่ ตัวอย่างได้ ท�ำให้ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน สัมภาษณเ์ ชงิ ลกึ (In-Depth Interview - IDI) และ ของผู้เรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ทั้งนี้อาจเป็น การสนทนากลมุ่ (Focus Group Discussion - FGD) เพราะวา่ สื่อมลั ตมิ เี ดียเพ่อื การเรียนรู้ เรือ่ งดนตรีจีน ซ่ึงคณะผู้วิจัยได้ด�ำเนินการในเร่ืองดังกล่าว ท�ำให้ได้ ชุมชนบางหลวง ได้สร้างข้ึนตามขั้นตอนอย่างเป็น ทราบผลการวิจัยในบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่น ระบบ ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั เสาวณยี ์ สกิ ขาบณั ฑติ (2528) เกย่ี วกบั ดนตรจี นี ของชมุ ชนบางหลวง ซงึ่ พบวา่ ชมุ ชน ได้กล่าวถึงการพัฒนาสื่อก่อนท่ีจะน�ำไปใช้จริงควรจะ บางหลวงเป็นชุมชนชาวไทยเช้ือสายจีนที่อพยพมา มีการทดลองแก้ไขปรับปรุงให้ได้มาตรฐานเสียก่อน ต้งั รกรากอยู่ ณ ต�ำบลบางหลวง เม่ือ 100 กวา่ ปที ี่ เพื่อให้ทราบว่าส่ือนั้นมีคุณภาพเพียงใด มีส่ิงใดที่ยัง ผ่านมา มีวัฒนธรรมการเล่นดนตรีจีนท่ีได้น�ำมาจาก บกพร่องอยู่ โดยการนำ� ชดุ บทเรียนหรอื สอ่ื ไปทดลอง ประเทศจีน มีการรวมกลุ่มของสมาชิกในชุมชนตาม ใช้กับกลุ่มตัวอย่างหรือประชากรที่จะใช้จริง ซึ่ง การโอกาสและรวมตัวกนั จัดต้ังวงดนตรีจนี ช่อื คณะ การด�ำเนินการพัฒนาในด้านส่วนน�ำของบทเรียนได้มี รวมมิตรบางหลวง รูปแบบวิธีการถ่ายทอดการเล่น การนำ� ภาพกราฟกิ ภาพเคลอื่ นไหวมาผสมผสาน เพอ่ื ดนตรีเป็นการเล่นสืบทอดต่อๆ กันมาแบบไม่เป็น เร้าความสนใจให้นักศึกษาเกดิ การเรียนรู้ สอดคลอ้ ง ทางการ เครื่องดนตรีท่ีใช้เล่นดนตรี ประกอบด้วย กับบราวน์ (Brown, 1994: 143) ได้ศึกษาวิจัย ขลยุ่ ซอ ลอ้ วิธีการสอนเลน่ ดนตรีถ่ายทอดจากรุ่น เร่ืองมัลติมีเดียและส่วนประกอบท่ีประกอบกันเป็น สู่รุ่น โดยผู้สอนดนตรีจีนเป็นคนในชุมชนท่ีสืบทอด มัลติมีเดีย โดยใช้มัลติมีเดียซ่ึงประกอบด้วยเสียง กันมา มีครูดนตรจี ีน ปจั จุบนั ชื่อ อาจารย์เฉาบู้ เปน็ และภาพประกอบในการสอนวิชาต่างๆ ภายใน อาจารย์รุ่นท่ี 3 ได้ท�ำการสอน และมีศิษย์รุ่นท่ี 4 มหาวิทยาลัยวอชิงตัน พบว่า มัลติมีเดียเป็นเครื่อง รุ่นที่ 5 ปัจจุบันรุ่นท่ี 6 โน้ตท่ีใช้ในการสอนและ ประกอบการสอนท่ีดี สามารถแปลความหมายและ การถ่ายทอดเป็นโน้ตจีนโบราณซ่ึงมีอายุส่ีถึงห้าพันปี วิเคราะหเ์ ร่อื งเสียง ภาพ ซึง่ เป็นการผลิตมลั ติมีเดยี โดยนำ� ตน้ แบบมาจากประเทศจนี การสบื ทอดวฒั นธรรม ท่ีมีประโยชน์ต่อการเรียนการสอน ด้านเนื้อหาของ 43
วารสารศลิ ปากรศึกษาศาสตรว์ จิ ัย การพัฒนาสอื่ มัลติมเี ดียเพือ่ การเรียนรู ้ เรอื่ ง ดนตรจี นี ชุมชนบางหลวง ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มถิ นุ ายน 2556) อนริ ุทธ์ สติมั่น - สมหญงิ เจรญิ จิตรกรรม - เอกนฤน บางท่าไม้ - น้�ำมนต์ เรืองฤทธ์ิ บทเรียน โดยได้วิเคราะห์เน้ือหาให้สอดคล้องกับ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องอัตราส่วน หลักสูตร สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ท่ีต้องการจะ และรอ้ ยละ สำ� หรบั นกั เรยี นชว่ งชนั้ ที่ 3 ชน้ั มธั ยมศกึ ษา นำ� เสนอ มกี ารนำ� เสนอเนอื้ หาอยา่ งเปน็ ลำ� ดบั ขนั้ ตอน ปที ี่ 2 และ กฤตยิ า ค�ำสมาน (2549) ได้ศกึ ษาวจิ ยั ท�ำให้ผู้เรียน เรียนรู้ได้ดีกว่าการน�ำเสนอเน้ือหา เร่ือง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ครงั้ ละมากๆ ด้านการใชภ้ าษา โดยในดา้ นการใชภ้ าษา เรอ่ื ง การออกแบบภาพประกอบเรอ่ื ง สำ� หรบั นกั เรยี น มกี ารใช้ภาษาไดอ้ ย่างถกู ต้อง เหมาะสมกบั ระดับของ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ันปีที่ 2 ซ่ึงได้มีการ ผู้เรียน สามารถส่ือความหมายได้ชัดเจนเหมาะสม พัฒนาส่ือเป็นไปตามขั้นตอนและผ่านเกณฑ์การหา ด้านส่วนประกอบด้วยมัลติมีเดียมีการออกแบบหน้า ประสทิ ธภิ าพตามที่กำ� หนด จอทเี่ หมาะสม งา่ ยตอ่ การใชง้ านของนกั ศกึ ษา เนอื่ งจาก 3. การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทาง บทเรียนประกอบด้วยรูปภาพ ภาพเคลื่อนไหวและ การเรียนของผู้เรียนท่ีเรียนด้วยสื่อมัลติมีเดียเพ่ือ มีสีและขนาดตัวอักษรชัดเจน สวยงาม อ่านง่าย การเรียนรู้ เรื่องดนตรีจีนชุมชนบางหลวง พบว่า เหมาะสม มีเสียงดนตรีและเสยี งเพลงประกอบ ซ่ึง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน นักวิชาการต่างๆ ได้ให้แนวคิดด้านการออกแบบ ที่ระดับนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งน้ีเป็น ปฏิสัมพันธ์ มีการออกแบบให้ผู้เรียนใช้โปรแกรม เพราะสื่อมัลติมีเดียที่ได้พัฒนาขึ้น ได้ผ่านขั้นตอน ได้ง่าย สะดวก ควบคุมเส้นทางการใช้บทเรียนได้ ออกแบบและพฒั นา ประเมินคณุ ภาพพร้อมปรบั ปรงุ สามารถยอ้ นกลับไปยงั จุดต่างๆ ได้งา่ ย การใหผ้ เู้ รยี น แก้ไขโดยผู้เช่ียวชาญ และผ่านกระบวนการหา ได้รู้ผลการเรียนของตัวเองทันที คือการให้ผู้เรียน ประสิทธิภาพในหลายข้ันตอน อีกทั้งด้านการวัด ได้รู้ค�ำตอบท่ีถูกต้องหรือการตอบสนองของผู้เรียน ประเมินผลแบบทดสอบก็ได้ผ่านการตรวจสอบ เรียกว่า “ข้อมูลย้อนกลับ” จะเป็นการเสริมแรงให้ คุณภาพที่เหมาะสมก่อนน�ำไปใช้ ท�ำให้ผู้เรียนเมื่อ ผู้เรียนอยากท�ำกิจกรรมต่อไป ถ้าได้รับการเสริมแรง เรยี นรู้จากสอ่ื ทีม่ คี ุณภาพส่อื ต่างๆ ช่วยใหจ้ ดจำ� และมี อยู่เสมอท�ำให้เกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด โดยการบอก ความสนกุ กบั การเรยี น มกี ารปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งผเู้ รยี น ค�ำตอบให้กับผู้เรยี นไดท้ ราบ เป็นการทบทวนเนือ้ หา กับเน้ือหาและการโต้ตอบ อีกทั้งหลังเรียนด้วยส่ือ ท่ีเรียนมา อีกท้ังในการเรียนด้วยบทเรียนมัลติมีเดีย มัลตมิ ีเดียแลว้ ไดท้ ดสอบกบั แบบทดสอบทม่ี คี ณุ ภาพ เป็นการเรียนที่แตกต่างจากการเรียนปกติ ท่ีมุ่งเน้น ท�ำให้ผู้เรียนมีผลผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน ใหผ้ เู้ รยี นสามารถเรยี นไดด้ ว้ ยตนเอง เปน็ การทบทวน สูงกว่ากอ่ นเรยี น แสดงใหเ้ หน็ ว่าการถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาที่ได้ศึกษาในบทเรียน ส่งผลให้ ดว้ ยสอ่ื ทเี่ หมาะสมชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ สนใจ นักศึกษามีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่สูงข้ึน จากการ ยอมรับและเรียนรู้ด้วยตนเองได้ การเรียนด้วยสื่อ วจิ ยั พบวา่ สอ่ื มลั ตมิ เี ดยี เพอ่ื การเรยี นรู้ เรอ่ื งดนตรจี นี มลั ตมิ เี ดยี สอดคลอ้ งกบั พมิ พนั ธ ์ เดชะคปุ ต์ (2549) ผชมุา่ นชเนกบณาฑงหท์ ลกี่ วำ� หง นมดีปร8ะ0ส/8ิท0ธิภซางึ่ พเปน็Eก1/าEร2ด=ำ� เ8น1นิ .ง4า/น8ว0จิ .ยั6 กล่าววา่ การจัดการเรียนการสอนให้ผเู้ รยี นไดฝ้ กึ คดิ อย่างเป็นระบบเน้นการปฏิบัติมากกว่าการท่องจ�ำ เป็นไปตามข้ันตอนและกระบวนการวิจัยและพัฒนา เพ่ือให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ (Research and Development : R&D) ซงึ่ สอดคลอ้ ง สงั เคราะห์และสรา้ งองค์ความรู้ จะนำ� ไปสกู่ ารพัฒนา กบั การวจิ ัยของ พนิดา บัวมณี (2549) ได้ศกึ ษาวจิ ัย ทักษะกระบวนการคิดให้กับผู้เรียน นอกจากนั้น เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยส่ือมัลติมีเดียเป็นการเรียน 44
วารสารศิลปากรศึกษาศาสตรว์ ิจยั การพฒั นาสอ่ื มลั ติมีเดยี เพ่อื การเรียนร ู้ เร่ือง ดนตรีจนี ชุมชนบางหลวง ปที ี่ 5 ฉบับท่ี 1 (มกราคม - มถิ นุ ายน 2556) อนริ ุทธ์ สตมิ ัน่ - สมหญิง เจรญิ จิตรกรรม - เอกนฤน บางทา่ ไม้ - นำ้� มนต์ เรอื งฤทธิ์ ในลกั ษณะรุกหรอื เริม่ ในการเรียน (Active Learner) ผู้เชี่ยวชาญและการหาประสิทธิภาพจากกลุ่มผู้เรียน ซึ่งจะแตกต่างจากการเรียนในห้องเรียนปกติท่ีใช้ กอ่ นการทดลอง และดว้ ยลกั ษณะและคณุ สมบตั ขิ อง วิธีการสอนแบบบรรยาย ซึ่งผู้เรียนจะอยู่ในลักษณะ สอื่ และเทคนคิ วธิ กี ารทรี่ วมอยู่ในบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ ของการรบั (Passive Learner) ซ่ึงจากผลการศึกษา มัลติมีเดียมีอิทธิพลและสามารถท่ีจะจูงใจให้ผู้เรียน วจิ ยั ผลการเรียนรดู้ ว้ ยส่ือมลั ติมเี ดยี เรื่อง ดนตรีจนี สนใจเรียน ท�ำให้เกิดการเรียนรู้ได้มากขึ้น จ�ำได้ ชุมชนบางหลวงในครั้งนี้ สอดคล้องกับ ณัฐวรรณ นานข้ึน จากผลการวิจัยดังกล่าวข้างต้น แสดงให้ เฉลมิ สขุ (2551) ไดศ้ กึ ษาวจิ ยั เรอ่ื ง การเปรยี บเทยี บ เหน็ วา่ สอื่ ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการ ความสนใจและ ผลการเรียนรู้ด้วยบทเรียนมัลติมีเดียฝึกทักษะวิชา ความสามารถของแตล่ ะบคุ คลในการเรยี นของผเู้ รยี น ศิลปศึกษาเรื่องการออกแบบตกแต่งเบื้องต้นของ ได้ ท�ำให้ผู้เรียนมีความคิดเห็นในการเรียนด้วยส่ือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ท่ีมีความสามารถทาง มัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เร่ืองดนตรีจีนชุมชน ศลิ ปะแตกตา่ งกนั พบวา่ บทเรยี นมลั ตมิ เี ดยี ฝกึ ทกั ษะ บางหลวง อยู่ในระดบั มากในทุกๆ ด้าน วิชาศิลปศึกษาเร่ืองการออกแบบตกแต่งเบื้องต้น มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ 82.33/81.67 และผล ข้อเสนอแนะส�ำหรับการวจิ ยั ครัง้ ต่อไป สมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียนสูงกวา่ กอ่ นเรียนอย่าง 1. ควรมีการศึกษาวิจัยการจัดการเรียน มนี ัยส�ำคญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั .05 ได้ทำ� การวิจัยเรื่อง การสอนดนตรีด้วยสื่อมัลติมีเดียที่เน้นทักษะในการ การออกแบบระบบมลั ตมิ เี ดยี แบบปฏิสัมพันธส์ ำ� หรับ ปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติเคร่ืองดนตรี นักเรยี นชนั้ ประถมในจอรแ์ ดน โดยสงั เกตพัฒนาการ แตล่ ะชนิดได้ ความสามารถในการเรียนรู้ความรู้และทักษะใหม่ๆ 2. ควรมีการวิจัยและพัฒนาส่ือมัลติมีเดีย ของผู้เรียน เพื่อการเรียนรู้ในเรื่องอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้องกับบริบท 4. ความคิดเห็นของผู้เรียนท่ีมีต่อการเรียน ของชุมชนหรือการอนุรักษ์และเก็บรักษาความรู้และ ด้วยสื่อมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เร่ืองดนตรีจีน ภมู ปิ ญั ญาอนั มคี ณุ คา่ ของชมุ ชนตา่ งๆ เพอื่ ทำ� ใหผ้ เู้ รยี น ชมุ ชนบางหลวง อยใู่ นระดบั มากในทกุ ๆ ดา้ น เนอื่ งจาก ได้เรียนรู้ถึงวัฒนธรรมในท้องถิ่นของตนเอง และ ส่อื มัลติมเี ดียเพื่อการเรียนรู ้ เรอื่ ง ดนตรจี ีนชุมชน เป็นการเผยแพร่วัฒนธรรมท้องถิ่นต่างๆ ให้กับคน บางหลวง ที่ผลิตขึ้น เป็นรปู แบบใหมท่ ีผ่ เู้ รียนไม่เคย ในชุมชนและนักทอ่ งเท่ยี วได้รบั รู้ พบมากอ่ น เมือ่ ผ้เู รียนไดศ้ ึกษาจากสือ่ มลั ติมีเดียเพ่ือ 3. ควรศกึ ษาวจิ ยั รปู แบบและวธิ กี ารเรยี นการ การเรียนรู้ เร่อื งดนตรีจนี ชุมชนบางหลวงที่ผลิตข้ึนใช้ สอนดนตรใี นหลายๆ รปู แบบ และจากแหลง่ ข้อมูลท่ี สื่อ และเทคนิควิธีการต่างๆ ในการจัดกิจกรรมการ หลากหลาย เพื่อใหก้ ารเรยี นการสอนมปี ระสิทธภิ าพ เรียนการสอนดว้ ยส่ือมลั ตมิ เี ดยี ท่ีมอี งค์ประกอบของ มากยงิ่ ขึน้ ส่อื ตา่ งๆ ภายใน ไดแ้ ก่ ขอ้ ความ ภาพน่ิง ภาพกราฟิก วิดิทัศน์ และเสียงดนตรีและเสียงบรรยาย และส่ือ มัลติมีเดียมีขั้นตอนและกระบวนการการออกแบบ และพัฒนาส่ือเป็นไปตามข้ันตอน และค�ำนึงถึง กลุ่มผู้ ใช้ตามหลักการและแนวคิดการพัฒนาสื่อ อีกท้ังได้ผ่านการตรวจสอบประเมินคุณภาพสื่อโดย 45
วารสารศิลปากรศกึ ษาศาสตร์วิจัย การพัฒนาสอื่ มัลติมเี ดยี เพ่อื การเรยี นร ู้ เร่ือง ดนตรจี ีนชมุ ชนบางหลวง ปที ่ี 5 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม - มถิ นุ ายน 2556) อนริ ุทธ์ สติม่ัน - สมหญิง เจรญิ จิตรกรรม - เอกนฤน บางท่าไม้ - น�ำ้ มนต์ เรอื งฤทธ์ิ กติ ติกรรมประกาศ ขอขอบคุณส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) โดยการประสานงานของเครือข่ายวิจัย อดุ มศกึ ษาภาคกลางตอนลา่ งทสี่ นบั สนนุ การดำ� เนนิ งานและงบประมาณการวจิ ยั ในครงั้ นี้ ขอบคณุ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร และมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง รองศาสตราจารย์ชลีรตั น ์ พยอมแยม้ หัวหน้า แผนงานวิจยั ขอบพระคณุ ชุมชนชาวบางหลวง ครสู อนดนตรีจนี ในชุมชน ปราชญ์ชาวบ้านด้านดนตรีจนี ผนู้ ำ� ชมุ ชน และสมาชิกในชุมชนบางหลวงทุกๆ ท่าน และขอขอบพระคณุ โรงเรียนเจ้ยี นหวั ทใ่ี หค้ วามอนุเคราะห์สถานท่ี รวมทงั้ สนับสนุนการดำ� เนินงานวจิ ยั ในครง้ั นี้ เอกสารอา้ งองิ กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551. กรงุ เทพมหานคร: มปท. กระทรวงศึกษาธิการ. (2539). ภูมิปัญญาท้องถ่ินกับการจัดการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาและ มธั ยมศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ครุ สุ ภาลาดพรา้ ว. กิดานันท์ มลทิ อง. (2543). เทคโนโลยีและการส่ือสารเพือ่ การศึกษา. กรุงเทพมหานคร: อรุณการพมิ พ.์ กฤตยิ า คำ� สมาน (2549). การพฒั นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เร่ือง การออกแบบภาพประกอบเรื่อง ส�ำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ันปีที่ 2. สารนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร มหาบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีการศกึ ษา บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร. ชาย โพธสิ ิตา. (2550). การวจิ ยั เชิงคณุ ภาพ ลกั ษณะการใช้ ขัอไดเ้ ปรยี บ และข้อจ�ำกัด สถาบันวจิ ัยประชากร และสงั คม มหาวิทยาลัยมหดิ ล. (บรรยาย 21 กนั ยายน 2550). สบื ค้นเม่อื 15 ตลุ าคม 2554. http://www.http://rci2010.files.wordpress.com/2010/06/e0b980e0b89be0b8a3e0b 8b5e0b8a2e0b89ae0b980e0b987e0b8b5e0b8a2e0b89ae0b8a7e0b8b4e0b888e0b8b1e0b 8a2e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b884e0b8b8.ppt. ณฐั วรรณ เฉลมิ สขุ . (2551). การเปรยี บเทยี บผลการเรยี นรดู้ ว้ ยบทเรยี นมลั ตมิ เี ดยี ฝกึ ทกั ษะ วชิ าศลิ ปศกึ ษา เร่ือง การออกแบบตกแต่งเบื้องต้นของนักศึกษาช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5. สารนิพนธ์ปริญญา ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีการศกึ ษา บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยศลิ ปากร. บุปผชาติ ทฬั หกิ รณ์และคณะ. (2544). ความรู้เก่ียวกับส่อื มลั ตมิ ีเดยี เพอื่ การศึกษา. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพค์ ุรสุ ภาลาดพรา้ ว. พมิ พันธ ์ เดชะคปุ ต;์ พเยาว์ ยินดีสุข และราเชน มศี ร.ี (2549). การสอนคดิ ด้วยโครงการ. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 3. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. พนดิ า บัวมณี. (2549). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน กล่มุ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ เร่ือง อตั ราสว่ นและร้อยละ สำ� หรบั นักเรยี นชว่ งชนั้ ท่ี 3 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2. สารนพิ นธ์ปรญิ ญา ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารศึกษา บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. 46
วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย การพฒั นาสื่อมลั ตมิ เี ดียเพื่อการเรียนร ู้ เร่อื ง ดนตรีจนี ชมุ ชนบางหลวง ปีท่ี 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2556) อนิรทุ ธ์ สติมั่น - สมหญิง เจรญิ จติ รกรรม - เอกนฤน บางทา่ ไม้ - นำ้� มนต์ เรอื งฤทธ์ิ เพ็ญพรรณ กาญภิญโญ และคณะ. (2548). ภูมิปัญญาอาหารพ้ืนบ้านของชุมชนพื้นเมืองและชนเผ่า ลุม่ แม่น�ำ้ กก จากห้วยหมากเลีย่ มถึงบา้ นใหม่ อ�ำเภอเมือง จงั หวดั เชยี งราย. กรงุ เทพมหานคร: สำ� นักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา. มณฑณา พิพัฒน์เพ็ญ. (2540). การมีส่วนร่วมและกระบวนการถ่ายทอดความรู้ของปราชญ์ชาวบ้าน ในการสอนดนตรพี น้ื บา้ นของโรงเรยี นประถมศกึ ษา สงั กดั ส�ำนกั งานการประถมศกึ ษา จงั หวดั สงขลา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศิลปากร. วริ ุฬ เหลีย่ ววงศ์ภูธร. (2553). ผู้เช่ยี วชาญทางดา้ นดนตรจี ีน ชมุ ชนบางหลวง. สมั ภาษณ์ 5 กนั ยายน. สมชยั รตั น์วสนุ ธรา. ศกั ยภาพนครปฐม. กรงุ เทพมหานคร: สมธู เพรส จำ� กดั . ม.ป.ป. เสาวนยี ์ สิกขาบัณฑิต. (2528). เทคโนโลยีทางการศึกษา. กรงุ เทพมหานคร. ภาควิชาครศุ าสตร์เทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนอื . อารยี ว์ รรณ อ่วมตาน.ี (2554). การวจิ ัยเชงิ คุณภาพ (Qualitative research). สืบค้นเม่อื 15 ตลุ าคม 2554. www.krupai.net/qualitative_areewan.doc. Brown. Gary. (1994). Multimedia and Composition: Synthesizing Multimedia Discourse. ERIC Document Reproduction Service. No ED388227: 25-30. 47
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: