แผนงานความรว่ มมือทางเศรษฐกจิ ในอนุภมู ิภาคลุ่มแม่นา้ โขง ๖ ประเทศ Greater Mekong Subregion: GMS …..….. ความเปน็ มา แผนงานพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ในอนภุ ูมิภาคลมุ่ แม่น้าโขง ๖ ประเทศ (Greater Mekong Subregion: GMS) เริ่มในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ประกอบด้วย ไทย กัมพูชา ลาว เมียนมา เวียดนาม และจีนตอนใต้ โดยการให้ ความช่วยเหลือทางวิชาการจากธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) เพื่อจัดท้ากรอบ แ ผ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ พั ฒ น า ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ในลักษณะเกือกูลกัน บนพืนฐานของความได้เปรียบ เชิงเปรียบเทียบของแต่ละประเทศ โดยใช้การสนับสนุน ทังทางการเงินและทางวิชาการจาก ADB เป็นตัวขับเคล่ือน การพัฒนาอนุภูมิภาค เริ่มจากการเชื่อมโยงโครงข่ายระบบ โครงสร้างพืนฐาน โดยเฉพาะเส้นทางคมนาคมขนส่งและ พลงั งาน หัวใจของแผนงาน GMS เพื่อสร้างอนุภูมิภาคท่ีบูรณาการเป็นหน่ึงเดียวกัน มีความปรองดอง และความม่ังค่ังตามวิสัยทัศน์ แผนงาน GMS ได้ก้าหนดยทุ ธศาสตรร์ ว่ มกนั ๓ ดา้ น (3C) ดงั นี สร้างความเช่อื มโยง (Connectivity) ขยายความรว่ มมอื ด้านการพฒั นาโครงสร้างพนื ฐานคมนาคมระหว่างประเทศ GMS เพื่อเช่ือมโยงแนวระเบียงเศรษฐกิจ (Economic Corridors) ของอนุภูมิภาคให้สมบูรณ์ รวมทังความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามแดนในอนุภูมิภาค ลมุ่ แมน่ ้าโขง (Greater Mekong Sub-region Cross-Border Transport Agreement-GMS CBTA) เสริมสรา้ งศกั ยภาพในการแข่งขนั (Competitiveness) เร่งพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกจิ ใน GMS โดยมุง่ เน้นการเพมิ่ ศักยภาพของภาคเอกชน สรา้ งความเข้มแข็งให้กบั ชมุ ชน (Community) สรา้ งความเข้มแขง็ ในระดับชุมชนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง ให้ความส้าคัญกับการพัฒนาและการลงทุนเพ่ือ การพัฒนาทุนมนุษย์เพ่ิมขึน อีกทังยังสนับสนุนการขับเคลื่อนการพัฒนา ภายใต้กรอบเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (SDGs) /กลไกการด้าเนินงาน…
-๒- GMS GMS กล กการ า้ เนินงานของ ทยแผนงาน GMS • • GMS • ICT GMS GMS Business Council Thailand GMS FRETA Thailand ท่มี า ขอ้ มูลประกอบการน้าเสนอคณะรัฐมนตรี “แผนงานความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจในอนุภมู ภิ าคลมุ่ แมน่ า้ โขง ๖ ประเทศ (GMS) โดยส้านกั งานสภาพฒั นาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ในฐานะเลขานกุ ารแผนงาน GMS ของประเทศไทย ณ เดอื นมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔ การพฒั นาแนวพนื ท่พี ัฒนาเศรษฐกิจ (Economic Corridors Development) ภายหลังวิกฤติเศรษฐกิจในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ประเทศสมาชิก GMS ได้เพิ่มจุดเน้นความร่วมมือตาม ยุทธศาสตร์ 3Cs – การเช่ือมโยง (Connectivity) การพัฒนาขีดความสามารถ (Competitiveness) และประชาคม (Community) โดยเน้นการพัฒนาตามแนวพืนที่ระเบียงเศรษฐกิจ (Economic Corridor) ในพืนที่ที่มีศักยภาพ ตามแนวคมนาคมเชื่อมโยงหลัก ๓ แนว ได้แก่ ๑) แนวเหนือ-ใต้ เชื่อมโยงไทย-พม่า/ลาว-จีน ๒) แนวตะวันออก-ตะวันตก เชื่อมโยงพม่า-ไทย-ลาว-เวียดนาม และ ๓) แนวตอนใต้เชื่อมโยงไทย-กัมพูชา-เวียดนาม โดยแนวคิดการพัฒนาแนวพืนท่ี ระเบียงเศรษฐกิจ (Economic Corridor) เป็นการพัฒนาแบบองค์รวมในพืนที่ท่ีมีศักยภาพตามแนวคมนาคมเชื่อมโยง หลักของอนุภูมิภาค เพ่ือสร้างโอกาสทางธุรกิจและท้าให้เกิดการกระจายประโยชน์และโอกาสจากจุดความเจริญหลัก ให้เชื่อมโ ยงไป ถึงยังพืนที่ ซึ่งยัง ขาดการพัฒนา ตามแนวคมนาค มดังกล่าวเพื่อ กระตุ้นการพัฒน าเศรษฐกิ จขอ ง แต่ละประเทศสมาชิก โดยมีหลักการส้าคัญ คือ การอ้านวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ ประชากร รวมถงึ เช่ือมโยงการผลิต การคา้ และการลงทนุ รว่ มกนั เปา้ หมายและวัตถปุ ระสงค์ของสาขาความรว่ มมอื Economic Corridor เพ่ือพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันโดยลดต้นทุนทางด้านการค้าผ่านแดน การขนส่งและ การผลิตร่วม ส่งเสริมการลงทุนผ่านแดน พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันโดยส่งเสริมความร่วมมือ ทางการเงนิ เทคโนโลยกี ารตลาด การผลิต สร้างความเข้มแขง็ ใหช้ มุ ชนผูอ้ ย่อู าศัยดว้ ยการยกระดับรายได้ พัฒนา ทักษะฝีมอื พฒั นาแนวพืนที่เพื่อใหเ้ กิดความยงั่ ยนื ทางการเงนิ เศรษฐกจิ สงิ่ แวดลอ้ ม /ผลประโยชน์…
-๓- ผลประโยชน์ทจ่ี ะเกิ ขนึ จากการพัฒนา ๑. ระ ับประเทศ กระตุ้นกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวพืนที่พัฒนาซึ่งเป็นพืนที่ยากจนส่งผลต่อการกระจาย รายได้และบรรเทาความยากจนของประชาชน ผ่อนคลายกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการค้า การลงทุน ระหวา่ งประเทศ พัฒนาโครงสรา้ งพืนฐานเช่อื มโยงทงั ภายในประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน บริการทางการศึกษา สาธารณสุข เพอ่ื ส่งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน ๒. ระ ับกลุ่ม GMS ดึงดูดนักลงทุนต่างชาติให้เข้ามาลงทุนในอนุภูมิภาคน้าไปสู่การพัฒนาขีดความสามารถ ในการแขง่ ขันของ GMS กับกล่มุ ประเทศอืน่ ในที่สุด ๓. แนวทางการ ้าเนินการร่วม ๖ ประเทศ ประกอบด้วย การพัฒนาพืนท่ีและโครงสร้างพืนฐาน เชื่อมโยงและ พัฒนาพืนทเี่ ป้าหมายหลกั ปรับปรุงนโยบาย กฎระเบียบ พิธีการ แผนงานการสนับสนุนระบบข้อมูลการค้าและ การลงทุน การศึกษาวิจัยโครงการต่างๆ การพัฒนาทักษะฝีมือ โดยเฉพาะในพืนที่เป้าหมาย เพ่ิมความสามารถ ในการเขา้ ถึงแหล่งทุนและเงินอุดหนุน การพัฒนาองค์กรและสถาบันเพ่ือรองรับการพัฒนาในพนื ท่ี พืนทต่ี ามยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาแนวพืนทพี่ ัฒนาเศรษฐกิจ ประเทศสมาชิก แผนงาน GMS ได้กา้ หนดพนื ท่ีระเบียงเศรษฐกจิ ๓ ระเบียง ไดแ้ ก่ แนวตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor: EWEC) เชื่อมโยงพมา่ -ไทย-ลาว-เวียดนาม ระยะทาง ๑,๕๐๐ กิโลเมตร ได้แก่ เมาะละแหม่ง-เมียวดี/แม่สอด-พิษณุโลก- ขอนแก่น-กาฬสินธุ์-มกุ ดาหาร/สะหวนั นะเขต-ดองฮา-ดานัง แนวเหนือ-ใต้ (North-South Economic Corridor: NSEC) มี ๒ เส้นทางหลกั ไดแ้ ก่ เชื่อมโยงจีน-พม่า/ลาว-ไทย (คุนหมิง-เชียงรุ่ง-ต้าหลั่ว-เชียงตุง-ท่าขีเหล็ก/แม่สาย-กรุงเทพฯ และ คุนหมิง- เชียงรุ่ง-บ่อเตน็ หลวงน้าทา-ห้วยทราย/เชียงของ-กรงุ เทพฯ) ระยะทางประมาณ ๑,๒๘๐ กโิ ลเมตร และ จนี -เวียดนาม (คุนหมิง-ฮานอย-ไฮฟอง) แนวตอนใต้ (Southern Economic Corridor: SEC) เชื่อมโยงไทย-กมั พูชา-เวยี ดนาม ๓ เส้นทาง ได้แก่ กรงุ เทพฯ-อรญั ประเทศ/ปอยเปต-พนมเปญ-โฮจมิ ินห์ซติ ี-วงั เตา ระยะทาง ๑,๐๐๕ กิโลเมตร กรงุ เทพฯ-ตราด/เกาะกง-สแรแอมปึล-กมั ปอต-ฮาเตยี น-กาม-ู น้าเชา ระยะทาง ๙๐๗ กิโลเมตร กรงุ เทพฯ-เสียมราฐ-สตรึงเตรง็ -รัตนครี ี-OYadav-Play Ku-Quy Nhon ระยะทาง ๑,๑๕๐ กิโลเมตร /ส้าหรบั ประเทศไทย...
-๔- ส้าหรับประเทศไทย มีจงั หวั ตามแนวระเบยี งเศรษฐกจิ จ้านวน ๒๕ จงั หวั ได้แก่ ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก East-West Economic Corridor (EWEC) ประกอบด้วย จังหวัด มกุ ดาหาร-จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์-จงั หวดั ขอนแกน่ -จังหวดั เพชรบูรณ์-จงั หวัดพิษณุโลก-จงั หวัดสุโขทยั และจงั หวดั ตาก ระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ North-South Economic Corridor (NSEC) ประกอบด้วย จังหวัดเชียงราย- จังหวัดเชียงใหม่-จังหวัดล้าปาง-จังหวัดล้าพูน-จังหวัดพะเยา-จังหวัดแพร่-จังหวัดอุตรดิตถ์-จังหวัดตาก-จังหวัด พิษณโุ ลก-จังหวดั ก้าแพงเพชร-จงั หวัดนครสวรรค์ และจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา ระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ Southern Economic Corridor (SEC) ประกอบด้วย จังหวัดสระแก้ว-จังหวัด ปราจีนบรุ ี-จงั หวดั ฉะเชิงเทรา-จงั หวดั ตราด-จังหวัดจนั ทบรุ ี-จงั หวัดระยอง-จังหวัดชลบุรี และจงั หวดั กาญจนบรุ ี การพฒั นาแนวระเบยี งเศรษฐกิจใน GMS ยุทธศาสตร์สา้ คั ของ GMS การขับเคล่อื น แนวคดิ ความร่วมมอื เรมิ่ ตน้ ในปี หลงั จาก ทศิ ทาง แนวพนื ท่พี ฒั นาเศรษฐกิจ ยังคงเป็น วิกฤตเศรษฐกจิ ในเอเชยี ศูนย์กลางการพฒั นาแบบบรู ณาการเพ่มิ ความส้าคญั ทางด้านซอฟท์แวร์ เช่น เรอื่ งการ เน้นการพฒั นาในเชงิ บูรณาการในทุกมิติ (Holistic พัฒนาเชิงนโยบายและสถาบนั การเสรมิ สร้างศกั Approach) กระตุน้ การมีส่วนรว่ มของทุกภาคส่วน ภาพและองค์ความรู้ ควบคกู่ บั การพัฒนาดา้ น อย่างครอบคลมุ โครงสรา้ งพืนฐาน เนน้ การบรู ณาการระหว่างสาขา ความร่วมมือ การพัฒนาเชิงพนื ท่ี ในระยะแรก มงุ่ เน้นการพัฒนาระบบคมนาคมขนสง่ ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพสงู ขนึ อา้ นวยความสะดวกการ การขบั เคลื่อน เพ่ิมการมสี ่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ น เคลือ่ นยา้ ยของคนและสนิ ค้า อ้านวยความสะดวก และการตดิ ตามประเมินผล การระดมทุนและ กิจกรรมทางเศรษฐกิจใหม้ ีต้นทุนทต่ี ้่าสุดและใช้เวลา ทรัพยากร เวทีแลกเปล่ยี นองคค์ วามรู้ จะส้าคัญ ไมน่ าน อย่างมากทังในด้านงานวิจัยเพ่ือประกอบการ ตดั สนิ ใจ และการหารือเพอื่ หาขอ้ สรุปในประเด็น ผลลพั ธท์ ีค่ าดหวังคอื การเชื่อมโยงด้านโครงสรา้ ง ซบั ซอ้ นในอนาคต การเพิ่มบทบาทของพันธมิตร พนื ฐานที่ดีในภูมภิ าคจะสง่ ผลให้เศรษฐกจิ เตบิ โตขนึ และหนุ้ ส่วนเชงิ ยทุ ธศาสตร์ รวมถึงการประสาน และประเทศในภูมภิ าคตา่ งได้ประโยชนจ์ ากการ อยา่ งใกลช้ ดิ และสนับสนุนการด้าเนนิ งานของ พฒั นา และน้าไปสู่การลดความยากจน กรอบความร่วมมืออน่ื ในภูมิภาค โดยเฉพาะอย่าง ยิง่ การรวมตัวของประชาคมอาเซียน แนแวนทวางทกาางรกพารัฒพนัฒาในนาปในจปจจบุ จนั บุ นั แนวทางการพฒั นาในระยะตอ่ ป Transport Corridor FTarcaidliteat&ioTnraCnosrpriodrotr Logistics Corridor Urban Economic Corridor Development Corridor ทีม่ า ขอ้ มลู ประกอบการน้าเสนอคณะรฐั มนตรี “แผนงานความร่วมมือทางเศรษฐกจิ ในอนุภมู ภิ าคลุม่ แมน่ ้าโขง ๖ ประเทศ (GMS) โดยสา้ นักงานสภาพฒั นาการ เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ (สศช.) ในฐานะเลขานุการแผนงาน GMS ของประเทศไทย ณ เดอื นมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔ จังหวัดตามแนวระเบียงเศรษฐกิจทัง ๒๕ จังหวัด ในฐานะท่ีดูแลการพัฒนาเชิงพืนที่ หรือ Area- based เป็นกลไกสา้ คญั ในการขบั เคล่อื นความรว่ มมือสาขาการพฒั นาเมืองตามแนวระเบียงเศรษฐกิจและพืนที่ชายแดน ของแผนงาน GMS ในระดับพืนท่ี ที่จะน้านโยบายของส่วนกลางมาปฏิบัติให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ส่งเสริมความร่วมมือ ในพนื ทใี่ นการขับเคลอ่ื นแผนงาน GMS ใหเ้ กดิ ผลเปน็ รปู ธรรม /Figure 1. Agreed…
-๕- Source: Asian Development Bank, June 2015 /บทบาทของกระทรวงมหา ทย...
-๖- บทบาทของกระทรวงมหา ทยในการพัฒนาระเบยี งเศรษฐกจิ แผนงาน GMS ความคืบหน้าการ ้าเนนิ งานตามแผนงาน GMS ในส่วนของกระทรวงมหาดไทยได้ด้าเนินการ ตามข้อเสนอ การขับเคลื่อนแผนงาน.GMS.อย่างต่อเนื่อง โดยมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ มอบหมายให้ กระทรวงมหา ทย โดยส้านักพฒั นาและสง่ เสรมิ การบริหารราชการจังหวดั สป. (สบจ.สป.) รับผิ ชอบสาขาการพัฒนา ระเบยี งเศรษฐกิจ รว่ มกบั ส้านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในฐานะเลขานุการ แผนงาน GMS ของประเทศไทย ในการผลักดันการด้าเนนิ งานเพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจและเพ่มิ การมีส่วนรว่ มของจงั หวัด ภาคเอกชน และประชาชน ในพืนที่ตามแนวระเบยี งเศรษฐกจิ และพืนที่ชายแดนโดยประสานความรว่ มมือกบั สถาบันการศึกษา สอ่ื มวลชน และภาคี การพัฒนาอย่างต่อเนอ่ื ง ดังนี ๑. ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ สบจ.สป. ได้จัดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพ่ือเสริมศักยภาพการพัฒนา เศรษฐกจิ ของจังหวดั ตามแนวระเบยี งเศรษฐกิจ แผนงานความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ ในอนภุ มู ิภาคลุ่มแม่น้าโขง (Greater Mekong Subregion : GMS) ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ (GMS Economic Corridors Development 0 9) ในระหวา่ งวันท่ี ๒๕ – ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ โรงแรมประจกั ษต์ รา ดไี ซน์ โฮเทล อา้ เภอเมืองอดุ รธานี จงั หวดั อดุ รธานี ๒. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ได้อนุมัติให้ สบจ.สป. จัดโครงการสัมมนา เตรียมการประชุมหารือ เวทีระดับรัฐมนตรีและผู้ว่าราชการจังหวัด ตามแผนงาน GMS และแนวระเบียงเศรษฐกิจ (ECF) ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง ๖ ประเทศ ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (GMS Economic Corridors Seminar 0 0) ในระหวา่ งวนั ที่ ๑๗ – ๑๘ มนี าคม ๒๕๖๓ ณ โรงแรมท็อปแลนด์ แอนด์ คอนเวนช่นั เซน็ เตอร์ จังหวัดพิษณุโลก แต่เน่ืองจากเกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 0 9 (Coronavirus Disease 0 9: COVID- 9) กระทรวงมหาดไทย จึงได้เลื่อนการจดั โครงการฯ ดงั กลา่ ว ออกไป จนกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดจะเข้าส่สู ภาวะปกติ แนวทางการ ้าเนินการในระยะต่อ ป ส้านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้เสนอ ให้ คณะรฐั มนตรมี ีมตมิ อบหมายหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องรับไปด้าเนินการ ตามผลการประชุมระดับรัฐมนตรี แผนงาน GMS ครังที่ ๒๔ ผา่ นระบบประชุมทางไกล เมื่อวนั ท่ี ๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ณ ห้องราชดา้ เนิน กระทรวงคมนาคม โดยประสานการด้าเนินงานกับ สา้ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ซ่งึ กระทรวงมหาดไทยได้รับมอบหมายใน สาขาความร่วมมือ ดังนี ล้า ับ ประเ ็นสา้ คั /สาขาความรว่ มมือ การ ้าเนนิ งานในระยะตอ่ ป หน่วยงาน า้ เนินการ การขับเคลือ่ นประเ น็ ความร่วมมอื รายสาขา ๒.๒ สาขาการอ้านวย - เรง่ รัดการดา้ เนนิ งานในระยะ - กระทรวงคมนาคม (กรมการขนส่ง ความสะดวกคมนาคม แรกเรมิ่ (Early Harvest) ภายใต้ ทางบก) ขนสง่ และการคา้ ความตกลงการขนส่งขา้ ม - กระทรวงการคลงั (กรมศลุ กากร/ พรมแดนในอนภุ ูมิภาค ส้านกั งานเศรษฐกจิ การคลัง/ ล่มุ แมน่ า้ โขง (CBTA) ส้านักงานความรว่ มมอื พฒั นา - เรง่ เจรจากบั ประเทศเพอ่ื นบา้ น เศรษฐกิจกบั ประเทศเพอ่ื นบา้ น ในเรื่องการเพ่ิมจา้ นวนเสน้ ทาง (องค์การมหาชน) จุดผา่ นเขา้ ออกของคนและสินคา้ - กระทรวงพาณิชย์ (กรมการค้า ตามแนวระเบยี งเศรษฐกจิ ต่างประเทศ) เพ่ือด้าเนนิ กจิ กรรมต่าง ๆ ภายใต้ - กระทรวงมหา ทย ความตกลง CBTA รวมทัง - สา้ นักงานตรวจคนเข้าเมือง /การก้าหนดสิทธิ... /- คณะกรรมการ…
ลา้ ับ ประเ น็ สา้ คั /สาขาความร่วมมือ -๗- หนว่ ยงาน ้าเนนิ การ การ ้าเนินงานในระยะต่อ ป -ตอ่ - -ตอ่ - การกา้ หนดสทิ ธิการจราจรให้มี - คณะกรรมการร่วมภาคเอกชนสาม ความกา้ วหน้าอยา่ งเปน็ รูปธรรม สถาบัน (กกร.) ทังนี เพ่ือรองรบั การดา้ เนนิ งาน - สมาคมขนส่งสินค้าใน GMS อย่างเต็มรูปแบบ (Full (ประเทศไทย) (FRETA) Implementation) ของ - หนว่ ยงานท่เี กย่ี วข้องอ่นื ๆ ความตกลง CBTA - อา้ นวยความสะดวกการน้าเข้า ส่งออก และการปรับปรุง กฎระเบียบการตรวจปล่อยสินคา้ บรเิ วณดา่ นพรมแดนเพือ่ ให้ สอดคลอ้ งกบั ความตกลง GMS CBTA - การให้สิทธิประโยชนด์ ้านภาษี เพื่อจูงใจการลงทุนในเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษและพืนทโี่ ครงการ เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC) - การสง่ เสริมความรว่ มมอื ระหว่าง ภาครฐั และเอกชน (Public Private Participation: PPP) เพ่ือพัฒนาโครงการลงทุนมลู ค่าสงู ๒.๗ สาขาการพฒั นาเมือง ประสานและผลักดนั การพัฒนา - กระทรวงมหา ทย และการมีสว่ นร่วมของ เมอื ง (Urban Development) - ส้านกั งานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทลั ท้องถิ่น และขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง - หน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้องอนื่ ๆ อัจฉรยิ ะ (Smart City) ในพนื ทต่ี าม แนวระเบยี งเศรษฐกิจและพนื ท่ี ชายแดนเพอ่ื เตรยี มความพร้อม การพฒั นาเศรษฐกิจและสังคม เชอ่ื มโยงกับประเทศเพ่ือนบา้ น รวมทงั ผลกั ดันการด้าเนนิ งาน /เพ่ือสร้าง...
ลา้ บั ประเ น็ สา้ คั /สาขาความร่วมมอื -๘- หน่วยงาน า้ เนนิ การ การ ้าเนินงานในระยะต่อ ป -ตอ่ - เพอื่ สร้างความเข้าใจและเพม่ิ การมี สว่ นร่วมของจังหวดั ภาคเอกชน และประชาสงั คมในท้องถ่ิน คณะท้างานความรว่ มมือสาขาการพฒั นาเมือง มตทิ ่ีประชุมระดับรฐั มนตรีแผนงาน GMS ครังท่ี ๑๘ เมื่อเดือนพฤศจกิ ายน ๒๕๕๖ ณ กรุงเวียงจันทน์ สปป.ลาว เห็นชอบการจัดตังคณะท้างานเฉพาะกิจด้านการพัฒนาเมือง (Task Force on Urban Development) ประกอบดว้ ยผ้แู ทนระดบั อาวุโส จ้านวน ๓ คน จาก ๖ ประเทศ (ของไทย ได้แก่ ผู้แทนจาก สศช./กรมโยธาธิการและ ผงั เมอื ง : ยผ./และผู้แทนจากภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ซึง่ ยผ. ไดเ้ ขา้ รว่ มการประชมุ คณะทา้ งานเฉพาะกิจด้านการพัฒนาเมอื ง ครังท่ี ๑ – ๕ ในห้วงปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ การประชมุ คณะท้างานเฉพาะกิจด้านการพัฒนาเมือง ครังที่ ๑ ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา เมื่อวันท่ี ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ได้เตรยี มความพร้อมเพ่อื จดั ท้ากรอบยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาเมือง GMS พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๕ และท่ีประชุมรัฐมนตรีแผนงาน GMS เมื่อวันท่ี ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ ณ กรุงเนปิดอร์ ได้มีมติเห็นชอบการขับเคล่ือนตาม กรอบยุทธศาสตร์ฯ ดังกล่าว ซ่ึงก้าหนดกรอบกว้าง ๆ เพื่อสนับสนุนและอ้านวยความสะดวกให้กับการพัฒนาเมืองของ GMS อย่างเท่าเทยี มกัน ทงั นี ยังครอบคลมุ ผลลัพธ์ (Outcome) จากการปรับปรงุ การวางแผนการพัฒนาพืนท่ีชายแดน รวมถึงผลผลติ (Output) คือ เขตชายแดนท่ีพัฒนาขึน ประกอบดว้ ย เสาหลักของกรอบยุทธศาสตร์ฯ จา้ นวน ๓ เสาหลัก ดังนี Strategic Framework Pillar 1 Strategic Framework Pillar 2 Strategic Framework Pillar 3 Planning and Development of Planning and Development of Capacity Development in Key Urban Centers Border Areas Urban Planning and Management ต่อมารัฐมนตรีแผนงาน GMS ๖ ประเทศได้มีมติในการประชุม ครังท่ี ๒๑ เม่ือวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ ณ จงั หวดั เชียงราย เหน็ ชอบการยกระดบั คณะท้างานเฉพาะกจิ ดา้ นการพัฒนาเมืองขนึ เป็น “คณะท้างานสาขาการพัฒนาเมือง (Working Group on Urban Development: UWG)” และกระทรวงมหาดไทยมอบหมาย ยผ. เป็นหน่วยงานหลัก (Focal agency) ของ ทย ในคณะท้างานสาขาการพัฒนาเมือง (หนังสือ ด่วนท่ีสุด ที่ มท ๐๒๑๒.๓/๑๐๙๒๒ ลงวันที่ ๒๘ มถิ นุ ายน ๒๕๖๐) บทบาทของคณะทา้ งานสาขาการพฒั นาเมือง ได้แก่ ๑) ประสานและผลักดันการพัฒนาเมอื ง (Urban Development) ๒) ขบั เคล่อื นการพัฒนาพืนที่ตามแนวระเบียงเศรษฐกิจและพนื ที่ชายแดน ๓) การผลักดันการดา้ เนินการสร้างความรู้ ความเขา้ ใจและเพิ่มการมสี ่วนร่วม /๔. การด้าเนินการ…
-๙- ๔) การด้าเนนิ การในระยะตอ่ ไป ๔.๑ ขบั เคลือ่ นการพฒั นาเมืองอัจฉรยิ ะ (Smart City) ในพืนทตี่ ามแนวระเบยี งเศรษฐกจิ และ พนื ทช่ี ายแดน เพ่อื เตรียมความพร้อมการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม เช่อื มโยงกับประเทศ เพือ่ นบา้ น ๔.๒ จัดท้าแผนปฏบิ ตั ิการสุขภาพมหาสมทุ ร (Ocean’s Health Action Plan) โดย ๔.๒.๑ กา้ หนดรางขอบเขตงานด้านความช่วยเหลอื ทางเทคนคิ (TOR of TAs) ดงั นี ๑) การจดั การของเสีย อาทิ PPP ด้านการแปลงของเสยี เป็นพลงั งาน และ การเลือกเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม ๒) Extended Producer Responsibility (EPR) ดว้ ยโครงการและกฎระเบียบ ซง่ึ EPR คอื หลกั การทีข่ ยายความรบั ผิดชอบของผู้ผลิตไปยังชว่ งตา่ ง ๆ ของ วงจรชีวติ ของบรรจภุ ัณฑ์ เป็นแนวทางใหผ้ ู้ผลิตค้านึงถึงผลกระทบทางสิ่งแวดลอ้ ม อยา่ งครบวงจร ตังแตก่ ารออกแบบ กระจายสินคา้ การรับคนื การเกบ็ รวบรวม การใช้ซ้า การนา้ กลบั มาใช้ใหม่ และการบ้าบัด ๔.๒.๒ การแลกเปลีย่ น Best Practice และองค์ความรู้ ในประเด็น ๑) การจดั การขยะในทะเล (Marine debris) ๒) การผงั ทลายของดนิ และชายฝ่งั การจั ตังคณะทา้ งาน ้านการเคลอื่ นย้ายแรงงานในอนภุ ูมภิ าค GM คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เม่ือวันท่ี ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ มอบหมายภารกิจหน่วยงานด้าเนินการ ตามผลการประชุมระดับรฐั มนตรีแผนงานความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง ๖ ประเทศ (GMS) ครังที่ ๒๔ ผ่านระบบประชุมทางไกล เมื่อวนั ท่ี ๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ โดยมอบหมายสา้ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ (สศช.) ในฐานะผู้ประสานงานหลกั ระดบั ประเทศแผนงาน GMS เป็นหน่วยงานหลัก ร่วมกับกระทรวงแรงงาน กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องอ่ืน ๆ ในการจัดตัง คณะท้างานฝ่ายไทย ภายใต้คณะทา้ งานดา้ นการเคล่ือนยา้ ยแรงงานในอนุภมู ภิ าค GMS การประชุมเตรียมการฝ่ายไทยเพื่อหารือการจัดตังคณะทา้ งานด้านการโยกย้ายถ่ินฐานของแรงงาน (Task Force on Labor Migration) ภายใตแ้ ผนงาน GMS เมื่อวนั ที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔ ผ่านระบบประชมุ ทางไกล (ประชุมระหว่างหน่วยงานภายในประเทศ) มีผู้อ้านวยการกองยุทธศาสตร์และประสานความร่วมมือระหว่างประเทศ สศช. เปน็ ประธานการประชุม และ ผอ.สบจ.สป. เป็นผแู้ ทน มท. เข้ารว่ มประชมุ เตรยี มการฝา่ ยไทยฯ โดยมีองค์ประกอบ การประชมุ เตรยี มการฝา่ ยไทยฯ มีจ้านวนทังสิน ๗ หนว่ ยงาน ประกอบดว้ ย ๑) กระทรวงมหาดไทย : มท. ๒) กระทรวงแรงงาน : รง. ๓) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ : พม. ๔) กระทรวงการต่างประเทศ : กต. ๕) กระทรวง สาธารณสขุ : สธ. ๖) ส้านกั งานสภาความมน่ั คงแห่งชาติ : สมช. และ ๗) สศช. พรอ้ มทงั มีหนว่ ยงานในสงั กัดกระทรวง มหาดไทยท่เี ขา้ ร่วมประชุมเตรียมการฝ่ายไทยฯ ประกอบด้วย ส้านักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย จ้านวน ๒ สา้ นัก/กอง ได้แก่ สบจ.สป. และกองการต่างประเทศ (ตท.สป.) รวมทังกรมการปกครอง จ้านวน ๒ สา้ นัก/กอง ได้แก่ /กองวิชาการและ…
- ๑๐ - กองวิชาการและแผนงาน : วช. และส้านักกิจการความมั่นคงภายใน : สน.มน. ซึ่งกระทรวงมหาดไทยได้มอบหมาย ผอ.ตท.สป. เป็นผู้แทนล้า ับ ๑ ในคณะท้างานด้านการโยกย้ายถิ่นฐานของแรงงาน ภายใต้แผนงาน GMS และผู้แทน ปค. ระ ับ ผอ.ส้านกั /กอง เปน็ ผู้แทนลา้ บั ๒ และได้แจ้งให้ ส้านักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทราบแล้ว การประชุมหารือการจัดตงั คณะทา้ งานดา้ นการโยกย้ายถ่ินฐานของแรงงานภายใต้แผนงานความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง ๖ ประเทศ (Greater Mekong Subregion Economic Cooperation : GMS) ระหว่างหน่วยงานฝ่ายไทย ธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) และองค์การระหว่างประเทศเพื่อการโยกย้ายถิ่นฐาน (IOM) เมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๔ ผ่านระบบการประชุมทางไกล มี ผอ.ตท.สป. เป็นผู้แทน มท. ร่วมด้วยผู้แทน ปค. สบจ.สป. และ ตท.สป. ซึ่ง ADB และ IOM ได้ตอบข้อซักถามและข้อกังวลของหน่วยงานฝ่ายไทยที่ถูกหยิบยกขึน ในการประชมุ เตรยี มการฯ ดังนี ๑. มติของคณะทา้ งานด้านการโยกย้ายถ่ินฐานของแรงงานจะ ม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย (Non-Binding) ซงึ่ เป็นไปในลกั ษณะเดยี วกันกับคณะท้างานด้านอ่ืน ในแผนงาน GMS ๒. คณะท้างานฯ มสี ถานะช่ัวคราว โดยมีแผนการดา้ เนินงาน ระยะเวลา ๒ ปี ( -Year Work Plan) ซ่งึ ภายใต้แผนงานดงั กลา่ วจะระบุโครงการและกจิ กรรมท่เี กย่ี วขอ้ งกบั แรงงานขา้ มชาติ ผา่ นการหารอื ร่วมกบั ประเทศสมาชกิ เพ่ือกา้ หนดทศิ ทางการด้าเนนิ งานทช่ี ัดเจน ๓. แม้ประเทศสมาชิกสามารถเลือกท่ีจะเข้าร่วมคณะท้างานฯ ได้ โ ยความสมคั รใจ (Voluntary Basis) อยา่ งไรกด็ ี ประเทศสมาชกิ ทุกประเทศควรเป็นส่วนหนง่ึ ในคณะทา้ งานฯ โดยเฉพาะ ประเทศไทย เน่ืองจากเป็นประเทศผู้รับแรงงานที่ส้าคญั ในอนุภมู ิภาคนี ซ่งึ โครงการและกิจกรรม ตา่ ง ๆ จะเป็นประโยชน์ตอ่ การบรหิ ารจัดการแรงงานข้ามชาตขิ องไทยโดยตรง กรอบยุทธศาสตรใ์ หม่ ของแผนงาน GMS ในระยะปี 2573 (GMS-2030) การประชุม The 24th GMS Ministerial Conference ผ่านระบบการประชุมทาง กล เมื่อวันท่ี ๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ รัฐมนตรีแผนงาน GMS ๖ ประเทศ (ไทย กัมพูชา ลาว เมียนมา เวียดนาม และจีนตอนใต้ เฉพาะมณฑลยูนนานและเขตปกครองตนเองกว่างซี) โดยหัวหน้าคณะผู้แทนระดับรัฐมนตรีของประเทศไทย คือ นายถาวร เสนเนียม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ได้ให้ความเห็นชอบร่างกรอบยุทธศาสตร์ใหม่ของแผนงาน GMS ในระยะปี ๒๕๗๓ (The Greater Mekong Subregion Long-Term Strategic Framework 2030: GMS-2030) การ ้าเนนิ งานต่อ ป ภายใตก้ รอบยุทธศาสตรแ์ ผนงาน GMS ฉบับใหม่ ระยะปี ๒๐๓๐ และในช่วงหลังการแพร่ระบาด ของโรคติเช่ือไวรัสโควิด- 9 จะเป็นการต่อยอดจากการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่ง เพื่อเช่ือมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยมุ่งเน้นการอา้ นวยความสะดวกการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว เพ่ือเช่ือมโยงห่วงโซ่มูลค่าระหว่างไทยและ ประเทศเพอ่ื นบ้าน โดยเฉพาะอ้านวยความสะดวกการน้าเข้า ส่งออก และการปรับปรุงกฎระเบียบการตรวจปล่อยสินค้า บริเวณดา่ นพรมแดนเพ่ือให้สอดคล้องกับความตกลง GMS CBTA การให้สิทธิประโยชน์ด้านภาษีเพื่อจูงใจการลงทุนใน เขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษและพนื ท่โี ครงการเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาครัฐ และเอกชน (Public Private Partnership: PPP) เพ่ือพัฒนาโครงการลงทุนมูลค่าสูง รวมทังการให้ความช่วยเหลือ ทางการเงินแก่ประเทศเพื่อนบ้านเพื่อพัฒนาโครงสร้างพืนฐานต่าง ๆ เพื่อเช่ือมโยงห่วงโซ่มูลค่า อันจะส่งผลให้ /เกดิ ผลประโยชน์...
- ๑๑ - เกิดผลประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจและสังคม ลดความยากจนแก่ประชาชนตามแนวชายแดนและพืนท่ีตามแนวระเบียง เศรษฐกิจ ซงึ่ เป็นแนวทางในการบรรลเุ ป้าหมายตามยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และเป้าหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื (SDGs) ต่อมาในการประชุม The 7th GMS Summit ผ่านระบบการประชุมทาง กล เมื่อวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๖๔ มีราชอาณาจกั รกัมพูชาเปน็ ประเทศเจา้ ภาพ ผูน้ ้าประเทศสมาชิกแผนงาน GMS ๖ ประเทศ ประกอบด้วย Samdech Akka Moha Sena Padi Techo Hun Sen H.E. Mr. Li Keqiang นายกรฐั มนตรีแห่งราชอาณาจกั รกัมพูชา (ประธานท่ีประชุม) นายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรฐั ประชาชนจนี H.E. Mr. Phankham Viphavanh H.E. Senior General Min Aung Hlaing นายกรัฐมนตรีแหง่ สาธารณรฐั ประชาธิปไตย ประชาชนลาว ประธานสภาบริหารแห่งรฐั เมียนมา สาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมา พลเอก ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา H.E. Mr. Pham Minh Chinh นายกรฐั มนตรแี หง่ ราชอาณาจักรไทย นายกรัฐมนตรีแหง่ สาธารณรฐั สังคมนยิ มเวียดนาม ได้รับรอง GMS-2030 เป็นแผนยุทธศาสตร์ท่ีมีวิสัยทัศน์มุ่งเน้นสู่ การเป็นอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง ที่มีการบูรณาการ รุ่งเรือง ยั่งยืน และไม่ทิงใครไว้ข้างหลัง และได้กา้ หนดพันธกิจใหม่เพ่ือบรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าว คือ ความร่วมมือในอนภุ ูมิภาคทีใ่ หค้ วามส้าคญั กับจดุ แข็งในมิติความเป็นชมุ ชน ความเชื่อมโยง และความสามารถในการแข่งขัน โดยไม่ละทิงหลักการของความยืดหยุน่ และความยง่ั ยืนทางสิ่งแวดล้อม การบรู ณาการทงั ภายในและภายนอกอนุภมู ิภาค ความครอบคลุม เพอ่ื สร้างชุมชน GMS ท่ีมีอนาคตรว่ มกัน โดยมีประเ ็นส้าคั ๔ รายการ ได้แก่ ๑) กระแสการเปล่ียนแปลงในอนาคต ๒) แนวทางการพัฒนาอนุภูมิภาค GMS ในระยะต่อไป ๓) การแปลง กรอบยุทธศาสตร์ฯ สู่การปฏิบัติ และ ๔) กรอบยุทธศาสตร์ฯ นีได้รับการออกแบบให้เป็น เอกสารทป่ี รับปรงุ ได้ตลอดเวลา ทังนี ธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) ในฐานะฝ่ายเลขานุการแผนงาน GMS ได้เผยแพร่เอกสารที่รับรอง ในการประชุม The 7th GMS Summit ผ่านเว็บไซต์ GMS (https://greatermekong.org) เมื่อวันท่ี ๒๐ กันยายน ๒๕๖๔ การ ้าเนินงานต่อ ป ส้านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ในฐานะฝ่ายเลขานุการแผนงาน GMS ของไทย อยู่ระหว่างสรุปผลการประชุม The 7th GMS Summit ผ่านระบบการประชุมทางไกล เสนอคณะรัฐมนตรีรับทราบ ผลการประชุม และมอบหมายหนว่ ยงานท่เี กยี่ วข้องรับไปดา้ เนินการขบั เคล่ือนแผนงาน GMS แผนการฟื้นฟูและตอบสนองต่อผลกระทบจากการแพร่ระบา ของโรคโควิ -19 พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๖ การประชุม The 24th GMS Ministerial Conference รัฐมนตรีแผนงาน GMS ๖ ประเทศ ได้ ใหค้ วามเหน็ ชอบแผนการฟ้ืนฟูและตอบสนองต่อผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด- 9 พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๖ (Greater Mekong Subregion COVID- 9 Response and Recovery Plan 0 – 0 3) และการประชุม The 7th GMS Summit ผ่านระบบการประชุมทาง กล ผ้นู ้าประเทศสมาชิกแผนงาน GMS ๖ ประเทศ ได้รับรอง /แผนการฟ้ืนฟู...
- ๑๒ - แผนการฟ้ืนฟูและตอบสนองต่อผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด- 9 พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๖ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ เพื่อประสานความร่วมมือระดับอนุภูมิภาคให้สามารถตอบสนอง ต่อการแพร่ระบาดฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพย่ิงขึน แบ่งเป้าหมายออกเปน็ ๒ ระยะ คือ ระยะเร่งดว่ นและระยะกลาง โดยมีเสาหลักความร่วมมอื ใน ๓ มติ ิ ดงั ตอ่ ไปนี ๑) ให้ความส้าคญั กับแนวทางสุขภาพ ๒) เน้นการปกปอ้ งประชากรกลุ่มเปราะบาง ๓) เน้นย้าการรักษาการเปิดพรมแดน หนึ่งเดียว (One-Health) เพ่ือให้แน่ใจว่า และผยู้ ากไร้ ผ่านการสร้างโอกาสในพืนท่ี เพ่ือ (ก) เร่งรัดกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ มกี ารดแู ลสุขภาพของคน สตั ว์ พืชผล ชายแดน และเขตระเบียงเศรษฐกจิ รวมทัง ครอบคลุม เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมี ผลติ ภณั ฑ์อาหาร และสภาพแวดล้อมใน สนบั สนนุ การเคล่อื นย้ายแรงงานทีป่ ลอดภัย ความยืดหยุ่น (ข) อ้านวยความสะดวกทาง เมอื ง อยา่ งเป็นองคร์ วม และเป็นระบบ การค้าและการขนส่ง (ค) ฟื้นฟูภาคเกษตร และ (ง) สร้างโอกาสในการท่องเที่ยวที่ ปลอดภยั และไรร้ อยต่อ ผ่านกล กการ า้ เนินงาน ท่ีอาศัยเวทีการประชุมระดับเจ้าหน้าท่ีอาวุโส แผนงาน GMS (GMS Senior Officials Meeting : GMS SOM) …..….. สรปุ ข้อมลู โดย กรอ.สบจ.สป.มท. ณ วนั ที่ ๒๙ กนั ยายน ๒๕๖๔
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: