Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลิลิตตะเลงพ่าย

ลิลิตตะเลงพ่าย

Published by titiya.pan, 2020-08-01 05:02:55

Description: ลิลิตตะเลงพ่าย

Search

Read the Text Version

เม่ือ พ.ศ. ๒๑๓๓ พระเจ้ากรงุ หงสาวดีนันทบเุ รง ทรงทราบข่าวว่าสมเด็จพระมหาธรรมราชเสดจ็ สรรคต แผ่นดนิ ไทย คงกา่ ลังระส่าระสาย อาจมเี หตุวุ่นวายดว้ ย พระราชโอรสท้ังสองพระองคช์ ิงราชบัลลังก์ จงึ โปรดให้ พระมหาอุปราชายกกองทัพเขา้ ตีกรุงศรีอยุธยา

พระเจา้ นันทบุเรงจึงโปรดใหพ้ ระมหาอปุ ราชายก กองทัพเขา้ ตกี รงุ ศรอี ยุธยา แต่พระมหาอุปราชาได้กราบ ทลู พระราชบดิ าวา่ โหรท่านายวา่ พระองคก์ า่ ลังมเี คราะห์ พระเจ้านันทบุเรงจงึ ตรัสประชดวา่ บุตรชายให้นา่ ผ้านุ่ง สตรมี าสวมให้สร่างเคราะห์ พระมหาอุปราชาเกรง พระราชอาญาและทรงอบั อาย จึงประกาศเกณฑ์พลจาก เชยี งใหมแ่ ละเมอื งขนึ้ ต่าง ๆ มาชว่ ย โดยทัพพม่าเขา้ มา ทางดา่ นเจดียส์ ามองค์ และเชา้ ตีเมอื งกาญจนบรุ ี

ก่อนมาพระเจ้ากรุงหงสาวดีประทานโอวาท แก่พระมหาอุปราชา ๘ ประการดังนี้ ๑. อยา่ หูเบา ๒. อย่าทา่ อะไรตามใจตนเอง ๓. ใหเ้ อาใจทหาร ๔.อยา่ ไวใ้ จคนขลาดเขลา ๕. รอบรูก้ ระบวนการจัดทัพ ๖. รหู้ ลกั ต่าราพชิ ยั สงคราม ๗. ให้รางวัลทหารทมี่ คี วามสามารถ ๘. จงพากเพียร

ขณะนั้นสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงเป็น กษตั ริย์ และเตรยี มทัพจะไปรบกับเขมร แตเ่ มอื่ ทรง ทราบข่าวศกึ พมา่ จึงทรงนา่ ทพั ออกไปรับศกึ พม่านอก พระนคร ทพั ไทยและทพั พมา่ ปะทะกันทีต่ ่าบลตระพังตรุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี ชา้ งทรงของสมเด็จพระนเรศวร มหาราชและชา้ งทรงของสมเดจ็ พระเอกาทศรถตกมัน จงึ เตลิดเข้าไปอยใู่ นวงล้อมข้าศึก โดยไม่มีกองทพั ของ พระองคต์ ิดตามไปดว้ ย

สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชทรงเชิญให้พระมหา อปุ ราชเสดจ็ มากระทา่ ยทุ ธหัตถีด้วยกนั พระมหาอปุ ราชาเพลย่ี งพล่้าตอ้ งพระแสงของา้ วของสมเดจ็ พระ นเรศวรมหาราชส้ินพระชนมบ์ นคอชา้ ง

หลงั จากสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชเสด็จกลับ กรงุ ศรีอยธุ ยาแล้ว ทรงปนู บ่าเหนจ็ ทหารทม่ี ีความชอ บในการรบ และทรงตัดสินโทษทหารท่ตี ามเสด็จไม่ทนั แต่สมเดจ็ พระวันรตั วัดปา่ แกว้ ได้กราบทูลขอพระราชทาน อภัยโทษใหแ้ กท่ หารเหลา่ นนั้ พระองค์กท็ รงยนิ ยอม และให้ยกทพั ไปตีเมืองทวายและตะนาวศรเี ป็นการไถโ่ ทษ

1. ลิลิตตะเลงพา่ ยสะทอ้ นใหเ้ ห็นความรัก ชาติ ความเสียสละ ความกลา้ หาญ ของบรรพบรุ ุษ ซึ่งคนไทยควรภาคภมู ิใจ 2. แผ่นดินไทยต้องผ่านการทาศึกสงคราม อย่างมากมายกว่าทีจ่ ะมารวมกันเป็นปึกแผน่ อย่าง ปัจจุบนั นี้ 3. พระราชภารกิจของกษตั ริยไ์ ทย ในสมัยกอ่ น คือการปกครองบ้านเมือง ใหร้ ม่ เย็นเปน็ สุขและรบเพื่อปกปอ้ งอธิปไตยของ ไทย

๑. เปน็ วรรณคดีชั้นสงู ของชาติซึ่งถือไดว้ า่ เปน็ แบบอย่างที่ดีของวรรณคดีอื่นๆ ๒. ใหค้ ุณค่าทางดา้ นวรรณศิลปห์ ลายประการ เชน่ การเลน่ คา การแทรกบทนิราศคร่าครวญ การใช้ โวหารต่างๆ การพรรณนาฉากทีท่ าใหผ้ ้อู า่ นมีอารมณ์ รว่ ม และเกิดความรูส้ ึกคล้อยตาม ๓. ใหค้ วามรู้เกี่ยวกบั ประวัติศาสตร์และลกั ษณะ ผ้ฟู ังที่ดี ๔. ปลุกใจใหค้ นไทยรักและเทิดทนู แผ่นดินไทย จนพรอ้ มที่จะเสียสละเพื่อบา้ นเมือง

๑. เป็นวรรณคดีช้นั สงู ของชาติซึง่ ถือได้วา่ เปน็ แบบอย่างที่ดีของวรรณคดีอื่นๆ ๒. ใหค้ วามรเู้ กีย่ วกับประวตั ิศาสตร์และลักษณะ ผู้ฟังทีด่ ี ๓. ปลุกใจใหค้ นไทยรักและเทิดทูนแผน่ ดินไทย จนพร้อมที่ อบรมข้อนีท้ าให้เราไดข้ ้อคิดที่ว่า การพูด ดีเป็นศรีแก่ตวั เมื่อเราทราบเชน่ นีแ้ ล้วเราทุกคน ก่อนที่จะพดู อะไรตอ้ ง คิดและไตรต่ รองให้ดกี ่อน ทีจ่ ะพูด

๑. การสร้างศพั ท์ทีม่ ีรปู และเสียงเป็นสง่า ศัพท์เหลา่ นี้มีความสูงส่งสละสลวย เช่น กมลาสน์ (กมล + อาสน)์ หมายถึง ผูม้ ีดอกบัวเปน็ ทีน่ ่ัง คือพระพรหม ๒. การใชค้ าทีน่ ิยมใชใ้ นวรรณคดี เช่น ขัตติยา (กษตั ริย)์ สินธพ (มา้ ) ๓. การใชค้ าซ้า เชน่ สลัดไดใดสลัดนอ้ ง แหนงนอน ไพรฤๅ ๔. การใช้คาอัพภาส คือ เป็นการซ้อนหรือซ้า อกั ษรลงหนา้ ศพั ท์ เช่น ชวาล (เรือง) เปน็ ชชั วาล (รุง่ เรือง) ในภาษาไทยกใ็ ช้ เชน่ ครื้น ครึก ยิ้มแยม้ ใชอ้ ัพภาสเปน็ คะครืน้ คะครึก ยะยิ้ม ยะแย้ม

๕. การใชค้ าเหมาะกบั เนือ้ เรือ่ ง เช่น เมื่อตวั ละครตกอย่ใู นอารมณโ์ ศกเศร้า กใ็ ชค้ าที่มีลีลาชา้ ทอดเสียงใหเ้ ข้ากบั อารมณ์ เช่น หนักดวงสมรพี่ร้าว คิดใคร่พบน้องทา้ ว ห่อนพ้องพานขวญั ใจนา ๖. การเลน่ คา เช่น ไก่แก้วคิดคแู่ ก้ว กลอยใจ แสกยิ่งแสกหฤทัย พี่เศร้า นกออกนึกออกไพร พลัดแม่ เหมือนฤๅ ชมแขกเตา้ คูเ่ ตา้ แขกน้องนานคืน

โวหารอติพจน์ การกลา่ วเกินจริงเพือ่ เน้น อารมณเ์ ป็นสาคญั เช่น อุรารานร้าวแยก ยลสยบ เอนพระองค์ลงทบ ทา่ วดิ้น เหนือคอคชซอนซบ สงั เวช วายชิวาตมส์ ดุ สิน้ สู่ฟา้ เสวยสวรรค์

การใช้ความเปรียบประเภทอปุ มา คือ การเปรียบสิ่งหนึ่งว่าเหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง โดยมีคาเชื่อมที่แสดงความหมายเหมือนกนั เชน่ ไอยราฤทธิเลิศล้า ลือดิน ดดู ่ังพาหนะอินทร์ เอีย่ มฟา้ อาจค้าคชอรินทร์ รอนชีพ ชาญศึกฮึกหาญกล้า กลนั่ แกลว้ กลางสมร

การใชค้ วามเปรียบประเภทอปุ ลักษณ์ คือการเปรียบสิง่ หนึง่ ว่าเปน็ อีกสิง่ หนึง่ ส่วนมาก จะใชค้ าว่า คือ เปน็ เท่า เปน็ ตวั เชื่อม เชน่ หสั ดินปิ่นธเรศไท้ โททรง คือสมิทธิมาตงค์ หนึ่งอ้าง หนึง่ คือคิริเมขล์มง คลอาสน์ มารเอย เศียรส่ายหงายงาคว้าง ไขวแ่ คว้งแทงโถม

ศัพท์ทีแ่ ปลวา่ ชา้ ง หัตถี กญุ ชร นาเคนทร์ มาตงค์ คช คเชนทร์ คชินทร์ พารณ มาตงค์ กรี หัสดิน คช สาร ไอยรา หสั ดี ดารี ศัพท์ที่แปลว่ามา้ สินธพ มโนมัย อัศวะ อาชาไนย อัสสะ หยั แสะ อาชา พาชี ดรุ งค์

ศัพท์ทีแ่ ปลว่า พระเจา้ แผ่นดิน จอมปราณ ภมู ินทร์ นราธิป ประชาปะ ภบู าล นรินทร์ อิศเรศ มหิศวร ทีรฆราช บดีสรู นฤเบศร์ นฤบาล พระภธู ร นฤนาถ พระจอมโลก เจ้าช้าง นฤบดี บดินทร์ เจา้ จอมถวลั ย์ ขัตติย ราช ภูวไนย จุฑาธิป ศัพทท์ ีแ่ ปลว่า ศัตรู ไพรี ปรปกั ษ์ ไพริน ศตั รู ริปู อริ เสีย้ น ดสั กร ขา้ เศิก อรินทร์

เผือ = ข้า ฉัน เยียว = บางที ทึง = ช้า ห่อน = ไม่ สบ = ทุก ทาย = ถือ ฉาน = แตก สา่ = หมู่ ท่า = รอคอย แผ้ว = ทาให้สวา่ ง เตา้ = ไป เยีย = ทา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook