Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore TEST RSI

TEST RSI

Published by nuda49, 2022-01-07 07:08:11

Description: TEST RSI

Search

Read the Text Version

ÃͧÈÒʵÃÒ¨ÒÏ ´Ã.ÍÒÇó âÍÀÒʾ²Ñ ¹¡¨Ô â·Ã 053-943614 Email [email protected]

การดาเนนิ งานภาพรวมระดบั เครือข่าย(RSI) เครอื ข่ายภาคเหนือตอนลา่ ง ประกอบดว้ ย 6 มหาวิทยาลยั ครอบคลุม 11 จงั หวดั 165 ตาบล ตวั ช้ีวดั 1 : ประมวลตวั ชี้วัดระดับตาบลและระดับมหาวิทยาลัยให้อยู่ในสถานะท่ี ตัวช้ีวัด2 : วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากปฏิบัติการ แสดงความครอบคลมุ ประชากรเปา้ หมายและสอดรบั กบั 6 ประการ ในพ้ื นที่กับความส อดคล้องขอ งกลุ่มสาขา วิชาเ พื่ อจัด ทาเป็น ข้ อ เ ส น อ ใ น ก า ร ป ฏิ รู ป ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า ศักยภาพตาบล (ระดับเครอื ข่าย) (USI ข้อ2,4,7,8,9,10,11 และ12) ▪ ถอดบทเรียน/จับคู่องค์ควำมรู้ ปรับปรุงหลักสูตรกำรเรียน ก่อน หลัง กำรสอน - ตำบลมงุ่ สยู่ งั่ ยืน 73 ตำบล - ตำบลม่งุ สู่ยงั่ ยนื 44 ตำบล - หลักสูตรกำรเรียนกำรสอน จำนวน 0 หลักสูตร - ตำบลม่งุ สพู่ อเพียง 42 ตำบล - ตำบลมงุ่ สู่พอเพียง 53 ตำบล - หลักสูตรฝึกอบรมระยะสัน้ จำนวน 155 หลักสูตร - ตำบลพ้นควำมยำกลำบำล 33 ตำบล - ตำบลพ้นควำมยำกลำบำล 24 ตำบล - หลักสูตรกำรเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ จำนวน 30 หลักสูตร หมำยเหตุ :สำมำรถระบรุ ำยละเอียดชอื่ หลกั สูตรและระบุมหำวทิ ยำลัยในเอกสำรแนบจำนวนไมเ่ กนิ 1 แผน่ - ตำบลยำกลำบำก 17 ตำบล - ตำบลยำกลำบำก 44 ตำบล รวม 165 ตาบล รวม 165 ตาบล ตัวชี้วัด3 : วิเคราะหันวัตกรรมของพ้ื นท่ีเพ่ื อยกระดับ เศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ (USI ขอ้ 8,9,11,12 และ13) ▪ ฐำนข้อมูลที่ชุมชนสำมำรถเข้ำถึง และนำไปใช้ประโยชน์ได้ กลุม่ ประชากรเปา้ หมายทด่ี าเนนิ การ เชน่ เกษตรกร จำนวน 13,922 คน - องค์ควำมรู้ จำนวน 209 เรอ่ื ง - เทคโนโลยี จำนวน 31 เรอื่ ง จำนวน 16 จงั หวัด - นวัตกรรม จำนวน 52 เร่อื ง วิสำหกิจชมุ ชน จำนวน 514 กลมุ่ - กระบวนกำร/วิธกี ำร จำนวน 119 เร่ือง จำนวน 16 จังหวดั หมำยเหตุ :สำมำรถระบรุ ำยละเอียดชื่อองคค์ วำมรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม กระบวนกำร/วิธีกำร และ ระบมุ หำวทิ ยำลัยในเอกสำรแนบจำนวนไม่เกิน 1 แผ่น กล่มุ เปรำะบำง จำนวน 220 กลุ่ม (ผวู้ ำ่ งงำน ผูม้ ีรำยได้น้อย ผูส้ ูงอำยุ) จำนวน 15 จังหวัด ตัวช้ีวัด4 : วิเคราะห์ข้อมูลการสารวจการเฝ้าระวังและ ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ข้อมูลการยกระดับ ผูน้ ำชมุ ชน/จิตอำสำ จำนวน 92 กลมุ่ เศรษฐกิจและสั งคม เพื่ อจัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายต่อ คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ จำนวน 5 จังหวดั และหนว่ ยงานกลางทรี่ ับผิดชอบนโยบายแห่งรฐั (USI ข้อ14) กลุ่มผู้ประกอบกำรท่องเทย่ี ว จำนวน 8 กลุ่ม ข้อเสนอแนะ มำตรกำร แนวทำงป้องกนั จำนวน 5 จงั หวัด 1. รณรค์และส่งเสรมิ กำรฉีดวัคซีนปอ้ งกัน COVID 19 กลุ่มผู้ประกอบกำร จำนวน 11 กลมุ่ 2.มำตรกำรในกำรเว้นระยะห่ำง สวมหน้ำกำกอนำมัย วัดอณุ หภูมิ กำรล้ำงมือ-ใช้เจลแอลกอฮอล์ จำนวน 2 จังหวดั 3.ปฏิบัติตำมมำตรกำรในกำรป้องกันกำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่ำ 2019 ตำม ขำ้ รำชกำร จำนวน 5 กล่มุ ขอ้ กำหนดของศูนย์บริหำรสถำนกำรณฉ์ กุ เฉนิ (ศบค.) ระดบั จงั หวัด จำนวน 1 จังหวดั 4.คดั กรองกลุม่ เสี่ยง จุดตรวจคดั กรองดแู ลกำรเดินทำงเขำ้ ออก กกั กนั โรคทอ้ งท่ี (LQ)ในชุมชน ประชำชนทวั่ ไป จำนวน 1,020 คน ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบำย จำนวน 4 จงั หวัด 1. กำรกำหนดกฎ กติกำ ข้อตกลงรว่ มของชุมชน ในกำรปอ้ งกนั กำรแพร่ระบำดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนำ่ 2019 2. จัดทำและนำใชข้ ้อมลู ชมุ ชนทเ่ี ก่ยี วข้องกับกำรปอ้ งกนั กำรแพร่ระบำดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรน่ำ 2019 ได้แก่ กำร หมำยเหตุ: สำมำรถระบุรำยละเอียดในเอกสำรแนบจำนวนไม่เกนิ 1 แผ่น ฉีดวัคซนี , กำรตรวจ ATK, กำรสัมผัสกลมุ่ เสี่ยง เป็นต้น 3. วำงแผนกำรเฝำ้ ระวงั และควบคุมกำรแพรร่ ะบำดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรน่ำ 2019 ร่วมกันทัง้ ในระดับตำบล ระดับ อำเภอ ระดับจงั หวัด 4. จดั ทำข้อมูลกำรเดินทำง กำรเคลอ่ื นยำ้ ยบคุ คล(เดินทำงเขำ้ -ออกพื้นที่) ประจำทกุ เดอื น 5. รณรงค์และสื่อสำรควำมเสี่ยง ใหป้ ระชำชนในพ้ืนทไ่ี ด้ทรำบขอ้ มลู กำรปฏิบัติตนในกำรป้องกันกำรแพร่ระบำดของ โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรน่ำ 2019 อย่ำงถกู ตอ้ ง หมำยเหตุ :สำมำรถระบรุ ำยละเอยี ดในเอกสำรแนบจำนวนไม่เกนิ 1 แผ่น ผูร้ บั ผิดชอบ นำงปนติ ำ สิงหพันธ์ เบอรต์ ิดต่อ 055-968605 หน่วยงำน มหำวิทยำลัยนเรศวร

การดาเนนิ งานภาพรวม ระดบั เครอื ขา่ ย (RSI) 25 ธนั วาคม 2564 เครอื ขา่ ยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบน 9 มหาวทิ ยาลยั : 16 จงั หวดั 395 ตาบล จงั หวัดเลย 18 ตำบล จังหวดั บงึ กำฬ 31 ตำบล จังหวัดสกลนคร 27 ตำบล จงั หวดั กำฬสนิ ธุ์ 34 ตำบล จังหวัดมหำสำรคำม 41 ตำบล จงั หวัดสรุ นิ ทร์ 2 ตำบล จังหวัดขอนแกน่ 92 ตำบล จังหวัดมกุ ดำหำร 3 ตำบล จังหวัดหนองคำย 22 ตำบล จังหวัดชัยภมู ิ 7 ตำบล จังหวัดรอ้ ยเอ็ด 12 ตำบล จังหวัดหนองบวั ลำภู 23 ตำบล จังหวัดนครพนม 7 ตำบล จงั หวัดศรสี ะเกษ 5 ตำบล จงั หวดั อำนำจเจรญิ 3 ตำบล จงั หวัดอดุ รธำนี 68 ตำบล ตวั ชว้ี ดั 1: ประมวลตัวชวี้ ดั ระดับตำบลและระดบั มหำวทิ ยำลัย ตวั ชวี้ ดั 2: วเิ ครำะหแ์ ละสังเครำะหค์ วำมรจู ้ ำกปฏบิ ตั กิ ำรในพนื้ ทก่ี ับ ศกั ยภาพตาบล (ระดบั เครอื ขา่ ย) ควำมสอดคลอ้ งของกลมุ่ สำขำวชิ ำ เพอ่ื จัดทำเป็ นขอ้ เสนอในกำร สำหรบั ศกั ยภำพตำบลใน 4 ระดบั (กลมุ่ มงุ่ สคู่ วำมย่ังยืน กลมุ่ ควำมพอเพยี ง กลมุ่ ท่ี ปฏริ ปู กำรศกึ ษำในระดับอดุ มศกึ ษำ อยรู่ อด และกลมุ่ ทีย่ ังไมส่ ำมำรถอยรู่ อด) หลงั จำกมโี ครงกำร U2T ลงในพน้ื ท่ี พบว่ำ มหี ลำยตำบลทม่ี ศี กั ยภำพเพมิ่ ขน้ึ ณ ธันวำคม 2564 ดงั น้ี ▪ รอ้ ยละของกำรสง่ เสรมิ กำร สรำ้ งธุรกจิ ใหม่เป็ นกลมุ่ ของ ▪ พบวำ่ ตำบลมงุ่ สู่ เป็ นกำรพฒั นำธุรกจิ เดมิ ควำมยัง่ ยนื 66.58 % Social Enterprise เพมิ่ ขนึ้ เป็ นรอ้ ยละ มี 32.91% สว่ น Startups 40.51 สว่ นตำบล 25.57 % ทยี่ งั ไมส่ ำมำรถอยู่ รอดลดลงเหลอื ▪ สำหรบั รอ้ ยละของแหลง่ เรยี นรู ้ รอ้ ยละ 2.28 และหลกั สตู รกำรเรยี นรขู ้ องชมุ ชน นนั้ พบวำ่ มแี หลง่ เรยี นรเู ้ กดิ ขนึ้ ▪ โครงกำรรวมทัง้ สนิ้ 1,380 53.16% โดยเป็ นศนู ยก์ ำรเรยี นรู ้ โครงกำร เป็ นโครงกำรพัฒนำ 51.14% และเป็ นหลกั สตู รหรอื สัมมำชพี ฯ รอ้ ยละ 96.71 กำร รำยวชิ ำทคี่ วรปรบั ปรงุ หรอื พัฒนำ สง่ เสรมิ ดำ้ นสงิ่ แวดลอ้ ม/ อกี 31.90% (เทียบกบั จำนวนตำบล Circular Economy รอ้ ยละ ทัง้ หมด 395 ตำบล ) 91.14 มกี ำรนำองคค์ วำมรไู ้ ป ชว่ ยบรกิ ำรชมุ ชนรอ้ ยละ 79.24 ตวั ชว้ี ดั 3: สงั เครำะหน์ วัตกรรมของพนื้ ทเ่ี พอื่ ยกระดับเศรษฐกจิ และมกี ำรสรำ้ งและพัฒนำ Creative Economy รอ้ ยละ และสงั คมของประเทศ 72.15 (เทยี บกบั จำนวนตำบล ทัง้ หมด 395 ตำบล ) ▪ เทคโนโลยีและเครอ่ื งมอื ที่ใชไ้ ดผ้ ลดี นัน้ เป็ นเรอ่ื งขององคค์ วำมรมู ้ ำกที่สดุ ▪ สำหรบั ผทู ้ ป่ี ฏบิ ตั กิ ำรหลกั หรอื ผขู ้ บั เคลอื่ นปฏบิ ัตกิ ำรใน (3) สงั เคราะห์นวตั กรรมของพืน้ ท่ี82.03% รองมำคอื นวตั กรรม/ พนื้ ท่ี เพอ่ื ทำใหต้ ำบลมี เทคโนโลยี 51.15% เครอื่ งมอื / ศกั ยภำพสงู ขนึ้ นนั้ สว่ นใหญ่ เป็ นผูน้ ำชมุ ชนรอ้ ยละ 71.14 เพอปุ ่ือกรยณ์ ก42ร.53ะ%ดแบัละเอศน่ื ๆร5.ษ82%ฐกิจและสงั คมของประเทศ รองลงมำ คอื หน่วยงำน ▪ สำหรบั นวตั กรรมในกำรแกป้ ัญหำ เป็ น ภำครัฐ และ อปท. (เทียบกับ ลกั ษณะเชงิ กระบวนกำรมำกทีส่ ดุ จำนวนตำบลทัง้ หมด 395 ตำบล ) 308 ตำบล (77.97 %) รองลงมำ คอื เชงิ เทคนคิ และเชงิ ระบบ กลมุ่ ประชากรเป้ าหมายทด่ี าเนนิ การ ตวั ชวี้ ดั 4: สงั เครำะหข์ อ้ มูลกำรสำรวจกำรเฝ้ำระวงั และป้องกนั COVID 2019 เพอื่ ▪ สำหรับกลมุ่ ประชำกรเป้ ำหมำยทดี่ ำเนนิ กำร รวมทัง้ สน้ิ 839 กลมุ่ จดั ทำขอ้ เสนอเชงิ นโยบำยตอ่ คณะกรรมกำรยทุ ธศำสตรช์ ำติ คณะกรรมกำรปฏริ ปู เป็ นเกษตรกรรอ้ ยละ 70.89 วสิ ำหกจิ ชมุ ชนรอ้ ยละ 69.87 กลมุ่ ประเทศ และหน่วยงำนกลำงทร่ี บั ผดิ ชอบนโยบำยแห่งรฐั เปรำะบำงรอ้ ยละ 32.15 (เทยี บกบั จำนวนตำบลทัง้ หมด 395 ตำบล ) ▪ เมอื่ จำแนกตำม ▪ สว่ นเรอ่ื งเดน่ ทนี่ ำ พนื้ ที่ ทแ่ี ตล่ ะ ลงพนื้ ทเี่ ป็ นเรอื่ ง มหำวทิ ยำลยั เขำ้ ของผลผลติ และ ดำเนนิ กำร พบวำ่ ผลติ ภัณฑร์ อ้ ยละ รอ้ ยละของกำร 77.72 รองลงมำ ปฏบิ ัตเิ พอ่ื ป้องกนั คอื กจิ กรรมและ ฯ นนั้ เกนิ กวำ่ บรกิ ำรรอ้ ยละ 80% ทงั้ 9 พนื้ ท่ี 56.71 ▪ น่ำสงั เกต คอื ในสว่ นของ ตลาด จะมคี ำ่ รอ้ ยละเฉลย่ี ตำ่ กว่ำทอ่ี นื่ ดงั นัน้ หำกมี กำรกำกบั ตดิ ตำมหรอื รณรงคใ์ นสว่ นของตลำด มำกขน้ึ ก็จะเป็ นผลดี ผรู้ บั ผดิ ชอบ ศำสตรำจำรย์ ดร.ธดิ ำรัตน์ บุญมำศ เบอรต์ ดิ ตอ่ 043-009700 ตอ่ 42129 หนว่ ยงาน ฝ่ ำยนวตั กรรมและวสิ ำหกจิ มหำวทิ ยำลยั ขอนแกน่

ภาคผนวก เอกสารแนบ ประกอบ Template 1. Link เอกสารแนบ RSI-NE ตอนบน >> Click 2. Link Infographic USI-NE ตอนบน รายมหาวทิ ยาลยั ทงั้ 9 >> Click

การดำเนินงานภาพรวมระดับเครอ� ขาย RSI เคร�อขายภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนลา ง 9 348ประกอบดว ย ตวั ช้�วดั 1 : ประมวลตวั ช�้วัดระดับตำบลและระดบั มหาว�ทยาลัย ใหอ ยูในสถานะท่ีแสดงความครอบคลมุ ประชากรเปาหมายและสอดรับ กบั 16 ประการ รวม 348 ตำบลศกั ยภาพตำบล (ระดับเคร�อขาย) มหาว�ทยาลยั ตำบล 161 กอ น ครอบคลมุ 8 จงั หวัด 150 142 หลงั 100 131 109 ตวั ช้ว� ัด 2 : 50 45 61 36 11 การถอดบทเรย� น/จบั คูองคค วามรู ปรบั ปรงุ หลักสูตร การเรย� นการสอน 0 พน ความยากลำบาก มงุ สูความพอเพยี ง ยงั ไมพ น ความยากลำบาก มงุ สูความย่งั ยนื ว�เคราะหและสงั เคราะหความรจู ากปฏบิ ตั ิการในพื้นท่ีกับ กลมุ ประชากรเปาหมายทีด่ ำเนนิ การ ความสอดคลองของกลมุ สาขาว�ชา เพ่ือจัดทำเปนขอเสนอ 246 ราย 216 ราย ในการปฏริ ูปการศึกษาในอุดมศกึ ษา ( ) 139 ราย ( ) 191 ราย ( USI ขอ 2,4,7,8,9,10,11,และ 12 ) 16 24 จำนวน 27,736 คน จำนวน 9 มหาว�ทยาลยั จำนวน 8 จังหวดั ฝกอบรมระยะส้นั 179 หลักสูตร 45 179 จำนวน 8,894 คน จำนวน 9 มหาว�ทยาลัย จำนวน 8 จังหวัด การเร�ยนการสอน 45 หลักสูตร จำนวน 4,996 คน จำนวน 9 มหาวท� ยาลัย จำนวน 8 จงั หวัด การเรย� นรูต ลอดช�วต� 24 หลกั สตู ร จำนวน 4,357 คน จำนวน 9 มหาวท� ยาลัย จำนวน 8 จงั หวัด อ่นื ๆ 16 หลักสตู ร หมายเหตุ: ขอ มลู จากรายงาน USI เครอ� ขายอีสานลา ง หมายเหตุ: ขอมูลจากระบบ PBM ขอมูล ณ วันท่ี 23 ธันวาคม 2564 ตวั ชว�้ ดั ที่ 3 : 50 226 492ฐานขอ มลู ท่ีชมุ ชนสามารถเขา ถึง และนำไปใชป ระโยชน สังเคราะหน วัตกรรมของพื้นที่เพ่อื ยกระดบั เศรษฐกิจ และสงั คมของประเทศ (USI ขอ 8,9,11,12 และ 13) เชน องคความรู เทคโนโลยี นวตั กรรม จำนวน 492 เร�่อง กระบวนการ/ว�ธ�การ จำนวน 226 เร่อ� ง อน่ื ๆ (ระบุ) 50 เร่�อง หมายเหต:ุ ขอมลู จากรายงาน USI เครอ� ขายอีสานลาง อื่น ๆ (ระบุ) กระบวนการ/ว�ธ�การ องคค วามรู เทคโนโลยี นวตั กรรม ตัวชว�้ ดั 4 : ขอ เสนอแนะเช�งนโยบาย 1. ควรมีรปู แบบ แผนงานและแนวทางในการดำเนินโครงการทช่ี ดั เจน ขอเสนอแนะมาตรการ แนวทางปอ งกัน เพ่อื ใหก ารบร�หารจัดการและการดำเนนิ โครงการฯ ในระดบั RSI 1. มาตรการแยกผปู วยผตู ดิ เช�อ้ ออกจากครอบครัว เปนไปดว ยความเร�ยบรอยและตรงตามวัตถปุ ระสงคของโครงการฯ เนอ่ื งจากพบวา การกกั แยกโรคท่บี า น (home isolation) 2. ควรเรม�่ จากความตองการของชุมชนอยางแทจร�ง (Start with the Community) จะมคี วามเสย่ี งสงู ใหเกิดการติดเช�้อตอ ผสู งู อายุและ และสงเสร�มการมสี ว นรว มของคนในพ้ืนท่ี เดก็ ในครอบครวั 3. ควรสง เสรม� แนะนำการหาแหลงทุน ชอ งทางการตลาด เพื่อตอยอด 2. มาตรการการกำกบั ควบคุมการประกอบธุรกิจ ในการดำเนินโครงการจากพ้ืนที่ บางประเภทในระยะปานกลางและระยะยาว 4. ควรมโี ครงการสนบั สนนุ หร�อการตดิ ตามเพื่อการพฒั นาพืน้ ทีอ่ ยางตอเนอ่ื ง 3. การสรา งความตระหนกั รูใหแ กป ระชาชนกลุม เสย่ี งและ ประชาชนทวั่ ไปในการเฝา ระวงั และปอ งกนั โรคติด หมายเหต:ุ ขอ มลู จากรายงาน USI เครอ� ขา ยอีสานลา ง เช้อ� COVID-19 สงเสรม� ใหกลุมเสย่ี งสามารถปองกัน การติดเช�้อไดด ว ยตนเอง รายละเอียดเพมิ่ เติม การดำเนนิ งานภาพรวมระดบั เครอ� ขาย RSI >

R การดาเนนิ งานภาพรวม S ระดบั เครอื ขา่ ย RSI เครอื ขา่ ย ภาคกลางตอนบน I ประกอบดว้ ย 16 มหาวทิ ยาลัย ครอบคลมุ 44 จงั หวดั 483 ตาบล ตัวชี้วัด 1 ประมวลตัวช้ีวัดระดับตาบลและระดับ ตวั ชว้ี ดั 2 วเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหค์ วามรู้ มหาวิทยาลัยให้อยู่ในสถานะที่แสดงความครอบคลุม จ า ก ป ฏิ บั ติ ก า ร ใ น พื้ น ที่ กั บ ค ว า ม ประชากรเป้าหมายและสอดรบั กับ 16 ประการ สอดคลอ้ งของกลมุ่ สาขาวิชาเพ่ือจัดทา เป็นข้อเสนอในการปฏิรูปการศึกษาใน ศักยภาพตาบล (ระดบั เครอื ขา่ ย) ระดบั อดุ มศึกษา กอ่ นเร่มิ โครงการ สิน้ สดุ โครงการ - หลักสูตรการเรียนการสอน จานวน 30 หลักสูตร หลักสูตร - หลักสูตรฝกึ อบรมระยะส้ัน จานวน 267 หลกั สูตร ตาบลมุ่งสู่ความย่งั ยนื 45 ตาบล ตาบลมุ่งสู่ความยั่งยืน 219 ตาบล - หลักสูตรการเรียนรตู้ ลอดชีวิต จานวน 13 ตาบลมุ่งสู่พอเพียง 186 ตาบล ตาบลมุง่ สพู่ อเพียง 182 ตาบล ตาบลพ้นความยาก 165 ตาบล ตาบลพ้นความยาก 70 ตาบล ลาบาก ลาบาก ตาบลทย่ี งั ไม่พ้น 87 ตาบล ตาบลท่ยี งั ไม่พ้น 12 ตาบล ตัวชี้วัด 3 สังเคราะห์นวัตกรรม ของพ้ืนที่เพ่ือยกระดับเศรษฐกิจ ความยากลาบาก ความยากลาบาก และสังคมของประเทศ ขอ้ มลู ณ วันที่ 24 ธนั วาคม 2564 ฐานข้อมลู ท่ีชุมชนสามารถเข้าถึง และนาไปใช้ประโยชน์ได้ จากข้อมูลจากมหาวิทยาลัยภายใต้เครือข่ายภาคกลาง กลุม่ ประชากรเปา้ หมาย ตอนบน ท่ดี าเนนิ การ เกษตรกร 194 กลุ่ม ➢ องคค์ วามรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม 225 เร่อื ง ➢ กระบวนการ/วธิ ี กลุ่มประชากรท่ีประกอบอาชีพเกษตรกรรมใน 66 เร่อื ง พ้ืนท่ีเป้าหมาย ท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนา ศั กยภาพตามกิจกรรมของมหาวิทยาลัยท่ี องค์ความรู้โดยส่วนใหญ่มุ่งเน้น ให้ประชาชนในพ้ื นท่ี ดาเนินการในพ้ืนท่ี สามารถนาข้อมูลหรือกระบวนการไปปรับใช้กับบริบทของ ชมุ ชนได้ เพ่ือให้เกิดการพัฒนารายได้ อาชีพ การใช้ชีวิตให้ วสิ าหกจิ ชมุ ชน 212 กลุ่ม มคี ณุ ภาพอย่างยัง่ ยืน กลุ่มประชากรท่ีรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนขนาด ตัวช้ีวัด 4 สังเคราะห์ข้อมูลการสารวจการ ย่อมในพ้ืนท่ีเป้าหมาย ท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการ เฝ้าระวงั และปอ้ งกนั โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา พัฒนาศักยภาพตามกิจกรรมของมหาวทิ ยาลัย 2019 ข้อมูลการยกระดับเศรษฐกิจและ ท่ีดาเนินการในพ้ืนท่ี สังคม เพื่อจัดทาขอ้ เสนอเชงิ นโยบายตอ่ คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ คณะกรรมการปฏิรูป กลมุ่ เปราะบาง 165 กลมุ่ ประเทศ และหนว่ ยงานกลางทร่ี บั ผดิ ชอบนโยบายแหง่ รฐั ก ลุ่ ม ป ร ะ ช า ก ร ท่ี เ ป็ น เ ด็ ก แ ล ะ ผู้ สู ง อ า ยุ ท่ี อ า ยุ ข้อเสนอแนะ: ใช้สถาบันอุดมศึกษาและกลไกของ อว. มากกว่า 60 ปีขึ้นไปท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการ สว่ นหนา้ ในการสร้างความเข้าใจท่ีถูกต้องเกี่ยวกับโรค พัฒนาศักยภาพตามกจิ กรรมของมหาวทิ ยาลัย โคโรนาไวรสั หรือโรคอุบัตใิ หม่ในอนาคต ที่สามารถเข้าสู่ ท่ดี าเนินการในพ้ืนท่ี กลุ่ม ปร ะ ชาก ร เ ป้าหม ายไ ด้อย่างร วด เ ร็วอัน เ ป็น ประโยชน์ต่อการจัดการดา้ นสาธารณสุขของภาครัฐ อ่นื ๆ 228 กลุ่ม ผ้รู บั ผดิ ชอบ .ร..อ...ง...ศ...า..ส...ต....ร..า...จ..า...ร..ย...์..ด...ร....ศ....ร..เี..พ...็.ญ......ศ...ุภ...พ....ิท...ย...า...ก...ุล.... กลมุ่ ท่เี ปน็ ผู้มคี วามรู้ความสามารถในพ้ืนท่ีหรือ หนว่ ยงาน ..เ.ค....ร..ือ...ข...า่..ย...เ..พ...่.ือ...ก...า..ร...พ...ัฒ......น...า..อ...ดุ ...ม...ศ...ึ.ก...ษ...า....................... หนว่ ยงานในพ้ืนท่ีเปา้ หมาย อาทิ กลุ่มสัมมาชีพ องค์การบริหารส่วนตาบล ฯลฯ ท่ีเข้าร่วม .ภ....า..ค...ก...ล...า...ง..ต....อ...น...บ...น....จ...ฬุ....า..ล...ง...ก...ร...ณ.....ม์ ...ห...า..ว...ทิ ...ย...า..ล...ัย....... กิจกรรมของมหาวิทยาลยั ท่ดี าเนนิ การในพ้ืนท่ี เบอรต์ ดิ ตอ่ .0...2...-..2...1.8...-...3...9...1.0.....ห...ร..อื.....0...2...-..2...1.8...-...3...9..1..3..........................

ประมวลตัวชี้วัดระดับตำบลและระดับมหาวิทยาลัย ให้อยู่ในสถานะที่แสดงความครอบคลุมประชากร เป้าหมายและสอดรับกับ 16 ประการ ภาพรวมการประเมินศักภาพตำบล (ระดับเครือข่าย) เครือข่าย ภาคกลางตอนบน 250 ก่อนเริ่มโครงการ 200 จำนวนตำบล 150 มุ่งสู่ความยั่งยืน 45 ตำบล 100 มุ่งสู่พอเพียง 186 ตำบล พ้นความยากลำบาก 165 ตำบล ยังไม่พ้นความยากลำบาก 87 ตำบล *ข้อมูล ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2564 สิ้นสุดโครงการ 50 มุ่งสู่ความยั่งยืน 219 ตำบล 0 มุ่งสู่พอเพียง 182 ตำบล มุ่งสู่ความ พ้ นความ พ้นความยากลำบาก 70 ตำบล มุ่งสู่พอเพี ยง ยังไม่พ้ นความ ยังไม่พ้นความยากลำบาก 12 ตำบล ยั่งยืน ยากลำบาก ยากลำบาก *ข้อมูล ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2564 กิจกรรมการพั ฒนาตำบล แบ่งออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ พื้ นที่ทั้งหมดที่เข้าดำเนินการ การพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ 44 จังหวัด (การยกระดับสินค้า OTOP/อาชีพอื่ นๆ) 483 ตำบล การสร้างและพัฒนา CREATIVE ECONOMY (การยกระดับการท่องเที่ยว) การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (HEALTH CARE/ เทคโนโลยีด้านต่างๆ) การส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม CIRCULAR ECONOMY (การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ชุมชน)

RSIการดาเนนิ งานภาพรวมระดับเครือขา่ ย เครอื ขา่ ย ภาคกลางตอนลา่ ง ศกั ยภาพตาบล 14 มหาวิทยาลยั ครอบคลมุ 45 จังหวัด 591 ตาบล หลงั กอ่ น • ตาบลมุ่งสยู่ ัง่ ยืน 199 ตาบล • ตาบลมุง่ สู่ย่ังยนื 355 ตาบล • ตาบลมุง่ สพู่ อเพียง 162 ตาบล • ตาบลมุ่งสพู่ อเพียง 137 ตาบล • ตาบลพน้ ความยากลาบาก • ตาบลพน้ ความยากลาบาก 87 ตาบล 60 ตาบล • ตาบลทย่ี ังไมพ่ น้ จาก • ตาบลท่ียังไมพ่ ้นจาก ความยากลาบาก 143 ตาบล ความยากลาบาก 39 ตาบล วิเคราะหแ์ ละสังเคราะหค์ วามรู้จากปฏิบัตกิ ารในพ้ืนทก่ี ับความ กลุม่ ประชากรเป้าหมายทดี่ าเนนิ การ สอดคล้องของกล่มุ สาขาวชิ า เพ่ือจดั ทาเป็นขอ้ เสนอในการ ปฏริ ปู การศกึ ษาในระดบั อุดมศึกษา เกษตรกร จานวน 24,244 คน วสิ าหกิจชุมชน จานวน 17,266 คน หลักสูตรการเรยี นการสอน จานวน 29 หลักสูตร จานวน 6 มหาวิทยาลยั จานวน 6 มหาวทิ ยาลัย หลกั สตู รฝึกอบรมระยะส้ัน จานวน 60 หลักสตู ร จานวน 33 จังหวดั จานวน 32 จังหวดั หลักสตู รการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ จานวน 18 หลกั สตู ร อน่ื ๆ จานวน 32,510 คน กลมุ่ เปราะบาง จานวน 13,488 คน สังเคราะห์ขอ้ มลู การสารวจการเฝ้าระวังและป้องกันโรคไวรัสโคโรนา จานวน 6 มหาวทิ ยาลัย จานวน 6 มหาวทิ ยาลัย 2019 ขอ้ มูลการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมเพือ่ จดั ทาขอ้ เสนอเชิง นโยบายตอ่ คณะกรรมการยุทธศาสตรช์ าติ คณะกรรมการปฎริ ปู ประเทศ จานวน 30 จงั หวดั จานวน 29 จงั หวดั และหนว่ ยงานกลางทร่ี บั ผดิ ชอบนโยบาลแหง่ รฐั สงั เคราะหน์ วตั กรรมของพืน้ ท่ีเพอื่ ยกระดบั เศรษฐกิจ - มกี ารทาชอ่ งทางการสอ่ื สารออนไลน์เป็นเพจเฟสบุค๊ และไลค์กลมุ่ เพื่อ และสงั คมของประเทศ ถอดบทเรียน/จบั คอู่ งคค์ วามรู้ ประชาสมั พนั ธข์ ้อมลู การทางาน ขา่ วสารท้ังภายในและภายนอก การสารวจเฝา้ ระวงั และป้องกนั โรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา่ 2019 เป็นประจาให้ประชาชนไดร้ บั รู้ ปรับปรงุ หลักสูตรการเรียนการสอน - ไดร้ บั การฉดี วัคซีนแลว้ 1-2 เขม็ องค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม จานวน 163 เร่อื ง กระบวนการ/วิธกี าร จานวน 7 เรอ่ื ง - วัดอณุ หภูมแิ ละลา้ งมือด้วยเจลแอลกอฮอล์กอ่ นเข้าพ้นื ที่ ผู้รบั ผดิ ชอบ: ดร.อรยิ า พรหมสภุ า - สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา เบอรต์ ิดต่อ: 02-4708365 หนว่ ยงาน: สานกั งานมหาวิทยาลัยสัมพันธ์ - เว้นระยะห่างทางสงั คม 1-2 เมตร - หลีกเลย่ี งพ้ืนทีเ่ ส่ยี ง

ตัวช้ีวดั 2: วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรจู้ ากปฏบิ ตั ิการในพืน้ ทกี่ บั ความสอดคลอ้ งของกลมุ่ สาขาวชิ า เพอ่ื จดั ทำเปน็ ขอ้ เสนอ ในการปฏิรูปการศกึ ษาในระดับอดุ มศึกษา (USI 2,4,7,8,9,10,11,12) หลักสตู รการสอน ( 29 หลักสตู ร) 1) ปรบั ปรุงรายวิชาสมั มนา, (มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์) 2) ปรับปรุงหลกั สตู รประมง มก. เปน็ การบูรณาการการเรยี นการสอนรว่ มกันของรายวชิ าดังนี้ : หลักการเพาะเล้ยี งสตั วน์ ำ้ (Principles of Aquaculture) / การเลย้ี งสตั วน์ ้ำจดื (Freshwater Animal Culture) / คณุ ภาพนำ้ สำหรบั การเพาะเลย้ี งสตั วน์ ้ำ (Water Quality for Aquaculture) / แพลงกต์ อนเพ่อื การเพาะเลยี้ งสัตว์น้ำ (Plankton for Aquaculture) / อาหารสตั วน์ ำ้ (Aquatic Animal Feed) / โรคและปรสิตของสตั วน์ ้ำ (Dieseases and Parasites of Aquatic Animals) นอกจากน้ี การ ปรบั ปรุงการเรียนการสอนของหลกั สตู รปรบั ปรุง ยงั ม่งุ เน้นไปที่การบูรณาการรว่ มกบั งานวิจยั และงานบริการวชิ าการ เช่น โครงการ เกษตรรมิ โขง โครงการ Esan Gastronomy โครงการอนุรักษ์พนั ธุพ์ ชื (อพ.สธ.) เปน็ ตน้ และภายใตร้ ายวชิ าการเพาะเลี้ยงและ อนุบาลสตั ว์นำ้ จดื ,(มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร)์ 3) การจัดการเรียนการสอนในหลกั สูตรปรบั ปรงุ ใหม่ จะเนน้ การใช้ Area - based learning / Problem - based learning และ Project - based learning โดยใช้โจทยใ์ นการเรยี นรู้จากปญั หาท่ีเกดิ ข้นึ จริงในฟารม์ หรอื บอ่ เลย้ี งของเกษตรกรเป็นหวั ขอ้ ในการ เรยี นรเู้ ชงิ บรู ณาการ, (มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร)์ 4) การปรับปรุงรายวชิ า วศิ วกรรมขยะมูลฝอย (Solid Waste Engineering), (มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร)์ 5) การปรบั ปรงุ วชิ าการจัดการระบบส่งิ แวดล้อม (Environmental System Management) กรณศี กึ ษาการจัดการขยะอนิ ทรีย์ โดยใชช้ มุ ชนเป็นฐานและใช้หลกั การ Win-Win Principle จาก U2T เจรญิ ศลิ ป์เปน็ กรณศี ึกษาในวิชาดังกลา่ ว และขยะมลู ฝอย ,(มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร)์ 6) การปรับปรุงรายวิชาการจดั การการปฏบิ ตั ิการ, (มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร)์ 7) การปรบั ปรงุ วชิ าการออกแบบ วางแผน และควบคมุ การผลติ , (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) 8) การปรับปรุงวชิ าการควบคมุ ตน้ ทนุ และการจดั การทรัพยากร, (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร)์ 9) การปรับปรุงวิชาการจดั การโครงการทางธุรกิจ, (มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร)์ 10) การปรบั ปรงุ วิชาความเป็นผปู้ ระกอบการ, (มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์) 11) การปรับปรุงวชิ านโยบายผลติ ภณั ฑแ์ ละราคา, (มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์) 12) การปรับปรงุ วิชาการจดั การช่องทางการตลาด โดยเนน้ การประยุกตห์ ลักทฤษฎมี าใชก้ บั การสาธติ ทดลองและฝึกปฏบิ ตั ิ จรงิ (Practice-based and Experimental-based learning) , (มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร)์ 13) การปรบั ปรุงรายวิชาวศิ วกรรมขยะมลู ฝอย (Solid Waste Engineering) , (มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์) 14) การปรับปรุงการจดั การธรุ กจิ ครอบครวั , (มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์) 15) การปรบั ปรุงความคดิ สรา้ งสรรค์และนวตั กรรม, (มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์) 16) การปรบั ปรงุ การจดั การเทคโนโลยแี ละเทคโนโลยดี ิจิทลั โดยเนน้ การประยกุ ต์หลกั ทฤษฎีมาใช้กับการสาธติ ทดลองและฝกึ ปฏบิ ัตจิ ริง (Practice-based and Experimental-based learning) , (มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร)์ 17) การปรบั ปรุงรายวิชาการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรและสิ่งแวดล้อม (Resource and Environmental Conservation) , (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) 18) การปรบั ปรุงรายวิชาการออกแบบทางวศิ วกรรมประปา (Water Supply Engineering Design) , (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร)์ 19) การปรบั ปรุงรายวิชาพลงั งานหมนุ เวียน, (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) 20) การปรบั ปรุงรายวชิ าการวเิ คราะหแ์ ละประยุกตเ์ ครื่องจักรไฟฟา้ , (มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์)

21) การปรบั ปรุงรายวิชา เรือ่ งเฉพาะทางเคมีประยกุ ต์ Selected Topics in Applied Chemistry) ให้มีการเรยี นการสอนเน้อื หา เกยี่ วกับเคมสี มุนไพรและเคร่อื งสำอาง, (มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร)์ 22) การปรับปรงุ รายวิชาเคมีการจัดการของเสยี (chemistry of Waste Management) , (มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร)์ 23) หลกั สูตรคณะวศิ วกรรมศาสตร์ มก. เป็นการบรู ณาการการเรยี นการสอนร่วมกันของรายวิชาดงั น้ี : Unit Lab กบั Sufficiency Economy for Living, (มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร)์ 24) หลักสตู รคณะวิศวกรรมศาสตร์ มก. เป็นการบรู ณาการการเรยี นการสอนร่วมกันของรายวชิ าดงั น้ี : Thermodynamic กับ Engineering Mechanics และ Introduction to Programming, (มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์) 25) หลกั สตู รคณะวศิ วกรรมศาสตร์ มก. เป็นการบรู ณาการการเรยี นการสอนรว่ มกนั ของรายวิชาดงั นี้ : Introduction to Programming, (มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร)์ 26) หลกั สูตรคณะวศิ วกรรมศาสตร์ มก. เปน็ การบรู ณาการการเรยี นการสอนรว่ มกันของรายวิชาดงั น้ี : Sufficiency Economy for Living, (มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์) 27) ปรบั ปรุงกลุ่มวชิ าคุณธรรม จรยิ ธรรมในการดำเนินชีวติ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง, (มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี) 28) ปรบั ปรุงหลกั สูตรวิชาการเปน็ ผู้ประกอบการ และระเบยี บวธิ ีวจิ ัยทางธุรกิจ จากการถอดบทเรยี น u2txDonruak, (มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร์) 29) พฒั นาหลักสตู รการพัฒนาสงั คมและการจดั การทรัพยากรวฒั นธรรมชมุ ชน ในกลมุ่ วชิ าการพฒั นาสงั คมจำนวน 2 รายวชิ า ใน ระดบั ปริญญาตรีและมหาบณั ฑิต, (มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ) อบรมระยะส้ัน (60 หลกั สตู ร) 1) หลักสูตรพฒั นาอาชีพเรอื่ ง การทำวนุ้ แฟนซี และวุน้ ประยกุ ต์ เผยแพร่ในส่อื อิเล็กทรอนิกส์, (มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบรุ ี) 2) หลักสตู รการจดั การขยะชุมชน, (มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบรุ ี) 3) หลักสตู รการทำนำ้ ยาทำความสะอาด, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 4) แหล่งเรยี นรธู้ นาคารขยะในชุมชนมัสยิดสุวรรณภูมิ, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 5) หลักสูตรระยะส้ันการทำเจลแอลกอฮอล์ และสเปรย์, (มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบุรี) 6) หลักสตู รการทำสบจู่ ากกากกาแฟ, (มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี) 7) หลักสตู รการทำสบู่เหลวจากสมนุ ไพร, (มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี) 8) หลกั สตู รการทำถุงหอม, (มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี) 9) หลักสูตรการทำกระปุกออมสินจากเศษกระดาษ ป้าน้อยหมกู ระดาษ, (มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบรุ ี) 10) หลักสูตรการทำสเปรยไ์ ลย่ งุ จากเปลอื กสม้ โอ, (มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี) 11) หลักสูตรการทำลูกยอดพวงมโหตรและพวงมโหตรประยุกต์, (มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบรุ ี) 12) หลกั สูตรตอซงั ข้าวสรา้ งอาชพี , (มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบรุ ี) 13) หลักสตู รการแปรรปู ผกั ตบชวาเป็นผลติ ภณั ฑ์, (มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี) 14) หลักสูตรการส่งเสรมิ อาชพี การเลย้ี งเปด็ ปากน้ำ, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 15) หลักสูตรการเพาะเห็ดฟางในตะกร้า, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 16) หลักสูตรการทำนำ้ พรกิ ปลาสลดิ เพ่อื สขุ ภาพ, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบุรี) 17) หลกั สตู รการทำกระเปา๋ สานแฟชน่ั จากเสน้ พลาสติก, (มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี) 18) หลกั สูตรการทำนำ้ พรกิ กากหมู, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 19) หลักสตู รการทำสลดั โรล, (มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี) 20) หลกั สูตรการทำนำ้ ยาล้างจาน, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 21) หลักสูตรการทำยาหมอ่ งน้ำสมนุ ไพร, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี) 22) หลกั สูตรอบรมการตลาดออนไลน์, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี)

23) หลกั สตู รส่งเสริมการวางแผนการเงิน, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 24) หลักสตู รอบรมมคั คเุ ทศก์, (มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี) 25) หลักสูตรอบรมการทำหนา้ กากอนามยั , (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี) 26) หลกั สตู รอบรมการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์อาหารจากผลจาก, (มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบุรี) 27) หลักสูตรอบรมการพัฒนาผลติ ภณั ฑจ์ ากต้นจาก, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี) 28) หลกั สตู รการทำเหรียญโปรยทาน, (มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี) 29) หลกั สตู รการทำสเปรยต์ ะไครห้ อมกนั ยุง, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 30) หลกั สูตรการทำลูกประคบธญั พชื , (มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบุรี) 31) หลักสูตรนำ้ หมกั ชวี ภาพจากสมุนไพรและผลไมร้ สเปรยี้ ว, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 32) หลกั สตู รการทำปยุ๋ พืชสด, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 33) หลักสตู ร \"มดั ย้อมสร้างสรรค์ ผลติ ภณั ฑส์ ร้างรายได้\", (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี) 34) หลกั สูตรถุงผ้ามัดยอ้ มจากลายธงตะขาบ, (มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบุรี) 35) หลักสูตรภาษาต่างประเทศเพอื่ การส่ือสาร, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบุรี) 36) หลักสตู รการทำดินปุย๋ และกระถางขุยมะพร้าว, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 37) หลักสตู รการทำสบวู่ า่ นหางจระเข้, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 38) หลักสตู รการแปรรูปขนมเขง่ , (มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี) 39) หลักสตู รเทยี นหอมกลิน่ ตะไคร้, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 40) หลักสูตรนำ้ ยาล้างจานกลนิ่ มะกรดู , (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ )ี 41) หลักสูตรแพทย์แผนไทยเพือ่ สขุ ภาพ, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 42) หลักสูตรพฒั นาผลติ ภณั ฑจ์ ากเตยหอม, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 43) หลักสูตรการทำนำ้ พรกิ เผา, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 44) หลักสูตรการทำนำ้ พริกรวมพล, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี) 45) หลกั สตู รการทำขนมเปย๊ี ะและขนมเคก้ , (มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี) 46) หลกั สตู รการทำนำ้ ยาลา้ งจานจากเปลอื กสบั ปะรด, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 47) หลกั สูตรการพัฒนาตราสินคา้ ฉลากสนิ ค้า และบรรจภุ ณั ฑ์, (มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี) 48) หลักสูตรภาษาจีนข้นั พื้นฐานมงุ่ สุ่การเป็นผนู้ ำเทยี่ ว, (มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบุรี) 49) หลกั สตู รภาษาอังกฤษเพอื่ การสื่อสาร, (มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี) 50) หลักสตู รการทำอาหารว่างเพมิ่ ภมู ิตา้ นทาน, (มหาวิทยาลยั ราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา) 51) หลักสูตรการคว่นั มะพรา้ ว, (มหาวิทยาลัยราชภฏั บ้านสมเด็จเจา้ พระยา) 52) หลักสูตรธรุ กจิ บอนสีออนไลน,์ (มหาวิทยาลัยราชภฏั บา้ นสมเด็จเจ้าพระยา) 53) หลักสตู รผา้ มดั ย้อม บ้านพันทา้ ยนรสิงห,์ (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเด็จเจา้ พระยา) 54) หลกั สูตรสบ่สู มนุ ไพร บา้ นพนั ทา้ ยนรสิงห์, (มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา) 55) การถักเชอื กกลว้ ยจากวสั ดเุ หลือใช้ทางการเกษตร, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา) 56) การจดั อบรมการประยุกต์ใช้เคร่อื งช่ังนำ้ หนกั แพะแบบอตั โนมตั ดิ ้วยระบบ IOT, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล รตั นโกสินทร์) 57) อบรมการแปรรูปผลติ ภณั ฑ์จากเนอื้ แพะมกี ารต่อยอดผลติ ภณั ฑ์, (มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร์) 58) อบรมทกั ษะการ บริการของการท่องเทยี่ วโดย ชุมชน (Services Skill for CBT) >1.1. พฒั นารูปแบบการ ทอ่ งเท่ียวโดยชุมชน จาก ต้นทุนทางวัฒนธรรมและ ประเพณี (Culture by CBT), (มหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมูบ่ า้ นจอมบึง) 59) อบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารออกแบบและพฒั นาผลติ ภัณฑ์ การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ และ การสื่อสารการทอ่ งเท่ยี ว, (มหาวิทยาลัยราช ภฏั หมู่บา้ นจอมบงึ ) 60) ฝึกอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารการผลติ สินค้าจากผลติ ภณั ฑ์ผา้ ขาวม้า และการถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารยกระดบั สินค้า เชน่ การ ออกแบบผลติ ภณั ฑ์ การพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ การวางแผนการทำงาน การจัดอบรม, (มหาวิทยาลยั ราชภัฏหมู่บ้านจอมบงึ ) หลกั สตู รการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต (18 หลกั สตู ร) 1) หลกั สูตรพฒั นาผปู้ ระกอบการผลิตภณั ฑช์ ุมชน, (มหาวิทยาลยั ราชภัฏบ้านสมเด็จเจา้ พระยา) 2) หลักสตู รมคั คุเทศก์นอ้ ย, (มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บ้านสมเด็จเจา้ พระยา) 3) หลกั สตู รการแปรรปู ผลติ ภณั ฑม์ ะพร้าว, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเด็จเจ้าพระยา)

4) หลักสูตรการประชาสมั พันธแ์ ละการตลาดออนไลน์, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา) 5) หลักสตู รการจดั การการท่องเท่ียวชุมชน, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา) 6) หลักสตู รการประชาสมั พนั ธ์การทอ่ งเที่ยว, (มหาวิทยาลัยราชภัฏบา้ นสมเด็จเจา้ พระยา) 7) หลักสูตรอบรมผ้สู งู วยั , (มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา) 8) หลกั สูตรการเลี้ยงไส้เดือน, (มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บ้านสมเด็จเจา้ พระยา) 9) หลักสตู รการดแู ลผสู้ งู อายแุ ละผพู้ กิ ารทางเคลื่อนไหว, (มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา) 10) หลกั สตู รพฒั นาศักยภาพผูป้ ระกอบการผลติ ภณั ฑช์ ุมชน, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา) 11) หลักสตู รอาหารทะเลแปรรูป, (มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา) 12) หลกั สตู รสง่ เสรมิ ช่องทางการตลาดออนไลน์ของวสิ าหกจิ ชมุ ชน, (มหาวิทยาลัยราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา) 13) หลักสตู รการออกกำลังกาย, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา) 14) หลกั สตู รการออกแบบผลติ แบรนด์สนิ คา้ , (มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บ้านสมเด็จเจา้ พระยา) 15) หลกั สูตรการพฒั นาและยกระดับสนิ ค้าทอ้ งถ่ินสสู่ นิ คา้ บ่งช้ที างภูมศิ าตร์ (GI), (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเด็จเจา้ พระยา) 16) หลักสูตรพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วเชงิ นเิ วศของตำบลบางกระเจา้ , (มหาวิทยาลยั ราชภฏั บ้านสมเด็จเจา้ พระยา) 17) หลักสูตรการพฒั นาผลติ ภณั ฑแ์ ละบรรจุภณั ฑท์ ไี่ ด้จากการฝึกอาชีพใหม่, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา) 18) หลักสตู รดา้ นองค์ความรใู้ นการชว่ ยบรกิ ารชุมชนดา้ นสขุ ภาพ, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา) ตวั ช้วี ัดท่ี 3: สังเคราะหน์ วัตกรรมของพน้ื ทเี่ พื่อยกระดบั เศษรฐกจิ และสงั คมของประเทศ (USI 8,9,11,12,13) ด้านองค์ความร/ู้ เทคโนโลย/ี นวัตกรรม จำนวน 163 ด้าน 1) ด้านการนำนวตั กรรมเคร่ืองมอื ไปใชใ้ นการผลิต, (มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์) 2) การจัดการขยะดว้ ยเทคโนโลยกี ารจดั ทำปยุ๋ อนิ ทรยี ์ หรือกา๊ ซหุงตม้ , (มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์) 3) นำเทคโนโลยเี ข้ามาชว่ ยบริหารจัดการ การจำหน่ายสินคา้ , (มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์) 4) ระบบโรงอบพลงั งานแสงอาทิตย์ในการผลิตพริกแหง้ , (มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์) 5) การใช้ระบบเทคโนโลยดี ิจติ อลในการติดตอ่ สอื่ สารกนั ภายในชุมชน, (มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์) 6) การใชส้ ่ือออนไลน์ ในการประชาสมั พนั ธ์ในการเชิญชวนนกั ท่องเทยี่ วเขา้ ไปเทย่ี วและเยยี่ มชม, (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร)์ 7) นวัตกรรมการสรา้ งมลู คา่ จากขยะอนิ ทรยี ์โดยการนำไปเพาะเลย้ี งหนอนแมลงวนั ลาย, (มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์) 8) การสรา้ งรา้ นค้าออนไลน์ ดว้ ยตวั เอง เพ่ือเพิม่ ยอดขาย, (มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร)์ 9) การให้ความรู้การอนรุ ักษป์ า่ ชายเลนเพื่อรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม, (มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร)์ 10) การสนับสนุนการใช้เทคโนโลยดี ิจติ อล ด้าน Google Business Map ใหร้ ้านค้ารายยอ่ ย เปน็ ท่ีรจู้ กั ในโลกออนไลน์ เพม่ิ โอกาส การคน้ หา และสามารถเขา้ ถึงได้งา่ ยข้นึ , (มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร)์ 11) จดั ทำแผนทีเ่ สน้ ทางท่องเท่ียว และเผยแพรใ่ นดจิ ติ อลแพลตฟอรม์ FB page, website เพื่อสง่ เสรมิ การเข้าถึงร้านอาหาร-คา เฟ,่ (มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์) 12) นวัตกรรมแก้ปญั หาเชิงเทคนิคในการรวมกลุ่มผทู้ สี่ นใจทำเกษตรอนิ ทรยี ์ และสรา้ งแปลงเกษตรอินทรยี ์ เกษตรปลอดภยั ต้นแบบในชมุ ชน, (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) 13) การส่งเสริมธรุ กิจอาหาร โดยการเพม่ิ ช่องทางการขายทางออนไลน์ วงใน และปดั หมดุ ทาง Google Map, (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร)์ 14) การจัดเก็บขอ้ มลู ในรปู แบบสารสนเทศทส่ี ะดวกในการนำข้อมูลดบิ มาแปรผล เปรียบเทียบใหเ้ หน็ ความแตกตา่ ง เพ่อื ใหเ้ กิดการ พฒั นารปู แบบการเลี้ยงสตั วน์ ้ำของคนในชมุ ชน, (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร)์ 15) การใช้เครอื่ งมือคณุ ภาพ เชน่ SIPOC, value chain มาใช้เพื่อการวางแผนการดำเนินงาน, (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร)์ 16) การจดั ทำฐานขอ้ มลู ชมุ ชนสนิ ค้าเกษตรปลอดภัย, (มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร)์ 17) นวัตกรรมด้านการพฒั นาแปลงเกษตรอินทรีย์แบบผสมผสาน, (มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร)์ 18) การจัดทำฐานขอ้ มลู กลุ่ม ชุมชน สนิ คา้ และผลติ ภณั ฑข์ องตำบลหว้ ยขวาง เพอ่ื เปน็ ฐานขอ้ มลู ในการพฒั นาอาชีพและ ผลติ ภณั ฑ์ ตลอดจนการสง่ เสรมิ การทอ่ งเท่ียวในชุมชน, (มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร)์ 19) การจัดทำฟารม์ ออแกนิกในพนื้ ทส่ี ่งเสรมิ การคดั แยกประเภทขยะ เพ่ือนำมาใช้เป็นอาหารเลี้ยงจลุ นิ ทรยี ์สังเคราะหแ์ สง เพื่อ ผลิตผลติ ภณั ฑต์ น้ แบบ \"สารบำรงุ ตน้ ไม\"้ สำหรับใช้งานในครัวเรอื น และสร้างโอกาสจำหน่ายในอนาคต, (มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์)

20) นวตั กรรมกรรมการสร้างมลู ค่าจากขยะขวดพลาสติก แปลงเปน็ เสน้ พลาสติกเพ่ือจัดทำไม้กวาด, (มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์) 21) นวตั กรรมทใี่ ชค้ อื ภาชนะจากวสั ดุธรรมชาติ ซ่งึ จะชว่ ยลดตน้ ทนุ การผลติ ทำให้มรี ายไดส้ ทุ ธเิ พมิ่ ขนึ้ อกี ท้งั ยังไดม้ ีส่วนร่วมใน การแกป้ ัญหาภาวะโลกรอ้ น, (มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร)์ 22) การนำเทคโนโลยีการวดั pH ประยกุ ตใ์ ช้ในการจดั การหมอ้ ยอ้ มครามเพอ่ื ให้ไดม้ าตรฐานที่ดีข้ึน, (มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร)์ 23) ต้นแบบ ระบบตรวจวดั คณุ ภาพน้ำ แบบ IOT เพือ่ เพมิ ผลผลติ สตั ว์นำ้ , (มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร)์ 24) ต้นแบบ ใบพดั เตมิ อากาศ ระบบโซล่ารเ์ ซล เพอ่ื ลดต้นทนุ ในการผลติ , (มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์) 25) ตน้ แบบ ปม๊ั น้ำโซลา่ รเ์ ซล เพอ่ื ลดต้นทุนในการผลิต, (มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร)์ 26) ยางยืด...........ยืดชวี ติ ผลติ จาก ยางวงพารา นำมารอ้ ยเปน็ เพอ่ื ใช้ในการบรหิ ารกลา้ มเนอ้ื , (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) 27) การประยุกตใ์ ช้ IoT ในยุคเกษตร 4.0 จะช่วยใหเ้ จ้าของฟารม์ ปศสุ ตั วแ์ ละเกษตรกรยุค 4.0 สามารถเก็บรวบรวมข้อมลู สำคญั ตา่ งๆ ไดเ้ ปน็ อย่างดี, (มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร)์ 28) การใชร้ ะบบDiJital บนั ทกึ และเลา่ เรอื่ งราวของโบราณสถาน เป็นสง่ิ ที่จะทำใหท้ กุ คนเข้าใจและเข่าถึงแกน่ แทข้ องโบราณสถาน ประวตั ิศาสตรไ์ ดด้ ี และเข้าถงึ ได้ง่ายไม่นา่ เบ่ือชวนใหต้ ิดตาม, (มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์) 29) ตน้ แบบแอพพลิเคช่นั เพือ่ การทอ่ งเท่ียวในรปู แบบ AR, (มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี) 30) สือ่ ประชาสมั พันธ์ สำหรับส่งเสรมิ อตุ สาหกรรมการท่องเทย่ี วและการบรกิ าร สร้างไรเดอร์ ในธรุ กจิ Logistic, (มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี) 31) นวัตกรรมทเ่ี ก่ียวกับดา้ นการเกษตร, (มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ )ี 32) การใช้เครอ่ื งมือพัฒนาธุรกจิ Business model canvas, (มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ )ี 33) เว็บไซต์ เอกสารประกอบการท่องเทยี่ วชุมชนแบบพกพา (Booklet) เพือ่ แนะนำแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว ตลอดจนอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี) 34) ระบบฟารม์ อัจฉริยะ, (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ )ี 35) เทคโนโลยีการเลี้ยงผง้ึ พื้นเมอื งของประเทศไทยในพน้ื ท่ธี รรมชาตแิ ละสวนเกษตร, (มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี) 36) องค์ความรูก้ ารพัฒนาการแปรรูปกุง้ มันแก้วด้วยวธิ สี ญุ ญากาศและความเยน็ ตำบลบา้ นช้าง อำเภอสองพนี่ ้อง จงั หวัด กาญจนบุรี, (มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ) 37) องคค์ วามรกู้ ารพัฒนาการใช้พลังงานแสงอาทติ ย์สำหรับกงั หนั ตนี ำ้ ในบ่อเลย้ี งกงุ้ ตำบลองคร์ ักษ์ อำเภอบางปลามา้ จงั หวัด สุพรรณบรุ ี, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ) 38) องคค์ วามรู้การพัฒนาบรรจภุ ัณฑเ์ พือ่ การยดื อายุพริแกง ตำบลวังศาลา อำเภอท่ามะกา จังหวดั กาญจนบุรี, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ) 39) นวัตกรรมเคร่ืองทำขนมทองมว้ นแบบอตั โนมตั ิ ตำบลหน่องสาหรา่ ย อำเภอพนมทวน จังหวดั กาญจนบุรี, (มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลกรุงเทพ) 40) นวตั กรรมเคร่ืองหนั่ กลว้ ย เทศบาลตำบลวงั ขนาย อำเภอท่ามะกา จงั หวัดกาญจนบุรี, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล กรุงเทพ) 41) กระบวนการแปรรูปกาแฟ และการชงกาแฟแบบครบ วงจร, (มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ) 42) การปรบั ปรงุ ดิน และกระบวนการแปรรูปโกโก้, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ) 43) ผลิตภณั ฑด์ ีปลตี ากแห้งผลติ ภณั ฑช์ าชง, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ) 44) สมนุ ไพรดว้ ยใชเ้ ทคโนโลยที ่เี หมาะสม, (มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ) 45) การแปรรปู มะขามแช่อิ่ม, (มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ) 46) บรรจภุ ณั ฑ์เพือ่ สง่ เสรมิ การขาย, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ) 47) การแปรูปมะขามแชอ่ ม่ิ อบแห้งดว้ ยโรง อบแห้งพลงั งานแสงอาทิตย์, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ) 48) การ อบรมปฏิบตั ิการแปรรูปจมูกขา้ วรสใบเตย, (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ) 49) บรรจุ ภณั ฑ์เพื่อส่งเสริมการขาย, (มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ) 50) การพฒั นาสมุนไพรแคปซลู , (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ) 51) นวตั กรรมเตาไฟฟา้ สำหรบั การผลติ ทองมว้ นอตั โนมตั ิ, (มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ) 52) นวตั กรรมสำหรบั กระบวนการผสมแปง้ ทองมว้ น, (มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ) 53) นวัตกรรมสุญญากาศบรรจภุ ัณฑส์ ำหรบั ขา้ วเกษตรอนิ ทรยี ์, (มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ) 54) นวัตกรรมการตลาดสำหรับเมล่อน, (มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ) 55) เทคโนโลยอี บแหง้ ปลาดุก ปลาสลิดดอนกำยานแดดเดยี ว, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ)

56) นวัตกรรมการบรรจภุ ณั ฑ์เพอื่ การขนส่งสำหรับกลว้ ยหอมทองทอด, (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ) 57) นวัตกรรมการบรรจุภณั ฑเ์ พื่อการขนส่งสำหรบั กุ้งแกว้ บา้ นชา้ ง, (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ) 58) เทคโนโลยีดว้ ยพลังงาน แสงอาทติ ย์ กบั การเพาะปลูกผกั ไฮโดรโปรนิก, (มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ) 59) นวัตกรรมเตาเผาแบบไร้ควนั , (มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ) 60) นวัตกรรมถา่ นชวี ภาพ, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ) 61) กังหนั ตนี ้ำพลงั งานแสงอาทิตยแ์ บบประหยดั , (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ) 62) นวตั กรรมนาโนบับเบลิ้ , (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ) 63) เทคโนโลยีกาฟสกัดเยน็ , (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ) 64) เทคโนโลยคี วั่ กาแฟ, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ) 65) นวัตกรรมแปรรปู อาหารปลาดุก, (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ) 66) นวัตกรรมแปรรูปเปลอื กหอยแมลงภู่, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ) 67) ผลติ ภณั ฑ์ นำ้ พริกแกงเผด็ แหง้ อัดก้อน, (มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ) 68) ทองมว้ น ไขเ่ คม็ และการพฒั นาบรรจุภณั ฑ์, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ) 69) นวตั กรรมชดุ เก็บขยะรมิ ชายทะเล, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ) 70) นวัตกรรมบรรจภุ ณั ฑส์ ญุ ญากาศกุ้งมนั แกว้ ความเยน็ -40 องศา, (มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ) 71) พฒั นานวัตกรรมปม๊ั น้ำพลงั งานแสงอาทิตย์, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสินทร์) 72) การพัฒนามอร์ต้าร์ซเี มนตบ์ ลอ็ กจากเถ้าแกลบ, (มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสินทร)์ 73) นวตั กรรมโครงสรา้ งโตะ๊ ปลูกผัก/ความรู้ดา้ นการยศาสตร์, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร)์ 74) องค์ความรจู้ ากการจดั กจิ กรรมอบรมการแปรรูปผลติ ภณั ฑจ์ ากเน้ือแพะ, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร)์ 75) คลังข้อมูลกิจกรรมการพัฒนาชมุ ชน, (มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย) 76) คลังข้อมูลนวตั กรรมและเทคโนโลยีชมุ ชน, (มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ) 77) คลงั ขอ้ มูลด้านผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน (OTOP), (มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ) 78) คลงั ข้อมลู วัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาชุมชน, (มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ) 79) องคค์ วามรูด้ ้านการผลิตภณั ฑเ์ ครอ่ื งจกั สานลวดลายประยุกต์, (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย) 80) องค์ความรู้ดา้ นการผลติ ภณั ฑเ์ ครอื่ งจกั สานย่านลเิ ภาลวดลายประยกุ ต์, (มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย) 81) การทำโครงร่างระบบ Line Open chat ตำบลเขาทอง, (มหาวิทยาลัยมหดิ ล) 82) องคค์ วามรู้เร่ืองการขายออนไลน์, (มหาวิทยาลยั มหิดล) 83) องค์ความรู้ ด้านโภชนาการ และองคค์ วามรงู้ านอาชวี ะอนามยั , (มหาวิทยาลัยมหดิ ล) 84) องคค์ วามรู้ เวชศาสตร์เขตรอ้ น, (มหาวทิ ยาลยั มหิดล) 85) นวตั กรรมLine Official (TambonKhaotong) และ LINE MYSHOP, (มหาวิทยาลัยมหดิ ล) 86) นวตั กรรมผลติ ภณั ฑไ์ ลย่ งุ จากสารสกดั ธรรมชาติ, (มหาวิทยาลยั มหิดล) 87) นวัตกรรมการทำใหน้ ้ำสะอาดสามารถดมื่ ได,้ (มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล) 88) นวัตกรรมส่อื การเรียนรู้, (มหาวทิ ยาลัยมหิดล) 89) การเพาะเลี้ยงผำแบบอินทรีย์, (มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาญจนบรุ ี) 90) เทคโนโลยดี า้ นพลงั งานทดแทนโซลา่ เซลลส์ ำหรับการเกษตร, (มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบรุ ี) 91) ทักษะเคร่ืองออกกำลงั กายสำหรบั ผูส้ งู อายุ, (มหาวิทยาลัยราชภฏั กาญจนบุรี) 92) ทกั ษะเคร่อื งออกกำลงั กายผสู้ งู อายุ, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาญจนบุรี) 93) การทำพริกแกงก้อนอบแห้ง, (มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาญจนบุรี) 94) องค์ความรใู้ นการพัฒนาและเพมิ่ สรา้ งมลู คา่ ผลผลติ ของชมุ ชน คือ การเพม่ิ ผลคา่ ผลผลิตของกลุม่ วสิ าหกิจการเพาะเลย้ี ง จง้ิ หรีดด้วยวิถีธรรมชาติ และกลมุ่ วิสาหกิจแปรรูปสปั ปะรด ด้วยการแปรรูป, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ ี) 95) ผลผลิตเพ่ือสรา้ งมลู ค่าใหข้ ายไดใ้ นราคาท่สี งู ขึ้น, (มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกาญจนบุรี) 96) ทักษะเครือ่ งออกกำลังกายผสู้ ูงอายุ, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาญจนบุรี) 97) การพฒั นาและยกระดับผลิตภณั ฑ์ชุมชน, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาญจนบุรี) 98) ทกั ษะเครอ่ื งออกกำลงั กายผสู้ ูงอายุ, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ ี) 99) นวตั กรรม/เทคโนโลยี ชอ่ งทางการตลาดออนไลน์ และการอกแบบตราสญั ญาลกั ษณก์ บั packaging, (มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ กาญจนบรุ ี) 100) การพัฒนาผลติ ภณั ฑ์อาหารท้องถ่ิน, (มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกาญจนบุรี)

101) ตลาดสีเขยี ว, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ ี) 102) นวตั กรรมการแปรรปู พรกิ แกง, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ ี) 103) แผนทที่ ่องเท่ยี วชุมชนบนระบบสารสนเทศ, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุร)ี 104) การกำจดั น้ำเสยี EM BALL, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ )ี 105) การทำน้ำหมัก 7 รส, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบุร)ี 106) ทักษะด้านการถา่ ยภาพ และการตดั ตอ่ วิดโี อ เพอื่ สร้างส่อื ออนไลน์, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบุรี) 107) ระบบจา่ ยน้ำอตั โนมตั เิ พื่อการเกษตรด้วยพลงั งานแสงอาทติ ย์, (มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบรุ )ี 108) องคค์ วามร้หู ลกั สตู รพฒั นาอาชีพ เรอื่ ง การทำวุ้นแฟนซี และวุ้นประยุกต์ เผยแพร่ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์, (มหาวทิ ยาลัย ราชภฏั ธนบรุ ี) 109) องค์ความรู้หลักสตู รการจดั การขยะชมุ ชน, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ )ี 110) องค์ความรู้หลกั สูตรการทำนำ้ ยาทำความสะอาด, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 111) องค์ความรู้แหลง่ เรยี นรู้ธนาคารขยะในชุมชนมสั ยดิ สุวรรณภูมิ, (มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบรุ )ี 112) องค์ความรู้หลักสูตรการทำเจลแอลกอฮอล์ และสเปรยแ์ อลกอฮอล์, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุร)ี 113) องค์ความรหู้ ลักสตู รการทำสบ่จู ากกากกาแฟ, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 114) องค์ความรหู้ ลกั สูตรการทำสบ่เู หลวจากสมนุ ไพร, (มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบุร)ี 115) องคค์ วามรหู้ ลักสูตรการทำถงุ หอม, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ )ี 116) องคค์ วามรู้หลักสตู รการทำกระปกุ ออมสินจากเศษกระดาษ ปา้ น้อยหมูกระดาษ, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบุร)ี 117) องคค์ วามรู้หลักสูตรการทำสเปรยไ์ ล่ยุงจากเปลือกส้มโอ, (มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบรุ )ี 118) องคค์ วามรู้หลกั สูตรการทำลกู ยอดพวงมโหตรและพวงมโหตรประยกุ ต์, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี) 119) องค์ความรหู้ ลกั สูตรตอซงั ข้าวสรา้ งอาชีพ, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ )ี 120) องค์ความรหู้ ลกั สตู รการแปรรปู ผกั ตบชวาเปน็ ผลิตภณั ฑ์, (มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบุร)ี 121) องค์ความรหู้ ลกั สูตรการสง่ เสริมอาชพี การเล้ยี งเปด็ ปากนำ้ , (มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี) 122) องค์ความรหู้ ลกั สูตรการเพาะเหด็ ฟางในตะกรา้ , (มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี) 123) องคค์ วามรู้หลกั สูตรการทำนำ้ พรกิ ปลาสลิดเพื่อสุขภาพ, (มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบุรี) 124) องคค์ วามรู้หลักสูตรการทำกระเป๋าสานแฟชน่ั จากเส้นพลาสตกิ , (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ )ี 125) องค์ความรู้หลกั สูตรการทำน้ำพรกิ กากหมู, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ )ี 126) องคค์ วามรู้หลกั สูตรการทำสลัดโรล, (มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบรุ )ี 127) องคค์ วามรหู้ ลักสูตรการทำน้ำยาลา้ งจาน, (มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี) 128) องค์ความรหู้ ลกั สตู รการทำยาหมอ่ งน้ำสมุนไพร, (มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบุร)ี 129) องค์ความร้หู ลกั สูตรอบรมการตลาดออนไลน์, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 130) องคค์ วามรู้หลกั สูตรส่งเสริมการวางแผนการเงิน, (มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี) 131) องค์ความรหู้ ลกั สูตรอบรมมัคคเุ ทศก์, (มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบรุ )ี 132) องคค์ วามรหู้ ลกั สตู รอบรมการทำหน้ากากอนามยั , (มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบุร)ี 133) องค์ความรหู้ ลกั สตู รอบรมการพฒั นาผลติ ภณั ฑอ์ าหารจากผลจาก, (มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี) 134) องค์ความรหู้ ลกั สูตรอบรมการพฒั นาผลติ ภณั ฑจ์ ากต้นจาก, (มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี) 135) องค์ความร้หู ลกั สูตรการทำเหรียญโปรยทาน, (มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบรุ )ี 136) องคค์ วามรู้หลกั สูตรการทำสเปรย์ตะไครห้ อมกนั ยุง, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี) 137) องคค์ วามรหู้ ลักสูตรการทำลกู ประคบธัญพืช, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบุร)ี 138) องคค์ วามรู้หลักสตู รนำ้ หมักชีวภาพจากสมุนไพรและผลไม้รสเปรยี้ ว, (มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบรุ )ี 139) องคค์ วามรหู้ ลกั สูตรการทำปยุ๋ พชื สด, (มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบรุ ี) 140) องค์ความรู้หลักสตู ร \"มดั ย้อมสรา้ งสรรค์ ผลติ ภณั ฑ์สร้างรายได\"้ , (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ )ี 141) องค์ความรู้หลกั สตู รถุงผา้ มดั ย้อมจากลายธงตะขาบ, (มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบุร)ี 142) องคค์ วามรู้หลกั สูตรภาษาตา่ งประเทศเพ่อื การสอ่ื สาร, (มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบุร)ี 143) องคค์ วามรหู้ ลกั สูตรการทำดินปยุ๋ และกระถางขยุ มะพรา้ ว, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ )ี 144) องคค์ วามรู้หลักสตู รการทำสบวู่ า่ นหางจระเข้, (มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบุร)ี 145) องคค์ วามรหู้ ลกั สตู รการแปรรปู ขนมเขง่ , (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 146) องค์ความรหู้ ลักสูตรเทยี นหอมกลนิ่ ตะไคร้, (มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบรุ ี)

147) องค์ความรหู้ ลักสตู รนำ้ ยาล้างจานกลน่ิ มะกรูด, (มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบุร)ี 148) องค์ความรหู้ ลกั สตู รแพทย์แผนไทยเพื่อสขุ ภาพ, (มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบุร)ี 149) องคค์ วามรู้หลกั สูตรพฒั นาผลติ ภณั ฑจ์ ากเตยหอม, (มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี) 150) องค์ความรหู้ ลกั สตู รการทำน้ำพรกิ เผา, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ )ี 151) องค์ความรู้หลกั สตู รการทำนำ้ พรกิ รวมพล, (มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบรุ )ี 152) องคค์ วามรู้หลกั สูตรการทำขนมเป๊ียะและขนมเค้ก, (มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบุรี) 153) องค์ความรหู้ ลกั สูตรการทำนำ้ ยาลา้ งจานจากเปลือกสบั ปะรด, (มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี) 154) องค์ความรู้หลักสตู รการพฒั นาตราสนิ คา้ ฉลากสนิ คา้ และบรรจภุ ณั ฑ์, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี) 155) องคค์ วามรู้นวตั ศลิ ป์ (องคค์ วามรภู้ ูมิปัญญาบูรณาการวทิ ยาศาสตร์ ศลิ ปะ และการออกแบบเพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการแก่ ผู้บริโภค) , (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม) 156) ภมู นิ วัตหตั ถศลิ ป์ (ภูมิปญั ญาองคค์ วามรวู้ ทิ ยาศาสตร์สูน่ วตั กรรมการสรา้ งสรรค์งานหตั กรรมผลติ ภณั ฑโ์ ดยชมุ ชน) , (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม) 157) โมเดลการแกป้ ญั หาความยากจนในชมุ ชน ดว้ ยหลัก \"ลดรายจา่ ย เพิ่มรายได้ สร้างเสรมิ สขุ ภาพ สง่ เสริมส่งิ แวดลอ้ มและ ความปลอดภัยในระดบั ครัวเรอื น\", (มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม) 158) เทคโนโลยที เี่ หมาะสมรูปแบบการใชพ้ น้ื ท่ีขนาดเลก็ ในการสร้างแหลง่ อาหารปลอดภยั ลดรายจา่ ยเพม่ิ รายไดใ้ นระดับ ครวั เรอื น, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม) 159) นวัตกรรม \"ซมุ้ เห็ดแก้จน ใตร้ ม่ พระบารมี, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม) 160) Application All-rice1, (มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร) 161) การควบคมุ คณุ ภาพสินคา้ ผลติ ภณั ฑ์ และบรกิ ารด้วยวิทยาศาสตร์, (มหาวิทยาลัยราชภัฏหมบู่ ้านจอมบึง) 162) นวัตกรรมการนำระบบดจิ ิทัลมาใช้กำกบั โครงการ / กจิ กรรม เปน็ ประจำทุกเดอื น, (มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมูบ่ า้ นจอมบึง) 163) การจดั ทำความรู้ชนดิ ดจิ ิทลั ทดแทนส่อื สิ่งพิมพ์, (มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมูบ่ ้านจอมบึง) กระบวนการ/วิธีการ 7 เรอื่ ง 1) จากสถานการณโ์ ควิด 19 จึงไดป้ รับรปู แบบจากการลงพื้นทีเ่ พอื่ แลกเปลย่ี นเรยี นรเู้ ป็นการจดั ทำคู่มอื และคลิปวดี ีโอดังรายละเอียดน้ี, (มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร)์ · จดั ทำคูม่ ือบญั ชคี รัวเรือน · การวางแผนการออมเงนิ เพอื่ วยั เกษียณ · คมู่ ือให้ความร้ตู น้ ทุนอาชีพ ผลิตภณั ฑจ์ ากเหด็ กอ้ นและลกู ประคบ · คูม่ อื การจดั ทำแผนธรุ กจิ (Business Model Canvas: BMC) · คลิปวดี โี อความรทู้ งั้ 4 หวั ขอ้ ขา้ งต้น 2) แนวทางการทรงงานของ ร.9 sapae, กระบวนการคดิ เชงิ ออกแบบ(design thinking) และ business model canvas, (มหาวิทยาลัยราชภฏั กาญจนบรุ ี) 3) รูปแบบการแปรรูปผลผลติ ทางการเกษตร, (มหาวิทยาลัยราชภฏั กาญจนบรุ ี) 4) รปู แบบการอนรุ กั ษ์ส่งิ แวดล้อมอ่นื ๆ , (มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี) ไดแ้ ก่ - ผลิตภณั ฑ์ ศูนย์จำหน่ายสนิ คา้ ชมุ ชน แผนทช่ี มุ ชน - ยกระดับผลติ ภณั ฑ์ในพน้ื ทีใ่ หส้ ามารถแขง่ ขนั ในตลาดได้ 5) กระบวนการ “บันได 3 ข้นั ในการแก้ปญั หาความยากจน” บนั ไดข้ันแรก \"ศักยภาพของทนุ ทางสังคมในชมุ ชนท้องถ่นิ ” บนั ไดขั้น ทสี่ อง คือ \"ปญั หาและความต้องการ” บันไดข้นั ท่ีสาม \"สานพลงั ส่กู ารพฒั นาที่ย่งั ยืน” เปน็ ฐานคิดการขับเคลื่อนงานในการพัฒนา ท้องถน่ิ ตามภารกจิ ของมหาวทิ ยาลยั , (มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม) 6) กระบวนการพฒั นานวัตกรรมชมุ ชนท้องถ่นิ โดยเอาพื้นทีเ่ ป็นตัวตงั้ , (มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม) 7) กระบวนการเปดิ พนื้ ที่ค้นหาทนุ และศักยภาพทนุ ทางสังคมในชุมชน, (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม) ตวั ชวี้ ดั ที่ 4: สงั เคราะหข์ ้อมลู การสำรวจการเฝ้าระวงั และป้องกันโรคไวรสั โคโรนา 2019 ข้อมลู การยกระดบั เศรษฐกิจและสังคมเพื่อ จดั ทำขอ้ เสนอเชิงนโยบายตอ่ คณะกรรมการยทุ ธศาสตร์ชาติ คณะกรรมการปฎิรูปประเทศ และหนว่ ยงานกลางท่ีรับผดิ ชอบนโย บาลแหง่ รฐั (USI 14)

1) มกี ารลงพนื้ ที่ร่วมกับเทศบาลและองค์การบริหารสว่ นตำบลในเพอ่ื สำรวจขอ้ มลู การเฝา้ ระวังและปอ้ งกนั โรคตดิ ต่อจากเชอ้ื ไวรสั โคโรน่า 2019, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร์) 2) มีการร่วมมือกบั รพ.สต. ในพ้ืนท่ี ในการเฝา้ ระวงั การและปอ้ งกนั โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา่ 2019, (มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าช มงคลรตั นโกสินทร์) 3) มีการทำช่องทางการสือ่ สารออนไลนเ์ ปน็ เพจเฟสบุค๊ และไลคก์ ลมุ่ เพื่อประชาสมั พนั ธข์ ้อมลู การทำงาน ข่าวสารทงั้ ภายในและ ภายนอก การสำรวจเฝา้ ระวังและปอ้ งกันโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา่ 2019 เปน็ ประจำใหป้ ระชาชนไดร้ บั รู้ รวมถึงเป็นสอ่ื กลางใน ตำบลเพือ่ เผยแพรส่ ินค้าของเกษตรกรในชมุ ชน ใหป้ ระชาชนภายนอกไดร้ ับรผู้ า่ นส่อื ออนไลน์, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล รัตนโกสินทร์) 4) สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดโรคไวรัสโควิด-19 ในปัจจบุ นั มีจำนวนผปู้ ่วยที่ตดิ เชือ้ ไวรสั โควิด-19เพม่ิ สูงขึ้นทำให้พน้ื ที่ มปี ระชากร ที่มีความเส่ยี งเพ่มิ ข้นึ ทั้งนีห้ นว่ ยงานในพนื้ ที่ตำบลบ้านหม้อ ไดม้ กี ารประชาสมั พันธใ์ ห้ประชาชนในพนื้ ท่ีทราบเรอ่ื งมาตรการการ ป้องกนั เช้ือไวรัสโควดิ -19 และใหม้ กี ารเฝา้ ระวงั เช้อื ไวรสั โควิด-19 สายพันธ์ุใหม่ เพ่อื เป็นการป้องกันการตดิ เช้อื ทีม่ ากขึ้น, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร์) 5) การปอ้ งกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019, (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร์) -บรเิ วณพืน้ ทต่ี ลาด 1.พ่อคา้ แม้คา้ ต้องไดร้ บั การฉดี วัคซนี แล้ว 1-2 เขม็ 2. กำหนดทางเขา้ - ออกทางเดียว 3. วดั อณุ หภมู ิและล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอลก์ อ่ นเข้า 4. สวมหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลา ทง้ั ผซู้ อื้ และผขู้ าย 5. เว้นระยะหา่ งทางสงั คม 1-2 เมตร 6. พ่อคา้ แมค่ ้าท่มี าขายของต้องเปน็ คนในพน้ื ทแี่ ละให้ซ้อื กลับบ้านเท่าน้นั - บริเวณศาสนสถาน 1. กำหนดทางเขา้ - ออกทางเดียว 2. วัดอุณหภูมแิ ละลา้ งมอื ด้วยเจลแอลกอฮอลก์ อ่ นเขา้ -ออก 3. สวมหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลา 4. กำหนดทางเข้า - ออกทางเดียว 5. หา้ มจบั กลุ่มชุมนมุ เกนิ 5 คน 6. มลู นิธิ ปิดใช้สถานท่ี ยกเวน้ ใช้ในงานราชการเทา่ นัน้ -บริเวณพน้ื ทโ่ี รงเรยี น 1.วัดอณุ หภมู แิ ละลา้ งมอื ดว้ ยเจลแอลกอฮอลก์ ่อนเขา้ 2. เวน้ ระยะหา่ งทางสงั คม 1-2 เมตร 3. ห้ามจบั กล่มุ ชุมนมุ เกนิ 3-4 คน 4. ห้ามใช้ของรว่ มกบั ผอู้ น่ื 5. สวมใส่หน้ากากตลอดเวลาและล้างมอื บ่อยๆ

6. ตรวจบคุ ลากรและนักเรยี น กอ่ นเปิดเรียน -บรเิ วณที่พกั อาศยั 1.วดั อณุ หภมู ิและล้างมือดว้ ยเจลแอลกอฮอลใ์ ห้บอ่ ยครงั้ 2. เว้นระยะหา่ งทางสงั คม 1-2 เมตร 3. หา้ มใช้ของรว่ มกับผ้อู น่ื และรับประทานอาหารร่วมกับผู้อน่ื 4. แยกขยะทถี่ ูกสารคดั หลงั่ เช่น หนา้ กากอนามยั 5. ทำความสะอาดโถส้วม อ่างลา้ งมือ หลงั ใชง้ าน 6. งดกิจกรรมนอกบา้ น 6) ศนู ยป์ ฏิบัติการภาวะฉุกเฉนิ จงั หวดั น่าน, (มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ) 7) ศนู ยข์ อ้ มูล COVID-19 จังหวัดสรุ ินทร์, (มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ) 8) ศูนย์ปฏิบตั ิการภาวะฉุกเฉนิ จงั หวัดนครศรีธรรมราช, (มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ) 8) สถานการณ์ Covid-19 จ.กำแพงเพชร, (มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ) 9) ศนู ย์ปฏิบตั กิ ารภาวะฉุกเฉนิ เทศบาลตำบลภเู ขาทอง, (มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั )



การดาเนนิ งานภาพรวม ระดับเครือข่าย (RSI) เครอื ขา่ ยภาคใตต้ อนบน ประกอบด้วย 4 มหาวิทยาลยั ครอบคลุม 9 จงั หวดั 158 ตาบล ตัวช้ีวดั ท่ี 1 ประมวลตวั ชีว้ ดั ระดบั ตาบลและระดับมหาวิทยาลยั ตัวชวี้ ดั ที่ 2 วเิ คราะห์และสังเคราะห์ความรจู้ ากการปฏบิ ัตใิ น ใหอ้ ยใู่ นสถานะที่แสดงความครอบคลมุ ประชากรเป้าหมายและ พืน้ ทก่ี บั ความสอดคลอ้ งของกลมุ่ สาขาวชิ าเพอ่ื จัดทาเปน็ ขอ้ เสนอ สอดรบั กบั 16 ประการ ในการปฏิรปู การศึกษาในระดับอดุ มศกึ ษา ศกั ยภาพตาบล (ระดับเครอื ข่าย) ถอดบทเรยี น/จับคู่องค์ควำมรู้ ปรบั ปรุงหลกั สตู รกำรเรยี นกำรสอน ตำบลมงุ่ สู่ย่ังยนื ก่อน หลัง - หลักสูตรกำรเรียนกำรสอน จำนวน 49 หลักสูตร ตำบลมุง่ สู่พอเพียง - หลักสูตรฝึกอบรมระยะส้ัน จำนวน 43 หลักสูตร ตำบลพน้ ควำมยำกลำบำก 27 ตำบล 69 ตำบล - หลกั สตู รกำรเรียนรตู้ ลอดชีวิต จำนวน 61 หลกั สูตร ตำบลยำกลำบำก 41 ตำบล 47 ตำบล - หลักสตู รอน่ื ๆ จำนวน 1 หลกั สตู ร 31 ตำบล 16 ตำบล 59 ตำบล 26 ตำบล ตวั ชี้วัดที่ 3 สังเคราะห์นวตั กรรมของพื้นท่ีเพ่อื ยกระดบั เศรษฐกจิ รวม 158 ตาบล 158 ตาบล และสังคมของประเทศ ฐำนขอ้ มูลทีช่ ุมชนสำมำรถเขำ้ ถงึ และนำไปใช้ประโยชน์ได้ กล่มุ ประชากรเปา้ หมายท่ีดาเนินการ - องค์ควำมรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรม จำนวน 116 เรื่อง เกษตรกร จำนวน 122 ตำบล - กระบวนกำร/ วธิ ีกำร จำนวน 115 เรื่อง จำนวน 4 มหำวิทยำลัย ตวั ช้ีวดั ท่ี 4 สังเคราะหข์ ้อมูลการสารวจการเฝา้ ระวังและป้องกนั จำนวน 9 จังหวดั โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ขอ้ มูลการยกระดบั เศรษฐกิจและ วสิ ำหกิจชุมชน จำนวน 132 ตำบล สังคมเพือ่ จัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายตอ่ คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ จำนวน 4 มหำวิทยำลัย คณะกรรมการปฏริ ูปประเทศ และหน่วยงานกลางที่รับผดิ ชอบ จำนวน 9 จงั หวัด นโยบายแหง่ รฐั กลมุ่ เปรำะบำง จำนวน 94 ตำบล ข้อเสนอแนะ มำตรกำร แนวทำงป้องกนั อ่ืนๆ จำนวน 4 มหำวิทยำลยั จำนวน 8 จงั หวัด - ทพ่ี กั อำศัย แหลง่ ชุมชน (ตลำด ศำสนสถำน โรงเรียน) ควรมอี ุปกรณ์เพยี งพอเพอ่ื พรอ้ มรับสถำนกำรณท์ ี่เกดิ ขึ้น จำนวน 92 ตำบล - สร้ำงกลุ่มและเครอื ขำ่ ยอำสำสมัครเพือ่ รองรับกำรบริกำรชุมชนในชว่ งสถำนกำรณ์ จำนวน 4 มหำวทิ ยำลัย จำนวน 8 จงั หวดั ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบำย - สร้ำงเครอื ขำ่ ยป้องกนั ระดบั ทอ้ งถน่ิ เชอ่ื มโยงระดับจงั หวดั และระดบั ภมู ิภำค - กำหนดบทบำทหนว่ ยงำนทง้ั ภำครัฐ ภำคองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ และ มหำวทิ ยำลยั ให้ชดั เจน มกี ำรบรู ณำกำรรว่ มกันได้และไม่ซำ้ ซ้อน - กำรจดั ทำระบบสำรสนเทศเพื่อกำรสอ่ื สำรที่รวดเร็ว ทนั เวลำ รวมทง้ั สร้ำงระบบ คำดกำรณเ์ พ่ือกำรป้องกันล่วงหน้ำ ผรู้ บั ผิดชอบ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อมรศักด์ิ สวัสดี เบอร์ตดิ ตอ่ 0623136417 หนว่ ยงาน มหาวทิ ยาลยั วลัยลกั ษณ์

เค อื ํ เนนิ ง น อง คใ อนล ง (RSI) พนื้ ท่ีดําเนนิ การ ภาคใตต อนลาง จํานวน 6 มหาวิทยาลยั 13 จงั หวดั ภาคใต ภาพรวมการประเมินศักยภาพตาํ บล (กอนเร่ิมโครงการ) ภาพรวมการประเมินศักยภาพตําบล (สิ้นสดุ โครงการ) 74 67 ตําบลมุงสูค วามย่งั ยื่น 31 ตําบลมงุ สูค วามยงั่ ยืน่ ตําบล ตาํ บล ตําลมุงสคู วามพอเพียง 30 ตําบล ตาํ ลมุงสคู วามพอเพยี ง ตําบลพน ความยากลาํ บาก ตําบล ตําบลพนความยากลําบาก 174 ตาํ บลยากลาํ บาก 47 ตาํ บล ตําบลยากลําบาก ตาํ บล 73 68 ตาํ บล ตําบล การปรับปรุงหลกั สูตร กลมุ ประชากรเปา หมายทดี่ ําเนินการ หลกั สตู รการเรียนการสอน จาํ นวน..119..หลักสูตร เกษตรกร จาํ นวน..194 .คน หลักสูตรฝก อบรมระยะส้ัน จํานวน. 180..หลักสูตร จาํ นวน 6 มหาวทิ ยาลัย หลกั สตู รการเรียนรูตลอดชีวติ จํานวน ..149.. หลักสูตร จาํ นวน 13 จังหวดั สรุปองคความรู วสิ าหกิจชุมชน จาํ นวน..226..คน จํานวน 6 มหาวิทยาลัย องคความรู เทคโนโลยี นวัตกรรม จํานวน. ..593. เร่ือง จาํ นวน 13 จังหวัด กระบวนการ/วธิ กี าร จํานวน. .47.. เรื่อง ขอเสนอแนะ มาตรการ แนวทางปอ งกนั ขอ มูลการสํารวจการเฝาระวงั และ กลุม เปราะบาง จํานวน..169..คน ปอ งกันโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 จํานวน 6 มหาวทิ ยาลยั จาํ นวน 13 จังหวดั ดา นสขุ ภาพ ตองเรง จดั หาวัคซนี ปองกัน โควดิ -19 ใหม ีปรมิ าณเพียง อื่นๆ จาํ นวน..182..คน พอกับประชาชนในพ้นื ท่ี และใหใหสอดคลอ งกบั สภาพรางกายและ จาํ นวน 6 มหาวิทยาลยั เง่อื นไขทางสุขภาพของประชากรกลมุ วัยตา งๆ รวมถงึ การพฒั นาระบบ จํานวน 13 จงั หวดั สงยาและเวชภณั ฑท างไปรษณยี ใหม คี วามตอ เน่ืองสาํ หรบั ผสู งู อายใุ น ทุกสิทธิส์ ุขภาพ รวมถึงตอยอดไปสูก ารรักษาทางไกล (Telehealth ขอ เสนอแนะเชิงนโยบาย มาตรการ แนวทางปอ งกันขอมลู การสํารวจการเฝา /Telemedicine) โดยระบบดงั กลา วควรนํามาใช เพื่อเพ่ิมความ ระวังและปอ งกนั โรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 สะดวกในการเขาถึงบริการแตต อ งไมท ําใหคณุ ภาพการรักษาลดลง ดา นทีอ่ ยอู าศัย ควรสงเสริมใหค วามรคู วามเขาใจในการปรับบา นใหเ หมาะ ภาครฐั พิจารณาศึกษาและออกแบบระบบสวัสดกิ ารและบริการทาง สมและปลอดภยั สําหรับคนทกุ วยั รวมถงึ การผลกั ดันใหม ีการปรบั ปรงุ สงั คมสําหรบั ผสู งู อายทุ ี่ไมจํากัดเฉพาะประชากรทเ่ี ปน ผูสูงอายแุ ลว แต ซอ มแซมทอ่ี ยอู าศยั และสภาพแวดลอ มในระดับชมุ ชนใหเหมาะสม และ ใหค รอบคลมุ ไปยงั ประชากรทีย่ งั จะกลายเปน ผูสูงอายุในอนาคตดวย ปลอดภัยเปน นโยบายหลกั ในการจดั การท่อี ยอู าศยั สําหรบั ผสู งู อายุเพ่อื ซ่ึงจําเปน ตอ งใชค วามพยายามและมาตรการเชิงนโยบายในทกุ ระดับ ใหผูสูงอายสุ ามารถอยอู าศัยในที่เดมิ ไดอยางเปนรูปธรรม โดยควรใหความสนใจเปน พิเศษกับความแตกตา งของชว งอายใุ นการ ดานขอมูลขา วสาร พิจารณาเรื่องระบบบิ๊กดาตาเพอ่ื เชื่อมโยงและบรู ณา วางแผนและการตอบสนองตอ ผลกระทบที่เกิดจากวิกฤตโควดิ -19 การดา นขอ มลู สวสั ดิการทกุ ประเภทและทกุ โครงการของภาครัฐสาํ หรับ และการแกไ ขปญ หาในระยะยาวตอ ไป ผสู ูงอายเุ ขาดวยกนั และพจิ ารณาปรบั ปรุงวิธีการเขา ถึงสวัสดิการและ ความชว ยเหลอื ตา งๆของภาครัฐเพอื่ ใหผ สู ูงอายุไดร ับการดูแลอยาง เหมาะสมและทว่ั ถงึ อีกทัง้ สง เสริมใหเ ขาถึงระบบอนิ เตอรเ น็ตอยางทว่ั ถึง โดยกาํ หนดใหเปนสวัสดิการขน้ั พนื้ ฐานที่ประชาชนทกุ คนและผสู ูงอายุ ควรไดร ับ ตาํ บลเปน พืน้ ท่ีจัดการศึกษา จํานวน 6 มหาวทิ ยาลยั 13 จงั หวัดภาคใต ผศ.ดร.นเิ วศน์ อรณุ เบกิ ฟา สาํ นกั พฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยแ์ ละพนั ธกิจสงั คม

เค อื ํ เนนิ ง น อง คใ อนล ง (RSI) มหาวิทยาลัยทกั ษณิ พ้นื ทีด่ ําเนินการ ภาคใตต อนลาง จํานวน 6 มหาวทิ ยาลยั 13 จงั หวัดภาคใต การปรับปรงุ หลักสตู ร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชัย หลักสูตรการเรยี นการสอน จํานวน..30..หลกั สูตร การปรบั ปรงุ หลกั สตู ร หลักสตู รฝก อบรมระยะสั้น จํานวน. 54..หลกั สตู ร หลักสูตรการเรยี นรูต ลอดชวี ติ จาํ นวน ..39.. หลักสูตร หลกั สูตรการเรยี นการสอน จํานวน..34..หลกั สูตร หลกั สตู รฝกอบรมระยะสน้ั จาํ นวน...45..หลกั สตู ร สรุปองคความรู หลกั สูตรการเรยี นรตู ลอดชีวติ จาํ นวน ..24.. หลักสูตร องคค วามรู เทคโนโลยี นวัตกรรม จํานวน. ..167. เร่อื ง สรุปองคค วามรู กระบวนการ/วิธกี าร จํานวน. .13.. เรอ่ื ง องคความรู เทคโนโลยี นวตั กรรม จํานวน. ..129. เรื่อง กระบวนการ/วธิ ีการ จํานวน. .7.. เรื่อง มหาวทิ ยาลัยนราธวิ าสราชนครนิ ทร มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั ยะลา การปรับปรงุ หลกั สตู ร การปรบั ปรุงหลกั สตู ร หลกั สูตรการเรยี นการสอน จํานวน..13..หลักสูตร หลกั สตู รการเรยี นการสอน จํานวน..12..หลกั สตู ร หลักสูตรฝก อบรมระยะสัน้ จํานวน..2..หลักสูตร หลักสตู รฝก อบรมระยะสั้น จํานวน...19..หลกั สูตร หลกั สตู รการเรยี นรตู ลอดชวี ติ จาํ นวน ..8.. หลกั สตู ร หลกั สูตรการเรียนรตู ลอดชีวติ จํานวน ..22.. หลักสตู ร สรุปองคความรู สรปุ องคค วามรู องคค วามรู เทคโนโลยี นวตั กรรม จาํ นวน. ..39. เรอ่ื ง องคค วามรู เทคโนโลยี นวัตกรรม จํานวน. ..78. เรื่อง กระบวนการ/วิธีการ จาํ นวน. .1.. เรื่อง กระบวนการ/วิธีการ จํานวน. .6.. เรื่อง มหาวิทยาลัยราชภฎั สงขลา มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร การปรับปรงุ หลักสูตร การปรบั ปรุงหลักสูตร หลักสูตรการเรยี นการสอน จํานวน..29..หลกั สูตร หลกั สตู รการเรียนการสอน จํานวน..1..หลกั สตู ร หลกั สตู รฝกอบรมระยะส้นั จํานวน. 58..หลกั สตู ร หลักสูตรฝก อบรมระยะส้นั จาํ นวน. 2..หลักสูตร หลกั สูตรการเรียนรตู ลอดชีวิต จาํ นวน ..54.. หลกั สูตร หลักสตู รการเรียนรูตลอดชวี ติ จํานวน ..2.. หลักสูตร สรุปองคความรู สรุปองคค วามรู องคค วามรู เทคโนโลยี นวตั กรรม จาํ นวน. ..174. เรอื่ ง องคความรู เทคโนโลยี นวัตกรรม จํานวน. ..6... เร่อื ง กระบวนการ/วิธีการ จํานวน. .20.. เรอื่ ง ตาํ บลเปนพืน้ ท่จี ดั การศึกษา จาํ นวน 6 มหาวิทยาลัย 13 จงั หวัดภาคใต ผศ.ดร.นเิ วศน์ อรณุ เบกิ ฟา สาํ นกั พฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยแ์ ละพนั ธกิจสงั คม

เค ือ ํ เนินง น อง คใ อนล ง (RSI) พนื้ ทด่ี ําเนินการ ภาคใตตอนลาง จํานวน 6 มหาวทิ ยาลยั 13 จงั หวัดภาคใต มหาวทิ ยาลัยทักษณิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชัย กลุมประชากรเปาหมายทีด่ ําเนนิ การ กลุมประชากรเปาหมายทด่ี าํ เนินการ เกษตรกร จาํ นวน..54.คน เกษตรกร จํานวน..52 .คน วสิ าหกิจชุมชน จํานวน..58..คน กลมุ เปราะบาง จาํ นวน..44..คน วสิ าหกจิ ชุมช จาํ นวน..53..คน อนื่ ๆ จํานวน..53..คน กลมุ เปราะบาง จาํ นวน..50..คน อ่นื ๆ จํานวน..36..คน มหาวทิ ยาลยั นราธวิ าสราชนครินทร มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั ยะลา กลมุ ประชากรเปาหมายท่ีดําเนินการ กลมุ ประชากรเปา หมายท่ีดําเนินการ เกษตรกร จาํ นวน..13 .คน เกษตรกร จาํ นวน..16..คน วิสาหกิจชมุ ชน จาํ นวน..13..คน วิสาหกิจชมุ ชน จํานวน..23..คน กลมุ เปราะบาง จาํ นวน..13..คน กลมุ เปราะบาง จํานวน..15..คน อนื่ ๆ จาํ นวน..13..คน อน่ื ๆ จาํ นวน..28..คน มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎสงขลา มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร กลุมประชากรเปาหมายท่ดี าํ เนนิ การ กลุมประชากรเปาหมายท่ดี าํ เนินการ เกษตรกร จาํ นวน..2..คน เกษตรกร จาํ นวน..57..คน วสิ าหกิจชมุ ชน จาํ นวน..2..คน วิสาหกจิ ชมุ ชน จาํ นวน..77..คน กลมุ เปราะบาง จาํ นวน..2..คน กลุมเปราะบาง จาํ นวน..45..คน อ่นื ๆ จาํ นวน..1..คน อน่ื ๆ จาํ นวน..51..คน ตําบลเปน พืน้ ทจี่ ดั การศึกษา จาํ นวน 6 มหาวิทยาลัย 13 จงั หวัดภาคใต ผศ.ดร.นเิ วศน์ อรณุ เบกิ ฟา สาํ นกั พฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยแ์ ละพนั ธกิจสงั คม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook