พระพุทธศาสนา ม.4-6 หนว่ ยท่ี ๓ ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาตอ่ สงั คมไทย
ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาต่อสังคมไทย ๑. การฝกึ ฝนและพฒั นาตนเอง การพงึ่ พาตนเอง และการมุ่งสอู่ ิสรภาพ ๑.๑ พระพุทธศาสนาทา่ มกลางความเช่อื ตามหลกั ศาสนาพราหมณ์ พระพทุ ธศาสนาเกดิ ขึ้นทา่ มกลางความเช่อื ตามหลักศาสนาพราหมณ์ทเ่ี ช่อื วา่ พระพรหมเปน็ ผู้สรา้ งโลก และเทพเจ้าเป็นผู้บันดาลทุกสิง่ มนุษยจ์ งึ ต้องบวงสรวง ออ้ นวอนเทพเจา้ ด้วยพธิ ีกรรมเพือ่ ใหเ้ ทพเจา้ โปรดปราน พราหมณ์กาหนดวา่ คนเกดิ มาแยกเปน็ สีว่ รรณะ เกดิ มาในชนชัน้ วรรณะใด กต็ ้องเป็นอย่างนนั้ ตลอดชาตเิ ปลย่ี นแปลงไม่ได้ ทุกอยา่ งถูกครอบงากาหนดดว้ ยการ ดลบนั ดาลของเทพเจา้ ทงั้ ส้นิ
ความสาคญั ของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย ๑.๒ พระพุทธเจา้ ทรงประกาศอสิ รภาพของมนุษย์ สงิ่ แรกท่ถี ือวา่ เกดิ ขึ้นพร้อมกบั การประสตู ขิ องเจา้ ชายสิทธตั ถะ คอื การประกาศ อสิ รภาพของมนษุ ย์ ถ้าสงั เกตจะเหน็ ไดว้ า่ เมื่อเจ้าชายสทิ ธัตถะประสูติ มเี หตกุ ารณ์ทเี่ ปน็ สัญลักษณ์ คอื ได้เสด็จยา่ งพระบาทไป ๗ กา้ ว แล้วทรงเปล่งพระสรุ เสียงวา่ “เราเปน็ ผ้เู ลศิ แห่งโลก เราเป็นผ้ปู ระเสริฐแหง่ โลก เราคอื ผู้เป็นใหญ่แหง่ โลก”
ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาตอ่ สงั คมไทย พระดารสั น้ีถา้ ไมส่ งั เกตใหด้ ีจะเข้าใจผดิ วา่ ทาไมเจ้าชายสิทธัตถะจึงอวดตัวว่า ย่งิ ใหญ่แตพ่ ึงทราบวา่ น่คี ือ การประกาศอสิ รภาพของมนุษย์เพราะหลกั การตา่ ง ๆ ท่ี พระพุทธเจา้ ตรสั แสดงต่อมา จะบอกเราวา่ มนษุ ยม์ ศี ักยภาพในการพัฒนาตนเองไดส้ ูงสดุ เมื่อมนษุ ย์พฒั นาตนเองแลว้ กเ็ ปน็ ผปู้ ระเสริฐสดุ ไมม่ ัวไปอ้อนวอนหวังพ่งึ เทพเจา้ หรอื อานาจ ดลบนั ดาลจากภายนอก จะได้หนั มาเอาใจใสพ่ ัฒนาตนเอง และทาการตา่ ง ๆ ด้วยความเพียร พยายามของตน
ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่อสงั คมไทย ๒. พระพุทธศาสนาเป็นศาสตรแ์ หง่ การศกึ ษาซ่ึงเน้นความสมั พนั ธ์ ของเหตุปจั จยั กบั วธิ ีการแกป้ ญั หา ๒.๑ พระพุทธศาสนาเปน็ ศาสตรแ์ หง่ การศึกษา ๑) ความหมายของการศกึ ษา การศกึ ษา หมายถงึ การฝกึ อบรมให้มคี วามรู้ (วชิ า) ความดีงาม (จรณะ/จริยธรรม) และมีความสามารถ (ศลิ ปะ)
ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาตอ่ สังคมไทย ๒) จดุ เรมิ่ ตน้ ของการศึกษา สาเหตทุ ตี่ ้องมกี ารจดั การศึกษาก็เพราะมนุษยเ์ ป็นสตั ว์ท่ีออ่ นแอมาแต่ กาเนดิ ถา้ หากมนษุ ยถ์ กู ปลอ่ ยไว้ตามยถากรรม มนุษย์ก็จะไมส่ ามารถพัฒนาตนเองจน ทัดเทยี มกบั สัตวป์ ระเภทอนื่ ๆ ได้ แตเ่ มือ่ มนุษยไ์ ด้รับการศกึ ษา มนษุ ยก์ ็จะกลายเป็นสตั ว์ประเสรฐิ กว่า บรรดาสตั วท์ ง้ั ปวง ดังพระพทุ ธพจนท์ ว่ี า่ “ทนฺโต เสฏโฺ ฐ มนสุ ฺเสสุ” แปลวา่ ผู้ทฝ่ี ึกตน (ได้รับ การศึกษาแลว้ ) แล้วเป็นผู้ประเสริฐทส่ี ดุ ในหมมู่ นษุ ยท์ ง้ั หลาย
ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย ๓) ศกั ยภาพของมนุษย์ทีเ่ อ้ือตอ่ การศกึ ษา มนษุ ยท์ กุ คนมีศกั ยภาพทีจ่ ะบรรลุถงึ โพธิปัญญา (ปญั ญาท่ที าใหเ้ ป็นพุทธะ) ได้ แต่มนุษยต์ ้องผา่ นกระบวนการทางการศึกษาเสยี ก่อน
ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาตอ่ สังคมไทย ๔) หลักการศกึ ษาในพระพุทธศาสนา หลกั การศึกษาในพระพุทธศาสนาทเ่ี รยี กวา่ ไตรสิกขา ประกอบดว้ ยการศกึ ษาใน ๓ ดา้ น คือ ไตรสิกขา ศีลสิกขา จติ ตสิกขา หรอื สมาธิสิกขา ปัญญาสกิ ขา
ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาต่อสงั คมไทย ๕) คุณลกั ษณะของผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาตามแนวพทุ ธ ผู้ท่ีได้รับการศกึ ษาตามหลกั ไตรสิกขาโดยสมบูรณจ์ ะเรยี กว่าเป็น บัณฑิต หรอื พระอรหนั ต์ หรอื ภาวติ บคุ คล (บุคคลผู้พัฒนาแล้ว) คุณลกั ษณะของผูส้ าเรจ็ การศกึ ษาจะมลี กั ษณะหรอื มพี ัฒนาการทส่ี มบูรณใ์ น ๔ ด้าน คือ ๑) ภาวติ กาย มกี ายทีพ่ ฒั นาแลว้ ๒) ภาวติ ศลี มีศลี ท่ีพฒั นาแล้ว ๓) ภาวติ จิต มจี ิตที่พัฒนาแล้ว ๔) ภาวิตปญั ญา มปี ญั ญาท่พี ัฒนาแลว้
ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาตอ่ สังคมไทย ๒.๒ พระพุทธศาสนาเนน้ ความสมั พันธข์ องเหตปุ จั จยั กับวิธกี ารแกป้ ญั หา ๑) เหตุปัจจยั คอื อะไร เหตุ หมายถงึ ปจั จยั จาเพาะทเ่ี ป็นหลกั ใหเ้ กิดมสี ง่ิ ใดสง่ิ หนงึ่ ขึ้นมาโดย สมบรู ณ์ ปัจจยั หมายถงึ องคป์ ระกอบ หรอื เงอ่ื นไขแวดลอ้ มทท่ี าให้ ปจั จยั จาเพาะ (เหต)ุ อยา่ งใด ๆ มีความสมบูรณ์
ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาตอ่ สังคมไทย ๒) การประยกุ ตใ์ ชห้ ลักเหตปุ ัจจยั สมั พนั ธใ์ นการแกป้ ัญหา จากการค้นพบความจริงที่ว่าส่ิงต่าง ๆ ในโลกล้วนดารงอยู่อย่างอาศัยซึ่งกันและกัน เหมือนเป็นห่วงโซ่แห่งความสัมพันธ์ เช่นนี้เอง จึงทาให้พระพุทธองค์ทรงสรุปมาเป็นหลักการใน การแกป้ ญั หาชวี ิต ที่เรียกว่า อริยสจั ๔ (๑) ทุกข์ (ปัญหา) ต้องกาหนดรวู้ ่าปญั หาคืออะไร (๒) สมทุ ยั (สาเหตุ) ต้องสืบสาวหาเหตุใหพ้ บแลว้ ละให้ได้ (๓) นิโรธ (ภาวะทปี่ ลอดปญั หา) ต้องตงั้ จดุ หมายท่พี งึ ประสงค์ (๔) มรรค (วธิ ีการ/มรรควธิ ี) ต้องลงมือแกป้ ญั หาใหล้ ลุ ว่ ง
ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาต่อสงั คมไทย ๓. พระพุทธศาสนาฝกึ ตนไม่ให้ประมาท มงุ่ ประโยชน์และสันตภิ าพ แก่บุคคล สงั คมและโลก ๓.๑ การฝึกตนไมใ่ หป้ ระมาทตามหลักพระพทุ ธศาสนา พระพุทธศาสนามวี ิธีฝึกความไม่ประมาทไว้เป็นแนวทางตามลาดบั จากงา่ ย ไปหายาก ดงั น้ี (๑) เตอื นตนไม่ใหป้ ระมาทดว้ ยพระพทุ ธพจนใ์ นอปั ปมาทวรรค (๒) ฝึกตนไมใ่ ห้ประมาทตามแนวอภณิ หปัจจเวกขณ์ ๕ (๓) ฝกึ ตนไมใ่ หป้ ระมาทใน ๔ สถาน (๔) ฝกึ ตนไม่ให้ประมาทอย่างสูงสุดโดยการปฏบิ ตั ิตามหลักสตปิ ัฏฐาน ๔
ความสาคัญของพระพุทธศาสนาตอ่ สังคมไทย ๓.๒ พระพทุ ธศาสนามงุ่ ประโยชนแ์ ละสนั ติภาพแก่บคุ คล สังคม และโลก หลักฐานท่แี สดงใหเ้ หน็ ว่า พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาท่ีมุ่งประโยชน์สุขและสันติภาพ แก่บคุ คล สงั คม และโลกน้นั เห็นได้จากพุทธพจนต์ อ่ ไปนี้ ๑) เปา้ หมายการเสด็จอุบัตขิ องพระพุทธเจา้ “ภิกษทุ งั้ หลาย บุคคลผ้เู ปน็ เอกเมอ่ื เกดิ ขน้ึ ในโลก ยอ่ มเกดิ ขึน้ เพอื่ เกอ้ื กลู แก่ คนหมมู่ าก เพื่อสขุ แกค่ นหมมู่ าก เพอ่ื อนเุ คราะหช์ าวโลก เพือ่ ประโยชน์ เพอ่ื เกอ้ื กลู เพอื่ สขุ แกเ่ ทวดาและมนุษยท์ ั้งหลาย บุคคลผเู้ ป็นเอกคอื ใคร คือ พระตถาคตอรหนั ตสมั มาสมั พุทธเจ้า บุคคลผเู้ ป็นเอกนแ้ี ล เม่อื เกดิ ขน้ึ ในโลก ย่อมเกิดข้ึนเพอื่ เกอ้ื กลู แก่คนหมมู่ าก เพ่ือสขุ แก่ คนหมมู่ าก เพ่ืออนเุ คราะห์ชาวโลก เพื่อประโยชน์ เพือ่ เกื้อกูล เพื่อสขุ แกเ่ ทวดาและมนษุ ย์ ท้งั หลาย”
ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาตอ่ สังคมไทย ๒) เปา้ หมายในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา “ภกิ ษทุ ั้งหลาย พวกเธอจงจาริกไป เพอ่ื ประโยชนแ์ กช่ นจานวนมาก เพอื่ อนุเคราะห์ชาวโลก เพ่ือประโยชน์เกอื้ กลู ดแู ลความสขุ แกท่ วยเทพและมนษุ ย์ อยา่ ไปโดยทาง เดียวกันสองรปู จงแสดงธรรมมคี วามงามในเบ้ืองตน้ ท่ามกลาง และที่สดุ จงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทง้ั อรรถและพยญั ชนะ บริสทุ ธ์ิ บริบรู ณค์ รบถ้วน สัตวท์ ง้ั หลายทีม่ กี ิเลสเบาบางก็ยงั มอี ยู่ สตั ว์เหลา่ น้ันจะเส่อื มไป (จากมรรคผล) เพราะไม่ไดฟ้ งั ธรรม ผ้รู ู้ธรรมจักตอ้ งอยู่ ภกิ ษทุ ั้งหลาย แม้เราเองกจ็ ะไปยังตาบลอรุ ุเวลาเสนานคิ มเพ่ือแสดงธรรม”
ความสาคญั ของพระพุทธศาสนาตอ่ สงั คมไทย ๓) เป้าหมายในการทาสังคายนา “...ธรรมทง้ั หลายเราแสดงไว้ เพอื่ ความร้ยู ่ิงบรษิ ทั ท้งั หมดนนั่ แหละ พึงพรอ้ มเพรยี งกนั ประชมุ สอบทานอรรถกบั อรรถ พยญั ชนะกบั พยญั ชนะ แล้วถึงสงั คายนากนั ไมพ่ ึงวิวาทกนั เพื่อใหพ้ รหมจรรย์นคี้ งอยไู่ ดน้ าน ดารงอย่ไู ด้นาน ขอ้ น้นั พึงเปน็ ไปเพือ่ เกอ้ื กูล แก่คนหม่มู าก เพ่ือสขุ แก่คนหม่มู าก เพ่อื อนเุ คราะห์ชาวโลก เพ่ือประโยชน์ เพ่อื ความสุข แก่เทวดาและมนษุ ยท์ ้ังหลาย”
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: