Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระพุทธศาสนา ม.4-6 หน่วยที่ 4

พระพุทธศาสนา ม.4-6 หน่วยที่ 4

Published by pim, 2021-05-08 03:13:19

Description: พระพุทธศาสนา ม.4-6 หน่วยที่ 4

Search

Read the Text Version

พระพุทธศาสนา ม.๔-๖ หน่วยที่ ๔ พระพทุ ธศาสนากับปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการพฒั นาประเทศแบบยงั่ ยืน

พระพทุ ธศาสนากบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการพฒั นาประเทศแบบยง่ั ยนื ๑. พระพุทธศาสนากับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๑.๑ ความหมายของระบบเศรษฐกิจแบบพอเพยี ง พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร มีพระราชดารเิ รอ่ื งระบบเศรษฐกิจแบบพอเพยี ง (Self Sufficiency Economic) ไว้ดังน้ี

พระพทุ ธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการพฒั นาประเทศแบบย่งั ยนื “เศรษฐกิจพอเพียงนี้ ขอย้าว่าเปน็ ทั้งเศรษฐกจิ หรือความประพฤติท่ที า้ อะไรเพื่อใหเ้ กิดผล โดยมีเหตแุ ละผล คอื ผลเกดิ มาจากเหตุ ถา้ เหตดุ ี คดิ ดี ผลท่ีออกมา คอื สิ่งที่ติดตามเหตุ การกระทา้ ก็จะเปน็ การกระท้าท่ีดี และผลของการกระทา้ นัน้ ก็จะเป็นการกระท้าที่ดี ดี แปลว่า มปี ระสิทธิผล ดี แปลวา่ มีประโยชน์ ดี แปลว่า ทา้ ให้มีความสุข”

พระพุทธศาสนากบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการพฒั นาประเทศแบบย่ังยนื “Self Sufficiency (พ่งึ ตนเอง) คือ พอเพียงแกต่ นเอง แตค่ วามจริงเศรษฐกิจพอเพยี งน้ีกวา้ งขวางกวา่ Self Sufficiency นนั่ หมายความว่า ผลิตอะไรทม่ี พี อทีจ่ ะใช้ ไมต่ ้องไปซ้อื ของคนอ่นื อยไู่ ดด้ ว้ ยตวั เอง”

พระพุทธศาสนากบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการพฒั นาประเทศแบบย่งั ยนื “ความพอเพยี งน้กี แ็ ปลว่า ความพอประมาณและความมเี หตุผล...”

พระพทุ ธศาสนากบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการพฒั นาประเทศแบบยัง่ ยนื “พอเพียงนีม้ คี วามหมายกวา้ งขวางย่งิ กวา่ อกี (คือกว้างกว่าพึง่ ตนเอง) คา้ ว่า “พอ” ก็คือเพียงนีก้ ็พอ ดงั นน้ั คนเราถ้าพอในความตอ้ งการก็มีความโลภน้อย เม่ือโลภนอ้ ยก็เบียดเบียนคนอื่นนอ้ ย คนเราก็อยเู่ ป็นสขุ ”

พระพุทธศาสนากบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการพัฒนาประเทศแบบยง่ั ยนื “การจะเปน็ เสอื นนั้ ไม่สา้ คญั สา้ คัญอยู่ทีเ่ รามี เศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน หมายความวา่ อ้มุ ชูตัวเองได้ ใหม้ คี วามพอเพยี งกบั ตัวเอง...”

พระพทุ ธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการพฒั นาประเทศแบบย่งั ยืน สรุปความหมาย ของเศรษฐกิจพอเพยี งไดว้ า่ เศรษฐกจิ พอเพียง หมายถงึ ความสามารถของชุมชนเมือง รัฐ ประเทศ หรอื ภมู ิภาคหน่ึง ๆ ในการผลติ สินค้า และบริการทกุ ชนิด เพ่ือเลย้ี งสังคมนั้น ๆ ได้โดยไมต่ ้องพงึ่ พาปจั จยั ต่าง ๆ ท่ีเราไมไ่ ด้เป็นเจา้ ของ

พระพทุ ธศาสนากบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการพฒั นาประเทศแบบยง่ั ยืน ๑.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนากับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาท่ใี ชก้ บั หลกั เศรษฐกจิ พอเพียง มีดังนี้ ๑) มตั ตญั ญตุ า คอื ความเป็นผู้รูจ้ ักประมาณตนเอง ๒) สันตฏุ ฐี ปะระมัง ธะนัง คือ ความมกั นอ้ ยเปน็ ทรพั ย์อย่างประเสริฐ ๓) อตั ตา หิ อตั ตะโน นาโถ คอื ตนนั่นแล เป็นท่พี ึง่ ของตน ๔) มชั ฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง ๘ ประการ ๕) ธมั มญั ญตุ า และอตั ถัญญตุ า คือ รจู้ ักใช้เหตผุ ลในการดาเนนิ ชวี ิต

พระพุทธศาสนากบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการพัฒนาประเทศแบบยัง่ ยืน ๑.๓ แนวทางปฏิบัติตามระบบเศรษฐกิจพอเพยี ง การดา้ รงชพี แบบพอเพยี ง คือ การรจู้ ักคา้ วา่ “พอ” ในการดา้ เนนิ ชีวิต ปฏบิ ัตไิ ด้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑) ลด ละสงิ่ ชัว่ ใหห้ มดสิ้นไป ๒) ละ เลิก การแกง่ แย่งผลประโยชน์และแขง่ ขนั ในทางการคา้ ขายกนั อยา่ ง รนุ แรง ๓) ไม่หยดุ นิ่งทีจ่ ะหาทางใหช้ ีวติ หลดุ พ้นจากความทกุ ขย์ าก ขวนขวายใฝ่หา ความรู้ ใหเ้ กดิ มีรายไดจ้ นถงึ ขนั้ พอเพยี ง ๔) ประหยัดตดั ทอนคา่ ใช้จ่ายในทกุ ดา้ น ลด ละความฟมุ่ เฟอื ย ๕) ประกอบอาชพี ดว้ ยความสุจริต ยุติธรรม

พระพุทธศาสนากบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการพัฒนาประเทศแบบย่ังยนื ๒. พระพทุ ธศาสนากบั การพฒั นาประเทศแบบยั่งยนื ๒.๑ ความหมายของการพฒั นา คาว่า “พฒั นา” เปน็ คาทีแ่ ปลมาจากคาในภาษาอังกฤษว่า Development ซง่ึ หมายถงึ ความเจริญเติบโตไปในทศิ ทางท่ดี ี หรือการสรา้ งสรรคส์ ่ิงใหม่ ส่วนพจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ให้คานยิ ามของคาว่า “พัฒนา” เอาไว้ว่า ความเจรญิ ทาให้เจรญิ โดยสรปุ ความหมายของการพฒั นาจงึ หมายถงึ “การท้าใหม้ คี วามเจริญ หรือ การสรา้ งสรรค์ใหเ้ กิดความเปลย่ี นแปลงไปในทศิ ทางทพ่ี งึ ประสงค”์

พระพทุ ธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการพฒั นาประเทศแบบยั่งยนื ๒.๒ ทีม่ าของการพฒั นาแบบยัง่ ยนื คาว่า “การพฒั นาแบบยั่งยืน” มาจากคาท่ีใช้ในภาษาอังกฤษว่า Sustainable Development สาเหตุ เกิดจากชาวโลกช้ันนา โดยเฉพาะนักคดิ นกั วิชาการ หรอื นกั ปราชญ์ใน ประเทศตะวนั ตกได้ตระหนกั รว่ มกนั ว่า การพัฒนาของชาวโลกทผ่ี า่ นมานนั้ มที ศิ ทางทผี่ ดิ จึงนามนษุ ยชาตเิ ขา้ ไปสหู่ นทางแหง่ ความทกุ ข์ และความเสือ่ มอย่างน่าวิตก

พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการพฒั นาประเทศแบบยงั่ ยนื ๒.๓ ความหมายของการพัฒนาแบบยั่งยนื การพัฒนาแบบย่ังยนื คอื การพฒั นาที่ไมก่ ่อใหเ้ กดิ ปัญหาตามมาอีก ในอนาคต การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื คอื การพฒั นาทส่ี นองความตอ้ งการของปัจจบุ ัน โดยไมท่ าให้ ประชาชนรนุ่ ตอ่ ไปในอนาคตตอ้ งประนีประนอมยอมลดความสามารถของเขาในการทจี่ ะสนอง ความตอ้ งการของเขาเอง

พระพทุ ธศาสนากบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการพฒั นาประเทศแบบยงั่ ยนื ๒.๔ ลกั ษณะทวั่ ไปของการพัฒนาแบบย่ังยนื ในการพฒั นาแบบย่งั ยนื เชงิ พุทธนน้ั ควรมีลักษณะท่วั ไป ดังต่อไปน้ี - คนสมั พันธก์ ับคนอยา่ งมคี วามสขุ - คนสัมพันธก์ บั สังคมอย่างมคี วามสุข - คนสมั พันธก์ บั ธรรมทจี่ รงิ แท้อย่างรูเ้ ทา่ ทัน - คนสัมพนั ธ์กบั สง่ิ แวดล้อมอย่างเออื้ เฟอื้ เกอื้ กลู กัน - คนสัมพนั ธก์ ับวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ยา่ งมสี ติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook