Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

IS2

Published by pim, 2022-05-31 04:51:40

Description: IS2

Search

Read the Text Version

48 -ฐานขอ้ มูลซดี รี อม ใหข้ อ้ มูลท่มี ีการจัดเก็บท่ีเปน็ ระบบสามารถสืบค้นได้ดว้ ยโปรแกรมทีใ่ ห้ ควบค่มู ากับฐานขอ้ มูล เชน่ หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์(E-Book) และวารสารอิเล็กทรอนิกส(์ Electronic Journals) 2. ส่ือแบบออนไลน์ คือสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ทีส่ บื ค้นทางออนไลน์ มกี ารเช่อื มต่อสัญญาณเข้ากบั ระบบอินเทอรเ์ นต็ เชน่ -การสบื ค้นจากเวิรล์ ไวด์เว็บ -การสบื คน้ ฐานข้อมลู ต่างๆ -หนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ -วารสารอเิ ล็กทรอนกิ ส์ -จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail หรือ E-mail ) เปน็ การสง่ ขอ้ ความทาง เครอื ขา่ ย ผู้ใช้สามารถส่งจดหมายอิเลก็ ทรอนิกสถ์ ึงผู้ใช้งานท่ีอยภู่ ายในอนิ เทอรเ์ น็ตหรอื เครือขา่ ยอ่ืนไดท้ ่ัวโลก ชว่ ยใหต้ ดิ ต่อผอู้ นื่ ไดอ้ ย่างรวดเรว็ 3. ส่ือท่ีใชส้ ญั ญาณคล่นื วทิ ยุโทรทัศน์ ได้แก่ -รายการวิทยุ -รายการโทรทัศนแ์ บบฟรี เช่น สถานโี ทรทัศน์ ช่อง 7, สถานีโทรทัศน์ชอ่ ง 3 -รายการโทรทัศนแ์ บบเสยี เงิน เช่นเคเบิลทวี ี (Cable Television) เปน็ สอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์ท่ี มกี ารนามาใช้กันอยา่ งกวา้ งขวาง ในประเทศไทยเปน็ ส่ือทตี่ ้องสมคั รเป็นสมาชิก จ่ายค่าตดิ ต้ังและค่าบริการ เป็นรายเดอื น ผู้ผลติ หรอื ผแู้ ทนจาหนา่ ย จะสง่ สัญญาณถงึ ผ้รู บั ตามบ้านเรือน สานักงาน และหอ้ งสมุด โดย สายเคเบิลคู่ หรืออาจส่งสัญญาณทางส่ือดาวเทยี มคู่กบั สายเคเบิลที่เดินสายตอ่ เขา้ เคร่ืองรบั หรอื ส่งสญั ญาณ ดาวเทียมผ่านเสาอากาศ ถงึ เครอื่ งรบั โดยตรงก็ได้ รบั ไดท้ ้ังภาพและเสยี ง มีสาระความรู้ ความบันเทิง ใหเ้ ลอื กตามตอ้ งการ เอกสารอา้ งองิ นภิ าภรณ์ หาญศิริสกุล. (2543). โครงการพัฒนาแหลง่ การเรียนรู้ในโรงเรียนมธั ยมศึกษา สงั กัดกรมสามญั ศึกษา เขตการศึกษา 9 ปีงบประมาณ 2543. อดุ รธานี : หน่วยศึกษานเิ ทศก์ ประภาส พาวินันท.์ (2542). ทรพั ยากรสารสนเทศและการรูห้ นังสือ. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัย รามคาแหง. พวา พันธ์ุเมฆา. (2539). สารนเิ ทศกบั การศึกษาคน้ คว้า. พิมพ์คร้ังที่ 3. กรงุ เทพฯ : ภาควชิ า บรรณารักษศาสตร์ คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติ ร. พมิ ลพรรณ ประเสรฐิ วงษ์ เรพเพอร์ และคณะ. (2547). การใชห้ ้องสมุด. พิมพค์ รัง้ ท่ี 6. กรงุ เทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง.

49 ช่อื ....................................................... ใบงานที่ 10 เลขท่ี.................หอ้ ง............./............ เรอ่ื ง ทรัพยากรสารสนเทศ /วสั ดุตีพิมพ์ คาชแึ้ จง ให้นักเรยี นตอบคาถามและเตมิ คา หรือข้อความลงในช่องว่างใหถ้ กู ตอ้ ง 1.จงบอกความหมายของทรพั ยากรสารสนเทศ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.ทรพั ยากรสารสนเทศมีกี่ประเภท อะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.วสั ดตุ พี ิมพห์ มายถึงอะไร มอี ะไรบา้ งอธบิ ายสัน้ ๆพอเข้าใจ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………..………………………………………………………………… 4.จงอธิบายความหมายของหนงั สือบนั เทิงคดี ..................................................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ….……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. จบั คขู่ อ้ ความท่มี ีความสมั พันธก์ ัน โดยนาข้อความทางขวามือเตมิ ลงหนา้ ข้อความทางซ้ายมือ 5.1……………………………..สิ่งพิมพ์ขนาดเล็กมคี วามหนาไมม่ ากนกั กฤตภาค 5.2………………………………สง่ิ พมิ พช์ อื่ เดยี วกันมีกาหนดออกแนน่ อน หนงั สือ 5.3………………………………ส่งิ พมิ พ์ที่มีกาหนดออกแน่นอนเปน็ รายวนั จลุ สาร 5.4………………………………สิง่ พิมพท์ ี่หอ้ งสมุดจัดทาข้นึ โดยตดั จากสง่ิ พมิ พอ์ น่ื วารสาร 5.5………………………………ส่ิงพมิ พท์ เ่ี ย็บรวมเปน็ รปู เลม่ คงทนถาวร หนงั สอื พิมพ์

50 ชื่อ....................................................... ใบงานที่ 11 เลขท่ี.................หอ้ ง............./............ เร่ือง วสั ดุไม่ตีพิมพ์ / สื่ออิเล็กทรอนกิ ส์ คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนศึกษาเรอ่ื งวัสดุไม่ตีพมิ พ์แตล่ ะประเภท จากที่นกั เรยี นไดเ้ รียนรู้ เรอ่ื งทรัพยากร สารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ / สื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์มาสรุปเปน็ ผังความคิด (Mind Mapping) ให้สมบรู ณ์ ทสี่ ุด และระบายสีใหส้ วยงาม

51 บทท่ี 9 เรื่อง การอา้ งอิงทางบรรณานุกรม การอา้ งองิ ทางบรรณานุกรม บรรณานุกรม หรือเอกสารอา้ งอิง เป็นส่วนสาคัญทส่ี าคัญของการเขียนงานตา่ ง ๆ ไม่ว่าจะเป็น เอกสารทางวิชาการ หนงั สือ ตารา รายงานการวจิ ัย หรอื ทเ่ี ราเห็นกันมากกค็ อื วิทยานพิ นธ์ ซงึ่ จะปรากฏอยู่ ท้ายเลม่ ของผลงานที่เป็นเป็นแหล่งรวบรวบรายการขอ้ มลู ทงี่ านเขียนนั้น ๆ ไดอ้ ้างอิงถึง อกี ทง้ั ยังเปน็ ส่วนที่จะ เชอื่ มโยงไปยังต้นทางของแหล่งข้อมลู ท่ีให้ผู้อา่ นสามารถคน้ หาและสืบค้นเพิ่มเตมิ ได้ โดยส่วนใหญแ่ ล้วการเขยี นบรรณานกุ รม หรอื เอกสารอ้างอิง จะนยิ มใช้มาตรฐานการเขียนท่ีช่อื ว่า APA หรือ (American Psychological Association) พัฒนามาจากนกั สงั คมศาสตรแ์ ละนักพฤตกิ รรมศาสตร์ มากว่า 80 ปี เพือ่ เปน็ มาตรฐาน ในการเขยี นอย่างเปน็ ระบบสาหรับการทาวิจยั รายงานการวิจยั การทบทวน วรรณกรรม บทความและกรณีศึกษา สาหรบั นักเขียนและนักศกึ ษานามาใชใ้ นวทิ ยานิพนธ์ซึ่งเป็นรปู แบบท่ี นิยมใชอ้ ย่างแพร่หลาย โดยในปัจจุบัน APA ได้พัฒนามาถึงเวอรช์ ันท่ี 6 ท่ีมีมาตราฐานใหม่ที่เปน็ แปลงจากเดิม ไปพอสมควร ในบทความน้ีเราจะยกตัวอย่างการเขยี นบรรณานกุ รม ที่จาเปน็ และใช้เป็นแหลง่ อา้ งองิ กันมาก เช่น หนงั สือ งานวิจัย วารสาร วิทยานิพนธ์ ส่ือออนไลน์ การใช้อักษรยอ่ ม.ป.ท. แทนคาเตม็ ว่า (ไม่ปรากฏสถานทพ่ี ิมพ)์ N.P. แทนคาเต็มวา่ (no Place of publication) ม.ป.พ. แทนคาเตม็ ว่า (ไมป่ รากฏสานกั พมิ พ)์ n.p. แทนคาเต็มว่า (no publisher) (ม.ป.ป.) แทนคาเตม็ วา่ ไมป่ รากฏปีพิมพ์ (n.d.) แทนคาเตม็ ว่า no date (บ.ก.) แทนคาเตม็ วา่ บรรณาธิการ (Ed.) หรือ (Eds.) แทนคาเต็มว่า Editor หรือ Editors การเขียนช่อื ผู้แตง่ ไม่ตอ้ งลงคานาหน้านามตาแหน่งทางวชิ าการคาเรียกทางวชิ าชีพและตาแหนง่ ยศตา่ ง ๆ (ยกเว้น มี ฐานนั ดรศักด์ิ บรรดาศักด์ิ และสมณศกั ดิ)์ กรณมี ีตาแหนง่ ยศต่างๆ นายแพทย์ธงชัย ฟา้ กะจ่าง เขียนเปน็ ธงชยั ฟ้ากระจา่ ง กรณีฐานันดรศักด์ิ สมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า เจ้าฟา้ มหาจกั รีสริ ินธร มหาวชิราลง กรณวรราชภักดี สริ กิ ิจการณิ พี รี ยพัฒน รัฐสีมาคุณากรปยิ ชาติ สยามบรมราชกมุ ารี เขยี นเปน็ พระเทพรตั นราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจกั รีสริ นิ ธร มหาวชริ าลงกรณวรราชภักดี สริ กิ จิ การิณพี รี ยพฒั น รฐั สีมาคุณากรปยิ ชาติ สยามบรมราชกุมารี , สมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จ

52 หลักการเขียนบรรณานกุ รม ผู้เขยี น 1 คน ผู้แตง่ 1./(ปพี ิมพ)์ .//ชอ่ื เรอื่ ง/(พิมพ์ครงั้ ท่ี).//สถานท่พี ิมพ:์ /สานกั พิมพ.์ ตัวอย่าง จุมพต สายสนุ ทร. (2552). กฎหมายระหวางประเทศ (พมิ พครง้ั ท่ี8 แกไขเพ่ิมเติม). ///////กรงุ เทพฯ: วิญ ูชน. ผ้เู ขยี น 2 คน ผู้แต่ง1,/และผแู้ ตง่ 2.//(ปพี ิมพ์).//ช่ือเรื่อง/(พิมพค์ รงั้ ที)่ .//สถานทีพ่ ิมพ์://สานกั พิมพ์. ตวั อยา่ ง ปยะ นากสงค, และพันธุรวี วรสทิ ธกิ ลุ . (2545). ดูหนงั ฟงเพลงเลนเกมรองคาราโอเกะ. ///////กรงุ เทพฯ: ซคั เซส มเี ดีย. ผู้เขยี น 3 คน ผแู้ ต่ง1,/ผ้แู ตง่ 2,/และผแู้ ต่ง3.//(ปพี มิ พ์).//ช่ือเร่ือง//(พิมพ์ครั้งท)ี่ .//สถานท่ีพิมพ์: ///////สานักพมิ พ์. ตวั อย่าง มนชยา เจียงประดษิ ฐ, ปทมวดี นันทนาเนตร, และสโิ รตน จน่ั งาม. (2550). เอกสาร ///////คาสอนวิชา หลักสถติ ิST 201. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บัณฑิตย. ผู้เขยี นมากกวา่ 7 คน ผ้แู ต่ง1,/ผู้แต่ง2,/ผแู้ ตง่ 3,/ผูแ้ ต่ง4,/ผแู้ ตง่ 5,/ผ้แู ต่ง6,…ผ้แู ต่งคนสุดท้าย./(ปพี มิ พ)์ . ///////ชื่อเรอ่ื ง//(พมิ พ์ครง้ั ที่).//สถานที่พิมพ์://สานักพมิ พ.์ ตัวอยา่ ง ปยวรรณ แสงสวาง, วิสุทธ์ิ ตรเี งิน, สวุ นิตย จีระวงส, สิรพิ ร หลอดเงิน, ธัญญะ ///////พรหมศร, ศกึ ษา อุนเจรญิ , และรมยั มาศ จันทรขาว. (2547). เอกสารคาสอน ///////วทิ ยาศาสตรเพ่ือคณุ ภาพชีวิต SC 101 (พมิ พครง้ั ที3่ ). กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ ///////มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บณั ฑิตย.

53 1. หนงั สือ ผู้แต่ง 1./(ปีพมิ พ)์ .//ช่อื เร่ือง/(พมิ พค์ รง้ั ที่).//สถานทีพ่ มิ พ:์ /สานกั พมิ พ.์ ตัวอย่าง สกุ ัญญา รอส. (2561). วัสดุชวี ภาพ. พิษณุโลก: สานักพมิ พ์มหาวิทยาลยั นเรศวร. หนังสือไม่ปรากฏชือ่ ผู้แต่ง ชอื่ เร่อื ง/(พิมพค์ รัง้ ท)ี่ .//(ปีพิมพ์).//สถานทีพ่ ิมพ์:/สานักพมิ พ.์ ตัวอย่าง หลากความคิดชีวิตคนทางาน. (2551). กรงุ เทพฯ: แผนงานสขุ ภาวะองคก์ รภาคเอกชน ///////สานักงานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสริมสุขภาพ. บทความหรือบทในหนังสือ ชอ่ื ผู้แต่งบทความหรอื บท./(ปีพิมพ)์ .//ช่อื บทความหรอื บท./ใน หรือ In/ชอ่ื บรรณาธิการ/ ///////(บ.ก. หรอื Ed. หรือ Eds.),//ช่อื หนังสือ/(น. หรือ p. หรือ pp. เลขหน้า). ///////สถานท่พี ิมพ:์ /สานกั พิมพ์. ตัวอย่าง วลั ลภัช สขุ สวัสดิ์. (2561). แนวความคดิ เรอ่ื งชนชัน้ นาทางการเมืองของกีตาโน มอสกา ////////กับชนชนั้ นาทางการ.เมอื งไทยในยคุ มาลานาไทย. ใน วชั รพล ศุภจกั รวัฒนา ///////และวัชรพล พทุ ธรักษา (บ.ก.), วา่ ด้วยทฤษฎีรฐั ศาสตร์ และรฐั ประศาสนศาสตร์ร่ ///////รว่ มสมยั (พิมพ์ครั้งที่ 2). (น. 47-68). พิษณโุ ลก: สานกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลยั นเรศวร. *หมายเหตุ (พมิ พ์ครัง้ ท่ี) ให้ระบตุ ้งั แตค่ ร้ังที่ 2 เปน็ ต้นไป 2. หนงั สือแปล ชอ่ื ผู้แต่งต้นฉบบั ./(ปพี ิมพ์).//ชื่อเรือ่ งทแี่ ปล/[ชอ่ื ต้นฉบบั ]/(ช่อื ผู้แปล, แปล)./สถานท่พี มิ พ:์ ///////สานักพิมพ.์ /(ต้นฉบับพมิ พป์ ี ค.ศ. หรือ พ.ศ.). ตวั อยา่ ง แบร่ี สมาร์. (2555). มิเชล ฟโู กต์ [Michel Foucault] (จามะรี เชียงทอง และสนุ ทร สราญ ////////จติ , แปล). กรงุ เทพฯ:/ศูนยม์ านษุ ยวทิ ยาสิรธิ ร (องคก์ ารมหาชน). (ต้นฉบับพิมพป์ ี ///////ค.ศ. 1994).

54 3. E-book ผแู้ ต่ง 1./(ปีพิมพ์).//ช่อื เร่อื ง/(พมิ พค์ รง้ั ที่).//สถานที่พิมพ์:/สานกั พมิ พ.์ //จาก หรือ ///////from/http://www.xxxxxxx ตวั อย่าง Howitt, D. (2011). Introduction to research methods in psychology. /////// Retrieved from/https://www.dawsonera.com. จกั รพนั ธ์ เพช็ รภูมิ. (2562). พฤติกรรมสขุ ภาพ: แนวคดิ ทฤษฎี และการประยกุ ต์ใช.้ ///////(พิมพ์ครง้ั ท่ี 3). พษิ ณโุ ลก: สานักพมิ พ์มหาวิทยาลยั นเรศวร. สืบค้นจาก ///////https://www.ookbee.com. Haslam, S. (2003). Research Methods and Statistics in Psychology (SAGE ///////Foundations of Psychology series).[Kindle DX version]. Retrieved /////// from http://www.amazon.com 4. รายงานการวจิ ัย ผูแ้ ต่ง./(ปีพมิ พ)์ .//ช่ือเรือ่ ง(รายงานผลการวจิ ัย).//สถานท่ีพิมพ:์ /สานกั พิมพ์. ตัวอย่าง พินิจทิพย์มณ.ี (2553). การวิเคราะหป์ ัญหาทางกฎหมายที่เก่ียวกับการตายของ ////////ประเทศไทย (รายงานผลการวจิ ัย). กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บัณฑติ ย.์ 5. วิทยานิพนธ์ วทิ ยานพิ นธแ์ บบรปู เล่ม ผู้แตง่ ./(ปีพมิ พ์)./ช่อื เร่อื ง/(ปรญิ ญานิพนธป์ รญิ ญาดษุ ฎบี ณั ฑิต หรือ Doctoral ///////dissertation หรอื วทิ ยานิพนธ์ ปรญิ ญามหาบัณฑติ หรอื master’s thesis)./ ///////สถานท่ีพมิ พ.์ /ช่อื สถาบนั . วันชนะ จูบรรจง. (2560). ระบบสนบั สนุนการประมาณการสัมผัสแคดเมยี มผ่านการ ///////บริโภคอาหาร (วิทยานพิ นธ์ปริญญามหาบัณฑิต). พษิ ณุโลก: มหาวิทยาลยั นเรศวร วทิ ยานิพนธฐ์ านข้อมูลออนไลน์ ผ้แู ต่ง./(ปีพมิ พ)์ ./ชอ่ื เรื่อง/(ปรญิ ญานิพนธ์ปริญญาดุษฎบี ณั ฑิต หรอื Doctoral ///////dissertation หรือ วิทยานพิ นธ์ ปริญญามหาบณั ฑิต หรอื master’s thesis). ///////สถานทพี่ มิ พ์./ชื่อสถาบนั . สืบค้นจาก หรือ Retrieved from http://www.xxxxxxxxx.

55 ตัวอยา่ ง พรทิพย์ ว่องไวพทิ ยา. (2551). การพฒั นาระบบสารสนเทศเพอื่ ช่วยสนบั สนุนการ ///////ตัดสินใจในการมอบหมายและตดิ ตามความกา้ วหน้าของงาน กรณีศึกษาบัณฑติ ///////วิทยาลัย มหาวิทยาลยั นเรศวร (วิทยานพิ นธ์ ปรญิ ญามหาบณั ฑิต). พษิ ณุโลก. ///////มหาวิทยาลยั นเรศวร. สืบคน้ จาก https://tdc.thailis.or.th/tdc/. 6. วารสาร วารสารแบบเลม่ ชอ่ื ผแู้ ต่ง./(ปพี ิมพ)์ .//ช่ือบทความ.//ช่อื วารสาร,/เลขของปีท/่ี (เลขของฉบบั ที่),เลขหน้า. ตวั อยา่ ง วชิ ัย พานิชยส์ วย, สมุ น ไวยบุญญา, พัชรพร ศุภกิจ, และรตั นากร หลวงแก้ว. ///////(2562). ผลของการใชบ้ ทเรียน PISA ท่ีมีต่อความสามารถดา้ นทักษะ ///////กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ของนกั เรียนระดบั ประถมศกึ ษา.วารสารการ ///////วจิ ัยพฒั นาชมุ ชน (มนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร)์ , 12(3), 133-160. 7. Website ผู้แตง่ ./(ปีพมิ พ)์ .//ชอื่ บทความ./สืบคน้ หรือ Retrieved วัน/เดือน/ป,ี //จาก หรอื ///////from/http://www.xxxxxxxxxx ตวั อยา่ ง สรญา แสงเยน็ พันธ์. (2563). พฤติกรรมสขุ ภาพ. สืบคน้ 18 กนั ยายน ///////2563, จาก http://www.nupress.grad.nu.ac.th/behavior. เอกสารอา้ งองิ บุญฑา วิศวไพศาล. (ม.ป.ป). มนษุ ยศาสตร์สาร. สืบค้น 18 กันยายน 2562, จาก http://journal.human.cmu.ac.th/files/form2.pdf คณะพาณชิ ยศาสตร์และการบัญชี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. (ม.ป.ป). การอ้างองิ แบบแทรกในเน้อื หาตาม หลักเกณฑ์ APA. สืบค้น 18 กนั ยายน 2562, จาก http://www.jba.tbs.tu.ac.th/ files/APA_Style.pdf American University of Sharjah. (n.d.). APA 6th Edition Citation Style. Retrieved September 18, 2019, from https://aus.libguides.com/apa/apa-website Himmelfarb Health Sciences Library. (n.d.). APA Citation Style, 6th edition. Retrieved September18, 2019, from https://guides.himmelfarb.gwu.edu/APA

56 ใบงานท่ี 12 การอ้างองิ ทางบรรณานกุ รมหนังสอื คาช้แี จง : ให้นักเรียนเขียนบรรณานุกรม จากหนงั สือมา 7 รายการ รปู แบบ การเขยี นบรรณานกุ รมจากหนังสอื ชอื่ ผแู้ ต่ง./(ปีทพี่ ิมพ์)./ชือ่ เรื่อง /ครั้งที่พิมพ์ (พิมพ์คร้งั ท่ี 2 เป็นตน้ ไป). /สถานทพี่ ิมพ:์ /สานักพมิ พ์. ตวั อยา่ ง ธรณ์ ธารงนาวาสวัสด์ิ. (2548). ใตท้ ะเลมีความรกั ภาคสาม (พิมพ์ครั้งท่ี 5.กรุงเทพฯ: ///////บา้ นพระอาทิตย.์ 1........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 6........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ชอ่ื ..............................................................นามสกลุ ..............................................ช้ัน ม.1/............เลขที่............

57 ใบงานท่ี 12 การอา้ งอิงทางบรรณานุกรมออนไลน์ คาช้แี จง : ใหน้ กั เรียนเขียนบรรณานุกรม จากเวบ็ ไซต์ มา 7 รายการ รูปแบบ การเขยี นบรรณานกุ รมจากฐานขอ้ มลู ออนไลน์ ผู้แตง่ .//ชื่อเร่ือง.//[ออนไลน์].//เข้าถึงไดจ้ าก//://แหล่งสารสนเทศ.//(วันที่คน้ ขอ้ มลู //://วนั / ///////เดอื น/ ปี). ตวั อยา่ ง อาไพวรรณ ทพั เปน็ ไทย. สารสนเทศเพอื่ การคน้ ควา้ . [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก : http : //////// www.lib.ru.ac.th. (วนั ทค่ี น้ ข้อมูล : 20 สิงหาคม 2557). 1........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 6........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ช่ือ.....................................................นามสกลุ ......................................ช้นั ม.1/................เลขท่ี.....................

58 บทท่ี 10 การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของขอ้ มลู การวิเคราะห์และการตคี วามหมายข้อมลู (Analysis and Interpretation of Data) ขอ้ มลู ทีท่ าการเกบ็ รวบรวม โดยทั่วไปจะมจี านวนมาก เมอื่ ไดข้ ้อมูลมาแล้ว ก็จะมกี ารดาเนนิ การกบั ขอ้ มลู ด้วยวธิ กี ารตา่ งๆเชน่ การแยกประเภท การจัดชนั้ การสังเขป การหาขอ้ สรปุ เก่ียวกบั ลักษณะตา่ งๆของ ข้อมูลการพิจารณาหาว่าขอ้ มูลที่เก็บรวบรวมมาได้มคี วามสัมพนั ธก์ ับข้อมูลอืน่ หรอื ไมอ่ ย่างไรตลอดจนอาจทา การพยากรณเ์ หตกุ ารณ์ในอนาคตจากขอ้ มูลทเี่ ก็บ รวบรวมไดก้ ระบวนการต่างๆเหลา่ นีเ้ รยี กวา่ การวิเคราะห์ ขอ้ มูล ซง่ึ จะดาเนนิ การในรายละเอยี ดอย่างไรและเพยี งไรน้นั ขนึ้ อยูก่ ับลักษณะของขอ้ มูล และเร่อื งท่ีตอ้ งการ ศกึ ษา ในบางกรณี การวิเคราะห์ขอ้ มลู ก็ทาโดยใช้กราฟ ดังนั้นเม่อื พิจารณาให้ดจี ะเหน็ ว่าบางขนั้ ตอนของการวิเคราะหข์ ้อมลู เชน่ การจัดชนั้ หรอื แยกประเภท ของขอ้ มูล จะต้องเตรียมวางแผนพร้อมกันไปกบั การเก็บรวบรวมและการนาเสนอขอ้ มูล เมื่อข้อมูลไดร้ บั การ วิเคราะหแ์ ลว้ ข้ันสุดทา้ ยของการดาเนินการทางสถิตกิ ค็ ือ การตีความหมายข้อมูลเหลา่ นัน้ การตีความหมายก็ คือ การพิจารณาหาว่าอะไรคอื ขอ้ สรปุ ที่ไดจ้ ากการวเิ คราะห์ ตวั เลขท่ไี ด้จากการวิเคราะห์ช่วยสนบั สนนุ หรอื ปฏิเสธสมมุติฐานที่ตั้งไวเ้ ก่ียวกับเร่อื งนนั้ ๆและตวั เลขที่ไดจ้ ากการวเิ คราะหบ์ อกอะไรบางอย่างใหมๆ่ แก่เรา บ้าง การตีความหมายข้อมูลเป็นเรือ่ งทที่ าไดไ้ ม่งา่ ยนกั เน่ืองด้วยความรูแ้ ละเอกสารเกย่ี วกบั เรื่องที่ เก่ยี วขอ้ งมักมีจากัด ดังนัน้ การตคี วามหมายข้อมูล จึงไม่ควรสรปุ ลงไปอย่างแนน่ อนตายตวั ว่าตอ้ งเปน็ อยา่ งนั้น อย่างนีน้ อกจากนั้นเหตผุ ลอกี ประการหน่ึงที่สนบั สนุนการกระทาดงั กล่าวนี้ กค็ อื ตวั ขอ้ มลู เองได้เคยกล่าวไว้แลว้ ว่า ขอ้ มูลประกอบดว้ ยข้อเทจ็ และข้อจรงิ มใิ ช่ข้อจรงิ ล้วนๆ และตัวเลขทไี่ ด้จากการวิเคราะห์ก็เป็นเพียง ค่าประมาณ ดังน้ันการตีความหมายข้อมูลโดยการสรปุ อย่างแน่นอนตายตวั จึงมโี อกาสผดิ พลาดได้งา่ ยมาก อย่างไรก็ตาม การตีความหมายท่ีดี ข้นึ อย่กู บั หลกั เกณฑ์ 4 ประการ ดังต่อไปนี้ 1. มีความตงั้ ใจแนว่ แนท่ จ่ี ะคน้ หาความจริงทุกอย่างทีซ่ ่อนเร้นอยูใ่ นขอ้ มูล 2. มีความรคู้ วามเข้าใจอย่างกวา้ งขวางในเหตกุ ารณห์ รือเรือ่ งทกี่ าลังศึกษา 3. มคี วามคดิ ที่เป็นระเบยี บและมเี หตุผลในการทางาน 4. มีความสามารถในการใช้ถอ้ ยคาที่ชัดเจน ทาให้อ่านเขา้ ใจได้งา่ ย ข้นั ตอน การประเมิน วเิ คราะห์ สงั เคราะหส์ ารสนเทศ การประเมนิ สารสนเทศ เปน็ ขนั้ ตอนในการประเมนิ เพื่อคัดเลอื กสารสนเทศท่ีเราได้จากการสืบคน้ ทม่ี คี ุณคา่ มีความนา่ เช่อื ถือ ในทางวิชาการ เป็นการพิจารณาคดั เลอื กจากแหล่งสารสนเทศต่างๆ ทัง้ จากห้องสมุด อินเทอรเ์ น็ต เปน็ ตน้ สารสนเทศทีไ่ มใ่ ช้ เช่น เป็นสารสนเทศทไี่ ม่ตรงกบั ความตอ้ งการ, เนอื้ หาสารสนเทศล้าสมัย หรอื สารสนเทศ นั้นไม่มีความนา่ เชอื่ ถือในทางวชิ าการ จากการประเมินสารสนเทศจะทาห้เราได้สารสนเทศท่มี คี ุณค่าและนา สารสนเทศไป ประยุกต์ใชอ้ ย่างเหมาะสม

59 หลกั การประเมนิ สารสนเทศ 1.ประเมนิ ความตรงกับความตอ้ งการสารสนเทศ พิจารณาวา่ เปน็ เรอ่ื งทตี่ รงกบั ความต้องการสารสนเทศของเราหรอื ไม่ ตรงมากน้อยเพียงใด โดยเลอื ก เร่ืองท่ตี รงกับความตอ้ งการ ตัดทงิ้ เรอ่ื งที่ไมต่ รงกบั ความต้องการ วธิ กี าร คอื การอา่ นเบ้อื งต้น ได้แก่ การอา่ นชอ่ื เรื่อง คานา หนา้ สารบัญ หรือเนือ้ เรอื่ งย่อๆ เพื่อพิจารณาวา่ มีความสอดคล้องกับ ความต้องการสารสนเทศหรือไม่ ซึ่งสว่ นใหญ่ ชื่อเรื่องของสารสนเทศก็อาจจะสามารถประเมินได้ทนั ทวี ่า ตรง หรือไม่ตรง เนอ่ื งจาก คาสาคัญเป็นคาเดยี วกนั กบั ความต้องการสารสนเทศและช่อื เรอื่ งของสารสนเทศ แตห่ าก ชอื่ เรือ่ งไมบ่ ง่ ชดั วา่ มเี นอ้ื หาที่เกย่ี วขอ้ งกนั อาจต้องพจิ ารณาจาก คานา สารบัญ และเนอ้ื หาโดยยอ่ 2. ประเมินความนา่ เช่อื ถอื และความทันสมัยของสารสนเทศ พจิ ารณาวา่ เปน็ สารสนเทศทมี่ ีความน่าเชือ่ ถือหรอื ไม่ น่าเชอ่ื ถือเพยี งไร ซ่ึงการประเมินความนา่ เชอื่ ถือ มีรายละเอยี ดที่ควรพจิ ารณา ได้แก่ 2.1 ประเมินความน่าเช่ือถือของแหล่งสารสนเทศโดยพิจารณาว่าสารสนเทศนั้นได้ มาจากแหล่ง สารสนเทศใด โดยส่วนใหญ่ แหล่งสารสนเทศท่ีน่าเชื่อถือนั้นจะเป็นแหล่งสารสนเทศสถาบัน เช่น ห้องสมุด เนื่องจากสารสนเทศที่อยู่ในห้องสมุดได้ผ่านกระบวนการกลั่นกรองเน้ือหาจาก บรรณารักษ์และผู้ที่เกี่ยวข้อง ส่วนแหล่งสารสนเทศอินเทอร์เน็ต จะมีความน่าเชื่อถือน้อยกว่าหรือไม่มีความน่าเชื่อเลย คือ การรับรู้ สารสนเทศจากอินเทอร์เน็ตน้ันเราต้องใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง เนื้อหาเองว่าเน้ือหาจากเว็บไซต์ใดท่ี น่าเชอ่ื ถอื 2.2 ประเมินความน่าเช่ือถือของ ทรัพยากรสารสนเทศ โดย พิจารณาว่า ทรัพยากรสารสนเทศหรือ สารสนเทศนั้นๆ เป็นรูปแบบใด ส่ือสิ่งพิมพ์ ส่ือไม่ตีพิมพ์ หรือส่ืออิเล็กทรอนิกส์ หากเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ เป็น สิ่งพิมพ์ประเภทใด หนังสอื ทวั่ ไป หนังสอื อ้างองิ วารสาร นติ ยสาร เปน็ ตน้

60 2.3 ประเมินความนา่ เชื่อถอื ของ ผู้เขียน ผู้จดั ทา สานกั พมิ พ์ โดยพจิ ารณาว่า ผเู้ ขียนมีคณุ วฒุ ิ ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ ตรงหรือสอดคล้องกับเร่ืองที่เขียนหรือไม่ รวม ทั้งความน่าเชื่อถือผู้จัดทา สานักพิมพ์ท่ีมีประสบการณ์ในเนื้อหาเฉพาะด้าน มักจะมีความน่าเชื่อถือในแวดวงวิชาการน้ันๆ หน่วยงาน ผู้รับผิดชอบเป็นภาครัฐบาล องค์กร สมาคม มักจะมีความน่าเช่ือถือมากกวา่ หนว่ ยงานภาคเอกชนหรือบุคคล ตัวอย่าง เช่น กรณีท่ีเป็นบท ความวิชาการ ให้พิจารณาว่า ตีพิมพ์ในวารสารท่ีมีช่ือวารสารท่ีเก่ียวข้องกับ เนอื้ หาวชิ านน้ั ๆ มีชอื่ เสยี งในทางวชิ าการ เปน็ ทีร่ จู้ กั อย่างแพร่หลายหรอื ไม่ ผู้เขียน/ผจู้ ัดทา/สานกั พิมพ์มีความ น่าเช่ือถอื หรอื ไม่ และต้องมีความต่อเนอื่ งในการเผยแพร่ 2.4 ประเมินความทันสมยั ของสารสนเทศ โดยหากเปน็ สื่อสิ่งพมิ พ์พิจารณาความทนั สมยั จาก วัน เดอื น ปี ที่พมิ พ์ หากเป็นสื่ออิเล็กทรอนกิ ส์ พิจารณาจาก วนั เดอื น ปีทีเ่ ผยแพร่ เป็นตน้ 3. ประเมนิ ระดับเน้ือหาของสารสนเทศ ซงึ่ ระดับเน้ือหาสารสนเทศมี 3 ระดบั ได้แก่ 3.1 สารสนเทศปฐมภมู ิ (Primary Information) มีความนา่ เชอ่ื ถอื มากที่สุด เนอ่ื งจากเปน็ สารสนเทศทไ่ี ดจ้ ากการศึกษาคน้ คว้าโดยตรงของผู้เขยี นและตีพิมพ์ เผยแพร่เปน็ คร้งั แรก เช่น ต้นฉบับตวั เขียน จดหมายสว่ นตัว รายงานการวจิ ัย วิทยานิพนธ์ สง่ิ พมิ พ์รัฐบาล สารสนเทศประเภทนถี้ อื วา่ มคี วามนา่ เชื่อถอื ควร นามาอา้ งอิงมากทส่ี ดุ เพราะเป็นขอ้ มูลจรงิ ทไ่ี ด้จากผเู้ ขียน และยงั ไม่ได้ผา่ นการเรียบเรียงหรอื ปรับแตง่ ใหม่จาก บุคคลอนื่ 3.2 สารสนเทศทตุ ิยภมู ิ (Secondary Information) เปน็ การนาสารสนเทศปฐมภมู มิ าเขียนใหม่ อธบิ าย เรียบเรยี ง วิจารณ์ใหม่ให้เข้าใจง่ายเพ่ือใหเ้ หมาะกับผู้ใช้สารสนเทศ หรือเปน็ เครอ่ื งมอื ชว่ ยคน้ หรอื ติดตามสารสนเทศปฐมภมู ิ เช่น หนงั สือ บทความวารสาร บทคัดยอ่ งานวิจัย บทวิจารณห์ นังสือ เป็นตน้ 3.3 สารสนเทศตตยิ ภูมิ (Tertiary Information) เป็นการช้แี นะแหล่งสารสนเทศ 2 ระดับ แรก ที่ ไม่ได้ให้เนื้อหาสารสนเทศโดยตรงแต่เป็นการชี้แนะแหล่งสารสนเทศปฐมภูมิและ ทุติยภูมิ เช่น บรรณานุกรม ดรรชนีวารสารและวารสารสาระสงั เขป การตรวจสอบแหลง่ ท่มี าของข้อมูลเบอ้ื งตน้ เพ่อื เปน็ การตรวจสอบความน่าเชอ่ื ของแหล่งข้อมูลสารสนเทศท่ีสบื ค้นมาได้ผู้สืบคน้ สามารถประเมิน ความน่าเชอ่ื ถอื ของแหล่งขอ้ มลู ได้ ดงั น้ี 1. บอกวัตถุประสงค์ในการสร้างหรอื เผยแพร่ขอ้ มลู ไวใ้ นเว็บไซต์ 2. การเสนอเนอ้ื หาตรงตามวตั ถุประสงคใ์ นการสร้างหรือเผยแพร่ข้อมูลของเวบ็ ไซต์ 3. เนือ้ หาเวบ็ ไซต์ไมข่ ัดต่อกฎหมาย ศีลธรรม และจรยิ ธรรม 4. มีการระบุช่ือผเู้ ขยี นบทความหรอื ผใู้ หข้ อ้ มูลบนเว็บไซต์ 5. มกี ารให้ทอ่ี ยู่ (E-mail address) ท่ีผอู้ ่านสามารถติดต่อผู้ดแู ลเว็บไซต์ได้ 6. มกี ารอา้ งองิ หรือระบุแหลง่ ทมี่ าของขอ้ มูลของเนื้อหาทป่ี รากฏบนเว็บไซต์ 7. สามารถเชอ่ื มโยง (Link)ไปเว็บไซตอ์ นื่ ท่ีอ้างถงึ ได้ 8. มกี ารระบวุ นั เวลา ในการเผยแพรข่ ้อมูลบนเวบ็ ไซต์ 9. มกี ารระบุวนั เวลา ในการปรับปรุงขอ้ มลู ครั้งล่าสดุ 10. มีช่องทางให้ผู้อ่านแสดงความคิดเหน็ 11. มขี อ้ ความเตอื นผอู้ า่ นให้ใชว้ ิจารณญาณในการตัดสนิ ใจใช้ข้อมลู ท่ปี รากฏบนเว็บไซต์ 12. มีการระบุวา่ เปน็ เว็บไซต์สว่ นตวั หรอื ระบแุ หล่งท่ีใหก้ ารสนับสนนุ ในการสร้างเว็บไซต์

61 แหลง่ ข้อมูลท่เี ชื่อถอื ได้ เม่อื เราต้องการข้อมูลเพ่อื นามาใชป้ ระโยชนใ์ นงานดา้ นตา่ งๆ เราสามารถคน้ หาข้อมูลไดจ้ าก แหลง่ ขอ้ มูลรอบตัวทมี่ อี ยมู่ ากมาย และควรเลือกคน้ หาจากแหล่งขอ้ มลู ท่ีเชื่อถือได้ ซ่งึ มีลักษณะเป็นแหล่งท่มี ี การรวบรวมขอ้ มลู อยา่ งมหี ลักเกณฑ์ มเี หตุผล และมกี ารอา้ งอิง จงึ ใหข้ ้อมูลที่ถกู ต้อง ตรงตามความเปน็ จริง ตวั อยา่ งแหลง่ ขอ้ มลู ที่เช่ือถือได้ มดี งั นี้ 1. เจ้าของข้อมูล เป็นผู้ทม่ี ีประสบการณต์ รงเกี่ยวกบั ข้อมลู นน้ั ๆสามารถใหข้ อ้ มูลไดถ้ ูกตอ้ งตรงความ เป็นจริงมากกว่าบุคคลอื่นทร่ี บั ฟังขอ้ มูลมาเล่าต่อ ซง่ึ อาจจดจามาผดิ และอาจเสรมิ เติมแตง่ ทาให้ข้อมลู ผิด เพ้ยื นไปได้ ตวั อย่าง : เจ้าของขอ้ มูล เช่น คุณตาเลา่ ประวัตขิ องครอบครวั 2. หนว่ ยงานหรอื ผมู้ ีความรคู้ วามเชยี่ วชาญเฉพาะดา้ น เป็นหน่วยงาน บคุ คลทีท่ างานหรอื ศกึ ษา คน้ คว้าในดา้ นใดดา้ นหนึง่ ทาให้มคี วามรจู้ ากประสบการณ์ในการทางานหรือการศึกษาคน้ คว้าอย่าง จรงิ จงั ลกึ ซึ้ง จึงมขี อ้ มลู ท่ีถูกตอ้ งตรงความเปน็ จริง ตัวอย่าง : หน่วยงานหรอื ผมู้ คี วามรู้ความเชยี่ วชาญเฉพาะดา้ น เช่น องค์การนาซา่ ให้ขอ้ มูลเกีย่ วกบั วง โคจรของดาวหาง แพทย์ใหข้ อ้ มูลเกี่ยวกบั การรักษาโรค เจ้าของฟารม์ สนุ ัขหรอื สัตวแพทยเ์ ขียนหนังสือให้ ขอ้ มลู การเลย้ี งสนุ ขั ท่ถี ูกวิธี

62 3. หนว่ ยงานของรฐั เปน็ หน่วยงานทม่ี ขี ้อมูลซ่ึงมผี ลตอ่ ความเปน็ อยู่ของประชาชนและการพฒั นา ประเทศ เนอื่ งจากข้อมูลจากหน่วยงานของรัฐจะถูกนาไปใช้ในการกาหนดนโยบาย วางแผน ลงมือ ปฏิบัตงิ าน และใช้อา้ งอิง จึงเป็นข้อมลู สาคญั ทต่ี ้องมีการรวบรวม เก็บรักษา หรือสรา้ งข้อมูลข้ึนอย่าง รอบคอบและระมัดระวัง เพอื่ ให้ได้ขอ้ มลู ทีถ่ ูกตอ้ งตรงความเป็นจรงิ เสมอ ตวั อยา่ ง : แหล่งข้อมลู จากหนว่ ยงานของรฐั เช่น กระทรวงศกึ ษาธิการใหข้ ้อมูลทอ่ี ย่ขู องโรงเรียนท่ัวประเทศ ผ่านทางเวบ็ ไซต์ เว็บไซตอ์ าจไมน่ ่าเชื่อถือ ถา้ มีลักษณะดังน้ี • ไซต์สง่ มาถงึ คุณผ่านขอ้ ความอีเมลจากบคุ คลท่ีคณุ ไม่รู้จกั • ไซต์นัน้ นาเสนอเน้ือหาทเี่ ป็นท่ีนา่ รังเกยี จ เชน่ รูปภาพลามกอนาจารหรือเนอ้ื หาที่ผดิ กฎหมาย • ไซต์นนั้ ใหข้ อ้ เสนอทด่ี เู หมือนจะดีเกินจรงิ บง่ ชี้ได้ว่าอาจเป็นกลอบุ าย หรือการขายสินคา้ ที่ละเมิด ลขิ สิทธิห์ รือผิดกฎหมาย • คุณถกู ล่อลวงให้ไปยังไซตต์ ามแผนการโฆษณาแบบออ่ ยเหยื่อ โดยท่ีผลติ ภัณฑ์หรอื บริการไมไ่ ด้ เป็นไปตามท่คี ุณตอ้ งการ • คณุ ถูกขอขอ้ มลู บัตรเครดิตเพือ่ ตรวจสอบข้อมลู ประจาตัวของคณุ หรอื ข้อมูลส่วนบคุ คลที่ดู เหมือนว่าไมจ่ าเปน็ ตอ้ งถาม • คณุ ถกู ขอให้แจง้ หมายเลขบตั รเครดิตโดยไมม่ หี ลักฐานท่ีแสดงได้ว่าการทาธรุ กรรมน้นั ปลอดภัย


pim

Share
Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook