Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore so-2015-07-22-ผสาน

so-2015-07-22-ผสาน

Published by pim, 2020-12-16 05:16:54

Description: so-2015-07-22-ผสาน

Search

Read the Text Version

๑ ศาสนาสาํ คัญของโลก ความรู้ท่ัวไปเก่ียวกับศาสนา ศาสนาคืออะไร ศาสนา ตรงกบั คําภาษาองั กฤษวา่ “religion” มาจากภาษาลาติน “religio” ซง่ึ แปลวา่ “ผูกพัน” หรือ “สัมพนั ธ์” หมายถงึ ความผกู พนั ระหวา่ งมนษุ ย์กบั พระเจ้า ซง่ึ แสดงออกโดยการมอบ ศรัทธาตอ่ พระเจ้าด้วยความเคารพยําเกรง เชน่ - เชื่อวา่ พระเจ้าสร้างโลกและสรรพสงิ่ - เชื่อวา่ พระเจ้ากําหนดคําสอนด้านศีลธรรมและกฎหมาย - เชื่อคําสอนของพระเจ้าโดยไมต่ ้องพสิ จู น์ - อทุ ิศตนให้แก่พระเจ้า สําหรับคําวา่ “ศาสนา” ในภาษาไทย มาจากคําศพั ท์เดิมในภาษาสนั สกฤตวา่ “ศาสน” และ ตรงกบั คําในภาษาบาลีวา่ “สาสน” แปลวา่ ”คาํ ส่ังสอน” หรือ “การปกครอง” ซงึ่ หมายถงึ - “คาํ ส่ัง” อนั เป็นข้อห้ามมใิ ห้ทําชวั่ ที่เรียกวา่ “ศีล” หรือ “วินัย” และ “คาํ สอน” อนั เป็นคําแนะนําให้ทําความดี ท่ีเรียกวา่ “ธรรม” เม่ือรวมเข้าด้วยกนั ก็หมายถงึ “ศีลธรรม” นนั่ เอง - “การปกครอง” หมายถึง การปกครองจิตใจของตนเอง การควบคมุ ดแู ลกลา่ ว ตกั เตือนตนเองให้ทําในสงิ่ ท่ีถกู ต้องดีงามอยเู่ สมอนน่ั เอง ตามพจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕ ได้ให้คาํ นิยามของคําวา่ ศาสนาไว้วา่ “ลทั ธิความเชือ่ ถือของมนษุ ย์อนั มีหลกั คือ การแสดงกําเนิดและความสิ้นสดุ ของโลก เป็นตน้ อนั เป็นไป ในฝ่ ายปรมตั ถ์ประการหนึ่ง แสดงหลกั ธรรมเกีย่ วกบั บญุ บาปอนั เป็นไปฝ่ ายศีลธรรมประการหน่ึง พร้อม ทงั้ ลทั ธิพิธีทีก่ ระทําตามความเห็นหรือตามคําสง่ั สอนในความเชือ่ ถือนน้ั ๆ” ซงึ่ ก็หมายถงึ ว่า ศาสนาเป็น ลทั ธิความเช่ือของมนษุ ย์ ที่แสดงกําเนิดและสิน้ สดุ ของโลก แสดงหลกั ธรรมเก่ียวกบั บญุ บาป และมี พธิ ีกรรม นน่ั เอง ศาสนาเกิดขนึ้ ได้อย่างไร ศาสนาเกิดขนึ ้ จากมลู เหตสุ ําคญั ดงั นี ้ ๑) เกิดจากความไมร่ ู้ เชน่ ไมร่ ู้วา่ ปรากฎการณ์ธรรมชาตติ ่างๆ เกิดขนึ ้ ได้อยา่ งไร

๒ ๒) เกิดจากความกลวั อนั เป็นผลสบื เนื่องมาจากความไมร่ ู้นนั่ เอง ๓) เกิดจากความต้องการท่ีพงึ่ ทางใจ ในยามท่ีเศร้าโศกเสยี ใจ หรือหวาดกลวั มนษุ ย์ยอ่ ม ต้องการที่พงึ่ ทางใจ ๔) เกิดจากอทิ ธิพลของบคุ คลสําคญั เชน่ บคุ คลที่เคยทําคณุ ประโยชน์ใหญ่หลวงให้กบั ท้องถิ่น ๕) เกิดจากปัญญาต้องการรู้แจ้งเหน็ จริง ต้องการหาคําตอบให้แก่ชีวิต ต้องแสวงหาทางหลดุ พ้น จากท่ีกลา่ วมาข้างต้น จะเห็นได้วา่ ศาสนาเกิดขนึ ้ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนษุ ย์นนั่ เอง องค์ประกอบของศาสนา องค์ประกอบของศาสนามีดงั นี ้ ๑) ศาสดา เป็ นผ้กู ่อตงั ้ หรือผ้ปู ระกาศศาสนา ต้องมตี วั ตนอยจู่ ริงตามประวตั ิศาสตร์ ๒) หลกั ธรรม อนั เป็นคําสอนในด้านศลี ธรรม ซง่ึ ตอ่ มาได้มีการรวบจารึกเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร เรียกวา่ “คมั ภีร์ทางศาสนา” ๓) นกั บวช เป็นสาวกผ้ปู ฏบิ ตั ศิ าสนกิจและสบื ตอ่ หลกั คําสอน ๔) ปชู นียสถาน และ ปชู นียวตั ถุ สถานที่หรือวตั ถอุ นั เป็นท่ีเคารพบชู า ๕) พธิ ีกรรม การประกอบพธิ ีตา่ งๆ ตามแนวปฏบิ ตั ิของศาสนา ศาสนากับลัทธิต่างกันอย่างไร คําวา่ “ลทั ธิ” หมายถงึ คตคิ วามเช่ือ ความคิดเห็น ซง่ึ มีข้อแตกตา่ งระหวา่ ง “ศาสนา” และ “ลทั ธิ” ในประเด็นตา่ งๆ ตอ่ ไปนี ้  ในแง่ของเขต ศาสนา เกิดขนึ ้ เพ่ือประโยชน์สขุ ของคนทวั่ ไป เกี่ยวข้องกบั มนษุ ย์ทว่ั โลก มีศาสดาผ้นู ํา สจั ธรรมหรือนําคําสง่ั สอนของพระเจ้ามาบอกชาวโลก ลัทธิ เกิดขนึ ้ เพ่ือประโยชน์สขุ ของบคุ คลเฉพาะกลมุ่ เจ้าลทั ธิประกาศเพียงหลกั การของ ตนเองซงึ่ เป็นทศั นะสว่ นตวั  ในแง่คาํ สอน ศาสนา มีคําสอนเก่ียวกบั ศีลธรรมเป็นหลกั มีคําสอนเกี่ยวกบั จดุ หมายสงู สดุ ของชีวติ ทงั ้ ในโลกนีแ้ ละโลกหน้า ทงั ้ ท่ีเป็นรูปธรรมและนามธรรม คําสอนมีลกั ษณะศกั ด์ิ เป็นที่สกั การะบชู าของศาสนิกชน ลัทธิ ไมม่ ีหลกั การท่ีจะต้องมีคําสอนเกี่ยวกบั ศีลธรรมโดยตรง อาจมีแตค่ ําสง่ั ไมม่ คี ํา สอนทางศีลธรรมเลยก็ได้ เน้นจดุ ม่งุ หมายสงู สดุ ของชีวติ ในปัจจบุ นั และอนาคต อนั เป็นรูปธรรม คําสอนไมม่ ีลกั ษณะศกั ด์ิสิทธิ์ เป็นเพียงความเห็นท่ีสอดคล้อง กนั ระหวา่ งเจ้าลทั ธิกบั ผ้นู บั ถือ

๓  ในแง่การสืบต่อ ศาสนา มีสถาบนั และคมั ภีร์สืบตอ่ คําสอน โดยไมส่ ามารถเปลีย่ นแปลงสิ่งใดในคมั ภีร์ได้ มีพิธีกรรมที่เก่ียวข้องกบั ศาสนา ลัทธิ มคี มั ภีร์ไว้เป็นหลกั การ และมสี ถาบนั ไว้ปฏิบตั ิให้บรรลหุ ลกั การ ซง่ึ อาจ เปลย่ี นแปลงแก้ไขได้ และไมจ่ ําเป็ นต้องมีพิธีการเสมอไป ประเภทของศาสนา สามารถจดั ประเภทของศาสนาได้หลายรูปแบบ ดงั นี ้ ๑) จดั ตามแหล่งผู้นับถอื ศาสนาประจําชาติ เช่น ชนิ โต ฮินดู ซิกข์ ศาสนาสากล เชน่ พทุ ธ คริสต์ อสิ ลาม ๒) จดั ตามการมผี ู้นับถือในปัจจุบัน ศาสนาที่ตายไปแล้ว เช่น ศาสนาของชาวอียิปต์โบราณ ศาสนาของกรีกโบราณ ศาสนาที่ยงั มชี ีวิตอยู่ เชน่ พทุ ธ คริสต์ อิสลาม ฮินดู ๓) จดั ตามความเช่ือเก่ียวกับพระเจ้า ศาสนาอเทวนยิ ม เชน่ ศาสนาพทุ ธ ศาสนาเทวนิยม แบง่ เป็น เอกเทวนิยม เชน่ คริสต์ อสิ ลาม พหเุ ทวนิยม เช่น ฮินดู ความสาํ คญั ของศาสนา เช่น - สร้างระเบียบความประพฤติของสมาชิกในสงั คมให้เป็นไปในแนวเดียวกนั - เป็นท่ีพง่ึ ที่ยดึ เหน่ียวจิตใจ - ยกระดบั จติ ใจคนให้สงู ขนึ ้ - เป็นแหลง่ กําเนิดจริยธรรม ทําให้คนในสงั คมประพฤติในแนวทางที่ถกู ต้อง - เป็นแหลง่ กําเนิดศลิ ปะและวฒั นธรรม ประโยชน์ของศาสนา เชน่ - สอนให้มนษุ ย์เป็นอิสระจากการครอบงําของกิเลส - สอนให้มนษุ ย์ปกครองตนเองได้ สามารถควบคมุ ตนเองไมใ่ ห้ทําชวั่ ทงั ้ ในที่ลบั และท่ีแจ้ง - ช่วยให้มนษุ ย์อย่รู ่วมกนั ในสงั คมอยา่ งสงบสขุ - สง่ เสริมและสร้างสรรค์ให้เกิดผลงานที่มคี ณุ คา่ ทางศลิ ปะและวฒั นธรรม

๔ ศาสนาพราหมณ์ – ฮนิ ดู ศาสนาพรามหณ์ – ฮินดเู กิดขนึ ้ ในอนิ เดีย มีอายเุ ก่าแกก่ วา่ พระพทุ ธศาสนาประมาณ ๙๐๐ ถงึ ๑,๐๐๐ ปี จงึ จดั เป็ นศาสนาที่เกา่ แกก่ วา่ บรรดาศาสนาทงั้ หลายท่ีมีผ้นู บั ถืออยใู่ นปัจจบุ นั มีลกั ษณะเป็น ศาสนาพหเุ ทวนิยม ศาสดา ตามหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ไม่ปรากฎวา่ ศาสนาพราหมณ์มีศาสดาผ้กู อ่ ตงั้ หรือเผยแผ่คําสอน ผ้นู บั ถือศาสนาพราหมณ์เช่ือวา่ ศาสนาของตนสืบเนื่องมาจากพระผ้เู ป็ นเจ้า คือ พระพรหม ถ้ามองในแงป่ ระวตั ศิ าสตร์ ศาสนาพราหมณ์ถือกําเนิดขนึ ้ เม่ือพวกอารยนั อพยพเข้ามาตงั ้ ถน่ิ ฐาน และมีอํานาจบริเวณลมุ่ แมน่ ํา้ สนิ ธุ และนําความเชื่อเร่ืองการนบั ถือสรุ ิยเทพและเทพเจ้าประจําธรรมชาติ ของตนเข้ามาผสมผสานกบั การนบั ถือและบชู าวิญญาณประจําโลกธาตทุ งั ้ ๔ (ดนิ นํา้ ลม ไฟ) ของชาว พืน้ เมือง (มลิ กั ขะ) ด้วยเหตนุ ีศ้ าสนาพราหมณ์จงึ กําเนิดขนึ ้ ในลกั ษณะของศาสนาพหเุ ทวนิยม เทพเจ้า ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู นบั ถือเทพเจ้ามากมาย โดยมีความคิดวา่ เทพเจ้ามีความรู้สกึ รัก โกรธ เกลียด ชงั เหมือนกบั มนษุ ย์ และอาจบนั ดาลประโยชน์หรือหายนะแกม่ นษุ ย์ได้ ทําให้มนษุ ย์รู้สกึ กลวั และหาทางเอาใจเทพเจ้า กอ่ ให้เกิดการสวดสรรเสริญเยนิ ยอเทพเจ้า การบชู ายญั เพ่ือสงั เวยเทพเจ้า เทพเจ้าองค์สําคญั มี ๓ องค์ ท่ีเรียกรวมกนั วา่ “ตรีมูรต”ิ คือ พระพรหม เทพเจ้าผ้สู ร้างโลก พระวษิ ณุ เทพเจ้าผ้พู ทิ กั ษ์ค้มุ ครองโลก พระศิวะ เทพเจ้าผ้ทู ําลายโลก (ทําลายเพ่ือกวาดล้างความชวั่ และให้อาตมนั ได้ พกั ผอ่ นจากการเวียนวา่ ยตายเกิด) ระบบวรรณะ ผ้นู บั ถือศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู เชื่อวา่ วรรณะตา่ งๆ เกิดจากพระผ้เู ป็นกําหนด คนในสงั คมจงึ ต้องปฏิบตั ิตาม แตถ่ ้าพจิ ารณาจากคําศพั ท์และประวตั ศิ าสตร์ จะพบวา่ คําวา่ “วรรณะ” แปลวา่ “สี” หมายถงึ สผี ิวกายของบคุ คลท่ีตงั้ ถิ่นฐานอยใู่ นลมุ่ แมน่ ํา้ ตอนเหนือของอินเดีย ซงึ่ แบง่ เป็น ๒ กลมุ่ คือ พวกอารยนั และพวกมลิ กั ขะ / ฑราวฑิ จงึ มีการแบง่ วรรณะตามสีผวิ ในคมั ภีร์พระเวทแบง่ คนในสงั คมออกเป็น ๔ วรรณะ ได้แก่ ๑) วรรณะพราหมณ์ เกิดจากปากของพระพรหม ทําหน้าที่ศกึ ษาคมั ภีร์พระเวทและประกอบพธิ ี ทางศาสนา

๕ ๒) วรรณะกษัตริย์ เกิดจากแขนของพระพรหม ทําหน้าท่ีปกครองและปกป้ องบ้านเมือง ๓) วรรณะแพศย์ เกดิ จากสว่ นขาของพระพรหม เป็นบคุ คลสว่ นใหญ่ของสงั คม มีอาชีพค้าขาย และอาชีพอ่ืนๆ เชน่ เกษตรกรรม สถาปัตยกรรม หตั ถกรรม ฯลฯ ๔) วรรณะศทู ร เกดิ จากเท้าของพระพรหม มีหน้าที่ใช้แรงกายรับจ้างทํางานให้คนในวรรณะอ่ืน คัมภรี ์ทางศาสนา หลงั จากท่ีศาสนาพราหมณ์เกดิ ขนึ ้ เม่ือเวลาผา่ นไปเทพเจ้าตา่ งๆ ก็มีมากขนึ ้ บทสวดสรรเสริญ บชู าและบทสวดในพิธีกรรมก็มากขนึ ้ จงึ มกี ารรวบรวมไว้ในท่ีเดียวกนั จงึ เกิด “คมั ภีร์พระเวท” ขนึ ้ คมั ภีร์พระเวทมีทงั้ หมด ๔ คมั ภีร์ ได้แก่ ๑) ฤคเวท เป็นบทร้อยกรองสําหรับใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้าในพิธีกรรมบชู ายญั ๒) ยชรุ เวท มีทงั้ บทร้อยกรองสําหรับสวดสรรเสริญเทพเจ้า และบทร้อยแก้ววา่ ด้วยระเบียบ พิธีในการประกอบพิธีกรรมบชู ายญั ๓) สามเวท เป็นบทร้อยกรองสาํ หรับสวดในพิธีถวายนํา้ โสมแดพ่ ระอนิ ทร์ และขบั กลอ่ มเทพ เจ้าอ่ืนๆ ๔) อถรรพเวท เป็นคมั ภีร์รวบรวมคาถาอาคมเวทมนตร์ตา่ งๆ จดุ มุ่งหมายสูงสุดของศาสนา จดุ มหุ่ มายสงู สดุ ของศาสนาพราหมณ์ – ฮินดอู ยทู่ ่ี “โมกษะ” อนั เป็นการหลดุ พ้นจากความทกุ ข์ ทงั้ ปวง มีภาวะเป็นอนั หนง่ึ อนั เดียวกบั ปรมาตมนั ไมต่ ้องเวียนวา่ ยตายเกิดอีกตอ่ ไป ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู เชื่อวา่ สงิ่ ท่ีเป็นแกนกลางของชีวิตคือ “อาตมนั ” หรือ “ชีวาตมนั ” ซง่ึ เป็ นตวั ตนแท้จริงไมแ่ ตกดบั และมี “ปรมาตมนั ” เป็นตวั ตนสากล เปรียบดงั่ ดวงวญิ ญาณอนั ยงิ่ ใหญ่ เป็ นพลงั ธรรมชาติ และปรมาตมนั เป็นต้นกําเนิดของอาตมนั ทงั้ ปวง เมื่ออาตมนั แยกออกมาจาก ปรมาตมนั แล้วจะเวยี นวา่ ยตายเกิด ซง่ึ การเวียนวา่ ยตายเกิดถือวา่ เป็ นทกุ ข์ การจะพ้นจากความทกุ ข์ อาตมนั ต้องกลบั ไปรวมเป็นอนั หนึ่งอนั เดียวกบั ปรมาตมนั การไปสู่โมกษะทาํ ได้ ๓ ทาง คือ ๑) กรรมโยคะ คือ การกระทํากิจตา่ งๆ ด้วยความรู้สกึ ปลอ่ ยวาง ทําด้วยความรู้สกึ วา่ เป็น หน้าที่ อทุ ศิ ตนเองเพ่ือรับใช้พระเป็ นเจ้า และไมม่ งุ่ หวงั ผลประโยชน์สว่ นตนใดๆ จากการกระทํานนั ้ ๒) ภกั ตโิ ยคะ คือ การมีจิตใจภกั ดีต่อพระเป็นเจ้าอยา่ งไมค่ ลอนแคลน สกั การะบชู าพระองค์ อย่างไมข่ าดตกบกพร่อง มอบกายถวายชีวติ ให้อยใู่ นพระกรุณาของพระองค์ ๓) ชญานโยคะ คือ การปฏบิ ตั เิ พ่ือมงุ่ ให้เกิดความรู้แจ้งเกี่ยวกบั ธรรมชาติที่แท้จริงของชีวาตมนั และปรมาตมนั โดยขจดั ความหลงผิดและความเข้าใจผดิ ให้หมดไป

๖ ทงั้ สามประการเป็นหลกั ปฏิบตั ทิ ่ีสอดคล้องกนั แตจ่ ะเน้นหนกั ไปทางไหนแล้วแตอ่ ธั ยาศยั ของแต่ ละบคุ คล เมอื่ ปฏบิ ตั ิจนถงึ ท่ีสดุ จนเป็นที่พอใจของพระเป็ นเจ้า พระองค์ก็จะประทานความรู้แจ้งให้เกิดขนึ ้ เม่ือเกิดความรู้แจ้งกห็ ลดุ พ้น เรียกวา่ “บรรลุโมกษะ” หลกั อาศรม ๔ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ได้แบง่ ขนั ้ ตอนของชีวติ ออกเป็น ๔ ช่วง เรียกวา่ “อาศรม ๔” ได้แก่ ๑) พรหมจรรย์ เป็นวยั ศกึ ษาเลา่ เรียน ผ้ชู ายที่อยใู่ นวยั รุ่นจะต้องออกจากบ้านไปอยศู่ กึ ษา วิชาการจากอาจารย์ คอยปฏิบตั ริ ับใช้อาจารย์พร้อมทงั้ เรียนวชิ าที่เหมาะกบั วรรณะของตน ๒) คฤหสั ถ์ เป็นวยั ครองเรือนโดยการแตง่ งานและตงั้ ครอบครัว ในขนั้ นีบ้ คุ คลต้องประกอบ อาชีพเลยี ้ งครอบครัว และสะสมทรัพย์สมบตั ไิ ว้ตามความสามารถ ๓) วานปรัสถ์ เป็ นวยั ท่ีต้องแยกตวั ออกไปปฏบิ ตั ิธรรมอยใู่ นป่ า เมื่อเริ่มแกห่ รือเร่ิมมีหลาน บคุ คลควรเร่ิมต้นอาศรมท่ีสามของชีวติ โดยการออกจากครอบครัวไปปฏิบตั ิธรรมในป่ า เป็นการเตรียม ตนเพ่ือขนั้ ตอนสดุ ท้ายของชีวติ ๔) สนั ยาสี เป็ นขนั้ ตอนสดุ ท้ายของชีวติ บคุ คลจะครองเพศบรรชิตสละชีวิตทางโลกโดยสนิ ้ เชิง ใช้เวลาสว่ นใหญ่ไปในการพจิ ารณาแสวงหาความจริงเกี่ยวกบั ชีวติ พยายามควบคมุ กาย วาจา ใจ ของ ตนเองให้อยใู่ นขอบเขตของชีวิตพรหมจรรย์ มงุ่ ปฏิบตั เิ พื่อบรรลโุ มกษะ นิกายต่างๆ ของศาสนา มีนิกายที่สาํ คญั ดงั นี ้ ๑) นิกายไวษณพ นบั ถือพระวษิ ณุ / พระนารายณ์ เป็นเทพเจ้าสงู สดุ ทรงเป็นผ้สู ร้างโลกและ ทกุ สง่ิ ในโลก ๒) นิกายไศวะ นบั ถือพระศิวะ เป็ นเทพเจ้าสงู สดุ ทรงเป็นผ้สู ร้างโลกและทกุ สงิ่ ในโลก ๓) นิกายพรหม นบั ถือพระพรหม เป็นเทพเจ้าสงู สดุ ทรงเป็ นผ้สู ร้างโลกและทกุ ส่งิ ในโลก ๔) นิกายศกั ติ นบั ถือบชู าพระเทวีของพระเป็นเจ้า โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงพระอมุ าเทวซี งึ่ เป็น พระมเหสีของพระศิวะ

๗ ศาสนาพุทธ ศาสนาพทุ ธเกิดขนึ ้ ในประเทศอินเดีย เม่ือประมาณ ๒,๕๐๐ ปี มาแล้ว มีลกั ษณะเป็นศาสนา อเทวนิยม ศาสดา ศาสดาของศาสนาพทุ ธ คือ พระพทุ ธเจ้า พระองค์ประสตู ใิ นวรรณะกษัตริย์ เป็นพระโอรสของ พระเจ้าสทุ โทธนะ ผ้คู รองกรุงกบลิ พสั ด์ุ และพระนางสริ ิมหามายา เม่ือประสตู ิได้ ๕ วนั ได้จดั ให้มีพธิ ีขนานพระนาม และทํานายพระลกั ษณะ พราหมณ์ผู้ ประกอบพธิ ีสว่ นใหญ่ทํานายเป็ นสองลกั ษณะ คือ ถ้าพระโอรสดํารงอยใู่ นฆราวาสจกั ได้เป็นมหา จกั รพรรดิ ถ้าออกผนวชจกั ได้เป็ นศาสดาเอกของโลก มีเพียงพราหมณ์หนมุ่ โกณฑญั ญะเทา่ นนั้ ท่ีทํานาย เป็ นคตเิ ดียวคือ พระโอรสจะออกผนวชและได้เป็นศาสดาเอกของโลก เมื่อพระชนม์ได้ ๑๖ พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกบั พระนางยโสธราหรือพิมพา และเมื่อเจริญ พระชนมายุ ๒๙ พรรษา ทรงมีพระโอรสพระนามวา่ “ราหลุ ” เจ้าชายสทิ ธตั ถะเสด็จออกผนวชในคืนท่ีพระราหลุ ประสตู ิ ทรงแสวงหาทางดบั ทกุ ข์โดยการ ทดลองถกู ทดลองผิด โดยการศกึ ษาเลา่ เรียนในสํานกั อาจารย์ผ้มู ีชื่อเสยี ง เม่ือไมไ่ ด้ผลจงึ ทรงหนั มา บําเพญ็ ทกุ รกิริยา ซงึ่ ในระหวา่ งนนั้ ปัญจวคั คีย์ทงั้ ๕ ได้มาตดิ ตามพระองค์ หลงั จากทรงพบวา่ การบําเพญ็ ทกุ รกิริยามใิ ช่หนทางสกู่ ารพ้นทกุ ข์จงึ หนั มาเสวยภตั ตาหารและ บําเพญ็ เพียรทางจติ เป็นเหตใุ ห้เหลา่ ปัญจวคั คีย์เสอ่ื มศรัทธาและพากนั ทิง้ พระองค์ไป ในคนื ที่จะตรัสรู้พระองค์ประทบั นง่ั อยใู่ ต้ต้นโพธ์ิ ทรงตงั ้ จติ อธิษฐานวา่ “แม้เลือดเนือ้ ในกายของ เราจะเหือดแห้งไป เหลอื แตห่ นงั เอน็ และกระดกู ก็ตาม ถ้ายงั ไมบ่ รรลสุ มั มาสมั โพธิญาณจะไมเ่ ลกิ ละ ความเพียรลกุ ไปจากที่นี”้ เมื่อพระชนม์ได้ ๓๕ พรรษา พระองค์ได้ตรัสรู้พระอนตุ ตรสมั มาสมั โพธิญาณ และได้เป็น พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า ในวนั เพญ็ เดือน ๖ หลงั จากตรัสรู้แล้วพระองค์ได้เผยแพร่พระศาสนธรรมให้แพร่หลาย พระองค์ทรงประกาศ พระศาสนาอยู่ ๔๕ พรรษา ครัง้ ถงึ วนั เพ็ญเดือน ๖ เมือ่ มีพระชนมายุ ๘๐ พรรษา สมเดจ็ พระสมั มา สมั พทุ ธเจ้าได้เสดจ็ ดบั ขนั ธ์ปรินิพพาน คัมภรี ์ทางศาสนา พระคมั ภรี ์ในศาสนาพทุ ธคือ “พระไตรปิฎก” ซง่ึ แปลวา่ ตะกร้า ๓ ใบ พระไตรปิฎก ประกอบด้วย ๓ คมั ภีร์ คือ ๑) พระวินยั ปิ ฎก วา่ ด้วยเร่ืองวนิ ยั หรือศีลของพระสงฆ์

๘ ๒) พระสตุ ตนั ตปิฎก วา่ ด้วยพระธรรมเทศนาของพระพทุ ธเจ้าและพระสาวกสาํ คญั ท่ีแสดงแก่ บคุ คลต่างๆ ในเวลาและสถานที่ตา่ งๆ ๓) พระอภธิ รรมปิ ฎก วา่ ด้วยหลกั ธรรมท่ีอธิบายในด้านวชิ าการล้วนๆ ไมม่ ีเหตกุ ารณ์ บคุ คล สถานท่ี เข้ามาเก่ียวข้อง จุดมุ่งหมายสูงสุดของศาสนา จดุ มงุ่ หมายสงู สดุ ของศาสนาพทุ ธ คือ นพิ พาน เป็นภาวะท่ีดบั สนิ ้ จากกเิ ลสเครื่องเศร้าหมองทงั้ ปวง หลดุ พ้นจากการเวียนวา่ ยตายเกิดในสงั สารวฏั หลกั ธรรมสาํ คัญ ๑) ไตรลักษณ์ “ไตรลักษณ์” แปลวา่ ลกั ษณะ ๓ อยา่ ง หมายถงึ กฎธรรมชาติท่ีมีอยทู่ ว่ั ไปในสรรพสงิ่ ทงั้ ปวง เป็นส่งิ ธรรมดาที่เกิดขนึ ้ เอง เป็นไปเองตามธรรมชาติ ไมม่ ีผ้สู ร้างผ้บู นั ดาล เรียกอกี อยา่ งว่า “สามัญลักษณ์” มีอยู่ ๓ ประการ คือ อนิจจตา ความไมเ่ ที่ยงแท้ ความไมค่ งท่ี การเปลี่ยนแปลง ทกุ ขตา ความทนอยไู่ มไ่ ด้ ภาวะท่ีมีความบกพร่องในตวั พร้อมท่ีจะเปล่ียนแปลง อนตั ตตา ความไมม่ ีตวั ตน ไม่มตี วั ตนท่ีแท้จริง ทกุ สิ่งเกิดขนึ ้ ตงั ้ อยู่ และดบั ไป หลกั ธรรมเร่ืองไตรลกั ษณ์สอนให้เรารู้เทา่ ทนั ธรรมชาติของสรรพสง่ิ ที่ไมส่ ามารถคงอยู่ เชน่ เดิมได้ ต้องมีการเปล่ียนแปลงอยเู่ สมอ เพ่อื จะได้ไมย่ ดึ มน่ั ถือมนั่ ให้เกิดทกุ ข์ ๒) ขนั ธ์ ๕ “ขนั ธ์ ๕ “ หรือ “เบญจขันธ์” เป็นองค์ประกอบของชีวติ ๕ ประการ ประกอบด้วย รูป ส่วนท่ีเป็นร่างกาย รวมถงึ พฤติกรรมทงั ้ หมดของร่างกาย เวทนา ความรู้สกึ ท่ีเกิดขนึ ้ ต่อสงิ่ ท่ีรับรู้ มี ๓ อยา่ ง คือ สขุ เวทนา ทกุ ขเวทนา และอเุ บกขาเวทนา สญั ญา การกําหนดหมายรู้สง่ิ ใดส่ิงหนงึ่ แยกแยะได้วา่ อะไรเป็นอะไร สงั ขาร สง่ิ ที่ปรุงแตง่ จิต แรงจงู ใจแรงผลกั ดนั ให้เกิดการกระทําอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ วิญญาณ การรับรู้ผ่านประสาทสมั ผสั ตา หู จมกู ลนิ ้ กาย ใจ ประกอบด้วย จกั ขวุ ิญญาณ โสตวญิ ญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวญิ ญาณ มโนวญิ ญาณ

๙ ๓) อริยสัจ ๔ “อริยสัจ ๔” แปลวา่ ความจริงอนั ประเสริฐ ๔ ประการ อนั เป็นขนั้ ตอนปฏิบตั ิเพ่ือ ความดบั ทกุ ข์หรือแก้ปัญหา ได้แก่ ทกุ ข์ คือ ปัญหาหรือความทกุ ข์ สมทุ ยั คือ สาเหตแุ หง่ ทกุ ข์ นิโรธ คือ ความดบั ทกุ ข์ มรรค คือ ทางแหง่ ความดบั ทกุ ข์ มี ๘ ประการ คือ สมั มาทิฐิ สมั มาสงั กปั ปะ สมั มาวาจา สมั มากมั มนั ตะ สมั มาอาชีวะ สมั มาวายามะ สมั มาสติ สมั มาสมาธิ นิกายสาํ คัญของศาสนา กอ่ นท่ีสมเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าจะเสด็จดบั ขนั ธ์ปรินิพพาน พระองค์ได้ประทานพระโอวาทแก่ พระสาวก ข้อหนง่ึ ในโอวาททงั้ หลายนนั้ มีวา่ “อานนท์ ต่อไปภายหนา้ ถา้ สงฆ์ปรารถนาจะถอนสิกขาบท เล็กๆ นอ้ ยๆ บา้ งก็ได”้ (สกิ ขาบท หมายถงึ ข้อศีล ข้อวนิ ยั คือศีลแต่ละข้อ วินยั แต่ละข้อ เช่นศีลของ สามเณรมี ๑๐ ข้อ เรียกวา่ มี ๑๐ สกิ ขาบท ศีลของพระภิกษุมี ๒๒๗ ข้อ เรียกวา่ มี ๒๒๗ สกิ ขาบท) พทุ ธดํารัสท่ีตรัสแกพ่ ระอานนท์ครัง้ นี ้ ได้ถกู ยกมาเป็นประเดน็ ถกเถียงกนั แต่ไมส่ ามารถวินิจฉยั เดด็ ขาดไปได้วา่ สกิ ขาบทใดบ้างเป็นสิกขาบทเลก็ น้อยซง่ึ อาจเพิกถอนได้ จงึ มีความเห็นเป็นสองฝ่ าย คือ ฝ่ ายที่เห็นวา่ ควรรักษาสิกขาบทตา่ งๆ ไว้คงเดิมโดยไมเ่ ปลี่ยนแปลง อกี ฝ่ ายหนงึ่ เห็นวา่ ควรมีการเพกิ ถอน หรือปรับเปล่ียนให้เข้ากบั สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป จากเหตกุ ารณ์นีจ้ งึ มีการแบง่ นิกายขนึ ้ เป็ นครัง้ แรก ในพระพทุ ธศาสนา หลงั จากนนั ้ ก็แตกแยกยอ่ ยเป็นอีกหลายนิกาย ปัจจุบนั มีนิกายใหญ่ๆ ท่สี าํ คัญอยู่ ๒ นิกาย คือ ๑) นิกายเถรวาท เป็นนิกายดงั้ เดมิ ที่รักษาพระธรรมวนิ ยั ต่างๆ ไว้โดยไมเ่ ปล่ียนแปลง ๒) นิกายอาจาริยวาท หรือ มหายาน เป็นนิกายท่ีเกิดขนึ ้ ใหม่ โดยผสมผสานกบั หลกั คําสอน ของนิกายอ่ืนๆ แล้วสร้างเอกลกั ษณ์ที่เป็นของตนโดยเฉพาะ สําหรับนิกายมหายานนนั ้ วนิ ยั แก้ไขได้ ธรรมแก้ไขได้ ไมเ่ น้นชีวติ สงฆ์ แนวคิดเกี่ยวกบั อดุ มคติพระโพธิสตั ว์ (ภาวะโพธิสตั วเ์ ป็นสง่ิ ท่ีเกิดขนึ ้ กบั บคุ คลทว่ั ไปได้ โดยตงั้ ปณิธานของพระโพธิสัตว์ ๔ ประการ คือ ช่วยเหลือสรรพสตั ว์ให้พ้นทกุ ข์ ทําลายกเิ สลตณั หาทงั้ หลายให้หมดสนิ ้ เข้าถงึ สจั ธรรมและสอนธรรมนนั้ ให้แกผ่ ้อู น่ื นําสตั ว์ทงั้ หลายให้ เข้าสพู่ ทุ ธภาวะหมายถงึ ภาวะแหง่ ความรู้ ความตื่น ความเบกิ บาน)

๑๐ ศาสนาคริสต์ ศาสนาคริสต์ถือกําเนิดขนึ ้ ในดินแดนปาเลสไตน์ ทวีปเอเชีย แตเ่ ผยแผ่เข้าไปแพร่หลายในทวีป ยโุ รป แล้วแพร่หลายไปสทู่ วีปตา่ งๆ ทวั่ โลก ศาสนาคริสต์มีพฒั นาการมาจากศาสนายดู ายหรือศาสนายวิ มีลกั ษณะเป็นศาสนาเอกเทวนิยม โดยมีพระเจ้าสงู สดุ คือ พระยะโฮวา ศาสดา ศาสดาของศาสนาคริสต์ คอื พระเยซู ทา่ นกําเนิดท่ีเมืองเบธเลเฮม (Bethlehem) แคว้นยดู าย เมื่อ พ.ศ.๕๔๓ ในครรภ์ของหญิงพรหมจรรย์นามวา่ มาเรีย ซง่ึ ตงั ้ ครรภ์โดยพระอานภุ าพของพระเจ้า พระเยซเู ร่ิมประกาศศาสนาเมื่ออายุ ๓๐ ปี เทศนาสงั่ สอนประชาชน รักษาคนป่ วย ชาวคริสต์ เชื่อวา่ พระเยซเู ป็น พระเมสซอิ าห์ (Meshiah) หรือพระผ้ชู ว่ ยให้รอด ซงึ่ พระเจ้าสง่ ลงมาชว่ ยเหลอื ชาวยวิ ให้รอดพ้นจากการกดข่ีและภยั สงคราม เป็นผ้ทู ี่จะนําสนั ติสขุ ท่ีแท้จริงมาสชู่ าวยิว การประกาศศาสนาของพระเยซทู ําให้นกั บวชชาวยวิ ไม่พอใจ เน่ืองจาก คําสอนของพระเยซขู ดั ตอ่ คําสอนของโมเสส ความขดั แย้งเร่ืองผลประโยชน์ พระเยซปู ระกาศศาสนาในนามของพระองค์เอง และพระเยซไู มห่ ยดุ ทํางานวนั สะบาโต จงึ หาทางกําจดั พระองค์ โดยวางแผนจบั กมุ แล้วสง่ ให้ผ้สู ําเร็จ ราชการชาวโรมนั ให้สําเร็จโทษ ในข้อหาหมนิ่ ประมาทพระเจ้า อ้างตนเป็ นพระเมสซิอาห์และเป็นบตุ รของ พระเจ้า และเป็ นกบฎตงั้ ตนเป็ นกษัตริย์ของชาวยิว ท้ายที่สดุ ผ้สู ําเร็จราชการชาวโรมนั ได้รับแรงกดดนั จน ต้องตดั สินโทษประหารพระเยซโู ดยการตรึงกางเขน เม่อื พระชนมายุ ๓๓ ปี หลงั จากพระเยซสู นิ ้ พระชนม์แล้วสามวนั พระองค์ก็ได้ฟื น้ คืนชีพ และสงั่ สอนประชาชนต่อไปอีก สกั ระยะก่อนจะเสด็จสสู่ วรรค์ บรรดาสาวกของพระองค์ก็ออกเผยแผศ่ าสนายงั ดนิ แดนตา่ งๆ ในประเทศ อิสราเอง และคอ่ ยๆ ขยายไปในแถบเมดเิ ตอร์เรเนียน คัมภรี ์ทางศาสนา คมั ภีร์ของศาสนาคริสต์ คอื คัมภรี ์ไบเบลิ เป็นประมวลคําสอนซงึ่ ถือวา่ คือพระวจนะของพระเจ้า แบง่ ออกเป็น ๒ ภาค คือ - พระคัมภรี ์เก่า หรือ พนั ธสัญญาเดมิ (The Old Testament) เป็นคมั ภีร์ของศาสนายิวซง่ึ เป็ นรากฐานของพระคมั ภรี ์ใหม่ ประกอบด้วยเนือ้ หาเกี่ยวกบั เร่ือง พระเจ้าทรงสร้างโลก ประวตั ชิ นชาติยวิ บญั ญตั ิ ๑๐ ประการ และศาสดาพยากรณ์ตา่ งๆ - พระคัมภรี ์ใหม่ หรือ พนั ธสัญญาใหม่ (The New Testament) เป็นคมั ภีร์ของศาสนาคริสต์ โดยเฉพาะ เป็นเร่ืองราวเกี่ยวกบั พระเยซแู ละพระอคั รสาวกตา่ งๆ ซงึ่ เขียนโดยนกั บญุ ที่สําคญั ตา่ งๆ เชน่ มธั ธิว (Mathew) มาระโก (Mark) ลกู า (Luke) ยอห์น (John)

๑๑ ความเช่ือและหลักธรรมสาํ คัญ ความเช่ือในหลักตรีเอกานุภาพ โดยเชื่อวา่ พระบดิ า (พระเจ้า) พระบตุ ร (พระเยซ)ู และพระจติ (พระวิญญาณบริสทุ ธิ์ ของพระเจ้าที่เสด็จมาประทบั ในใจผ้เู ช่ือถือ) คือพระเจ้าองค์เดียวกนั แม้จะมีพระนามและพระฐานะต่างกนั หลักความรัก ศาสนาคริสต์เป็ นศาสนาแห่งความรัก โดยหลกั ความรักนีแ้ บง่ ออกเป็น ๒ ประการ คือ ๑) ความรักตอ่ พระเจ้า “จงรักพระองค์ผ้เู ป็นพระเจ้าของเจ้าด้วยสดุ จิต สดุ ใจของเจ้า ด้วยสดุ กําลงั ” ๒) ความรักตอ่ เพ่อื นมนษุ ย์ “ถ้าผ้ใู ดตบแก้มขวาของท่าน ก็จงหนั แก้มซ้ายให้เขาด้วย” บญั ญัตสิ บิ ประการ ๑) จงนมสั การพระเจ้าแตเ่ พียงพระองค์เดียว ๒) จงอยา่ สร้างรูปเคารพ ๓) อยา่ ออกนามพระเจ้าโดยไมส่ มเหตุ ๔) จงนบั ถือวนั สะบาโตเป็นวนั ศกั ด์ิสทิ ธ์ิ ๕) จงนบั ถือบิดามารดา ๖) อยา่ ฆา่ คน ๗) อยา่ ผิดประเวณี ๘) อยา่ ลกั ทรัพย์ ๙) อยา่ เป็นพยานเทจ็ ๑๐) อย่ามีความโลภในสงิ่ ของผ้อู ื่น ความเช่ือเร่ืองอาณาจกั รพระเจ้า อาณาจกั รพระเจ้า หมายถงึ อาณาจกั รพระเจ้าบนสรวงสวรรค์ หรืออาณาจกั รพระเจ้า บนโลกมนษุ ย์ ซงึ่ กค็ ือศาสนจกั ร ซงึ่ ทกุ คนท่ีมคี วามเชื่อจะอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ติสขุ จดุ มงุ่ หมายสงู สดุ ของศาสนาคริสต์กค็ ือ การได้อยอู่ ยา่ งเป็ นสขุ ในอาณาจกั รพระเจ้านน่ั เอง นิกายสาํ คัญของศาสนา ๑. นิกายโรมันคาทอลกิ (Roman Catholic) - ช่ือนิกายมาจากการถือเอากรุงโรมเป็นศนู ย์กลางของศาสนา และเป็ นท่ีพํานกั ของ พระสนั ตปาปา (ปัจจบุ นั อยทู่ ี่นครวาตกิ นั ซง่ึ เป็ นรัฐอสิ ระทต่ี งั้ อยใู่ นกรุงโรม) - มีพระสนั ตะปาปาเป็ นประมขุ สงู สดุ ของคริสต์ศาสนจกั ร

๑๒ - ชาวคาทอลกิ เช่ือวา่ ตนเป็นผ้สู ืบทอดคําสอนและประเพณีอ่ืนๆ ของศาสนามาแตเ่ ร่ิมแรก และพยายามปกป้ องหลกั ธรรมคําสอนและประเพณีแตด่ งั้ เดมิ อยา่ งเคร่งครัด - ชาวคาทอลกิ เช่ือเรื่องการชําระบาป ถือวา่ พระเป็ นผ้ปู ระกอบพิธีล้างบาปให้ได้ และ เช่ือเร่ืองแดนชําระ - ชาวโรมนั คาทอลกิ จะยกย่องนกั บญุ ทงั ้ หลาย รวมทงั้ มาเรีย และโยเซฟ - มีการประกอบพิธีศีลศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ ๗ ประการ คือ ศีลล้างบาป ศีลกําลงั ศีลมหาสนิท ศีลแก้บาป ศีลเจิมคนไข้ ศีลบวช และศีลสมรส - มีนกั บวช ซงึ่ อทุ ิศตนเพ่ือศาสนา และไมไ่ ด้รับอนญุ าตให้สมรส ๒. นิกายออร์ธอดอกซ์ (Orthodox) - แยกตวั จากนิกายโรมนั คาทอลกิ ด้วยเหตผุ ลทางการเมือง (ความขดั แย้งระหวา่ ง สงั ฆราชแหง่ โรม กบั สงั ฆราชแหง่ คอนสแตนตโิ นเบลิ ) - ไมข่ นึ ้ ตรงตอ่ พระสนั ตปาปา แตล่ ะประเทศมีประมขุ เรียกวา่ เพทริอาค (Patriarch) - แทบจะไมม่ ีข้อแตกตา่ งจากโรมนั คาทอลกิ ในด้านหลกั ธรรมคําสอน แตม่ คี วามแตกตา่ ง ในเร่ืองรูปแบบของพธิ ีกรรม ภาษา การจกั ระเบียบการปกครองสงฆ์ - ไมย่ กยอ่ งนกั บญุ รูปเคารพมกั เป็นภาพสองมิติ (ห้ามประดษิ ฐานรูปเคารพสามมติ ิ) - ประกอบพิธีศีลศกั ด์ิสทิ ธ์ิ ๗ ศีล - มีนกั บวช และนกั บวชชนั้ ผ้นู ้อยสามารถสมรสได้ ๓. นิกายโปรแตสแตนท์ - เป็นช่ือเรียกรวมของนิกายต่างๆ ท่ีไม่ใชโ่ รมนั คาทอลิก และออร์ธอดอกซ์ - แยกจากโรมนั คาทอลิกเนื่องจากความขดั แย้งเก่ียวกบั หลกั ธรรมคําสอน และการ ปฏบิ ตั ิศาสนาที่ผดิ แบบแผน เช่น การซอื ้ ใบไถ่บาป - การบริหารจดั การแตล่ ะประเทศเป็นอิสระไมข่ นึ ้ ตอ่ การ และไมข่ นึ ้ ตอ่ พระสนั ตปาปา - ไมเ่ ช่ือวา่ พระมีอํานาจใจการอภยั บาป การอภยั บาปสามารถทําได้เองโดยสารภาพตอ่ พระเจ้าเป็นหมคู่ ณะ - ไมย่ กยอ่ งนกั บญุ และไมป่ ระดิษฐานรูปเคารพใดๆ เพราะถือเป็นเร่ืองนอกคมั ภรี ์ ไม้ กางเขนจะไมม่ ีรูปพระเยซถู กู ตรึงอยบู่ นกางเขน - ประกอบพธิ ีศีลศกั ดิ์สทิ ธ์ิเพียง ๒ ศีล คือ ศีลล้างบาป และศีลมหาสนิท

๑๓ ศีลศักด์สิ ิทธ์ิของศาสนาคริสต์ ศีลศกั ดสิ์ ทิ ธิ์หรือพธิ ีกรรมศกั ดิ์สทิ ธิ์ในศาสนาคริสต์ มี ๗ ศีล ๑. ศีลล้างบาป ๒. ศีลกําลงั ๓. ศีลมหาสนิท ๔. ศีลแก้บาป ๕. ศีลเจิมคนไข้ ๖. ศีลบวช ๗. ศีลสมรส

๑๔ ศาสนาอสิ ลาม คําวา่ “อสิ ลาม” เป็นภาษาหรับ แปลวา่ “สันต”ิ “การยนิ ยอม” หมายถงึ การยนิ ยอมตอ่ พระประสงค์ของพระเจ้าเพื่อสนั ติ ผ้ทู ี่นบั ถือศาสนาอิสลามเรียกว่า “ชาวมุสลิม” ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาท่ีมีววิ ฒั นาการมาจากศาสนายิวและศาสนาคริสต์ เกิดขนึ ้ ในประเทศ ซาอดุ ิอาระเบยี เมื่อประมาณ ๑,๕๐๐ ปี มาแล้ว มีลกั ษณะเป็ นศาสนาเอกเทวนิยม มีพระเจ้าสงู สดุ คือ “พระอัลเลาะห์” ซงึ่ ชาวมสุ ลมิ เช่ือวา่ เป็ นพระผ้สู ร้าง ผ้คู ํา้ จนุ และผ้ฟู ื น้ ฟโู ลกมนษุ ย์ และมพี ระศาสดา คอื นบีมฮู ํามดั ศาสดา ศาสดานบีมฮู ํามดั เกิดท่ีเมืองเมกกะ เม่อื พ.ศ.๑๑๑๓ ท่านกําพร้าบิดามารดาตงั้ แตอ่ ายยุ งั น้อย จงึ อยใู่ นความดแู ลของอบฏู อลบิ ผ้เู ป็นลงุ จนกระทงั่ เตบิ โตได้ตดิ ตามลงุ เดินทางไปค้าขายตา่ งแดน เม่ืออายไุ ด้ ๒๕ ปี ได้สมรสกบั นางคอดียะห์ เศรษฐีนีม่ายชาวเมืองเมกกะ มีบตุ รด้วยกนั ๖ คน เป็น ชาย ๒ หญิง ๔ แตบ่ ตุ รชายเสียชีวิตหมดตงั้ แต่ยงั เยาว์วยั ชีวติ ของท่านเรียบง่ายแตเ่ ปี่ ยมด้วยคณุ ธรรม ท่านพยายามหาทางแก้ปัญหาสงั คมและสร้างความสงบขนึ ้ ในสงั คม ทา่ นมกั จะแสวงหาสถานท่ีสงบเพื่อ ใคร่ครวญหาทางสสู่ นั ติ ทา่ นมกั จะไปที่ถํา้ “ฮริ ออ์” ซงึ่ อยนู่ อกเมือง และที่ถํา้ แห่งนีท้ ่านได้รับโองการ ของพระเจ้าผา่ นเทวทตู ยบิ รออีลเป็นครัง้ แรก ในขณะที่ทา่ นอายไุ ด้ ๔๐ ปี ท่านได้เร่ิมประกาศพระศาสนา โดยประกาศให้ผ้คู นเลกิ บชู าเทพเจ้าทงั้ หลายอนั เป็นประเพณีของ ชาวอาหรับในขณะนนั้ ทําให้ทา่ นได้รับการตอ่ ต้านและดหู มิ่นเหยียดหยามจากผ้คู นในเมืองเป็นอนั มาก แตท่ ่านก็มิได้ยอ่ ท้อ ผ้ทู ่ีต่อต้านท่านพยายามหาทางกําจดั ท่าน จนในที่สดุ ท่านและเหลา่ สาวกต้องหนีไป เมืองเมดนิ ะฮ์ ตอ่ มา ๘ ปี หลงั จากนนั้ ทา่ นได้รวบรวมผ้คู นกลบั ไปยดึ เมกกะได้ ทําลายรูปเคารพตา่ งๆ และประกาศนิรโทษกรรมผ้หู ลงผิดทงั้ หลาย หลงั จากนนั ้ ศาสนาอสิ ลามจงึ ได้เริ่มเผยแผ่ออกสทู่ ี่อ่นื ๆ ตงั้ แต่ บดั นนั ้ คัมภรี ์ทางศาสนา คมั ภีร์ของศาสนาอสิ ลาม คือ คัมภรี ์อัลกุรอาน เป็นคมั ภีร์ที่พระอลั เลาะห์ประทานให้กบั ทา่ น นบีมฮู ํามดั โดยผา่ นทางเทวทตู คมั ภรี ์อลั กรุ อานจงึ เป็นพระวจนะของพระอลั เลาะห์ท่ีตรัสแกม่ นษุ ย์ เป็น พระประสงค์ของพระองค์และเป็นธรรมนญู ของชีวติ ชาวมสุ ลิมถือวา่ ทกุ สง่ิ ท่ีปรากฏในคมั ภรี ์เป็นความจริง ที่บริสทุ ธ์ิ ไมม่ ีใครจะสงสยั หรือดดั แปลงแก้ไขได้ อลั -ฮะดสิ เป็ นบนั ทกึ ซงึ่ รวบรวมคําสงั่ สอนและแบบอยา่ งในการดําเนินชีวติ ของท่านนบีมฮู ํามดั ไว้ ซงึ่ ได้รับการถา่ ยทอดสบื ตอ่ กนั มากด้วยการเลา่ ปากตอ่ ปาก แตภ่ ายหลงั ได้มีการจดบนั ทกึ เอาไว้เป็ น ลายลกั ษณ์อกั ษร เป็นหนงั สือที่มคี วามสําคญั แตก่ ็ไมอ่ าจเปรียบเทียบได้กบั คมั ภีร์อลั กรุ อาน

๑๕ หลักคาํ สอนและศาสนพธิ ีสาํ คัญ ๑. หลักศรัทธา ซง่ึ ชาวมสุ ลมิ จะต้องเช่ือมน่ั โดยปราศจากความระแวงสงสยั หรือโต้แย้งใดๆ มี อยู่ ๖ ประการ คือ ๑) ศรัทธาในเอกภาพของพระผ้เู ป็นเจ้า ชาวมสุ ลิมจะต้องศรัทธาในพระอลั เลาะห์แต่ เพียงพระองค์เดียว ไมม่ ีพระเจ้าอ่ืนใดนอกเหนือไปจากพระองค์ ๒) ศรัทธาในเทวทตู ของพระเจ้า ชาวมสุ ลมิ เช่ือวา่ เทวทตู (มาลาอีกะฮ์) เป็นคนกลาง ระหวา่ งพระเจ้ากบั ศาสดา เป็นผ้รู ับใช้ของพระเจ้า ๓) ศรัทธาในคมั ภีร์อลั กรุ อาน เชื่อวา่ เป็นพระวจนะของพระเจ้าท่ีทรงมอบให้แก่มนษุ ย์ โดยผา่ นทางพระศาสดามฮู ํามดั ๔) ศรัทธาตอ่ ศาสนทตู หรือบรรดาศาสดาตา่ งๆ โดยชาวมสุ ลมิ เช่ือวา่ กอ่ นที่พระเจ้าจะ ประทานคมั ภีร์อลั กรุ อานให้แก่ศาสดามฮู ํามดั พระองค์ได้สถาปนาศาสดาต่างๆ อกี หลายองค์ให้แก่ มนษุ ยชาติตามเวลาตา่ งๆ เช่น นหู ์ (Noah) อบิ รอฮีม (Abraham) มซู า (Moses) อีซา (Jesus) ๕) ศรัทธาตอ่ วนั พพิ ากษา ชาวมสุ ลมิ เช่ือวา่ มนษุ ย์มีดวงวญิ ญาณเป็นอมตะ เมื่อ ร่างกายดบั สญู วิญญาณจะยงั อยแู่ ละรับผลกรรมดีกรรมชว่ั ของตนท่ีทําเม่ือมีชีวิตอยู่ ชาวมสุ ลมิ เชื่อวา่ โลก นีม้ ีการดบั สญู และเมื่อถงึ วนั นนั้ พระอลั เลาะห์จะทรงพิพากษามนษุ ย์ตามกรรมดีและกรรมชวั่ ๖) ศรัทธาในกฎกําหนดสภาวการณ์ เช่ือวา่ พระเจ้าเป็นผ้กู ําหนดทกุ สิง่ ทกุ อยา่ งสาํ หรับ โลกและมนษุ ย์ ไมม่ ีใครสามารถฝ่ าฝื นหรือเปลยี่ นแปลงได้ แตก่ ็ไม่ได้หมายความให้มนษุ ย์งอมืองอเท้า ปลอ่ ยทกุ อย่างให้เป็นไปตามแตพ่ ระเจ้ากําหนด หากแตม่ นษุ ย์ต้องพยายามทําทกุ อย่างให้ดีที่สดุ แต่ ขณะเดียวกนั ก็ต้องไว้วางใจพระองค์ให้เป็นผ้นู ําทางชีวติ ๒. หลักปฏบิ ัติ เป็นศาสนกิจที่ชาวมสุ ลิมจะต้องปฏิบตั ิทงั้ ทางกาย วาจา ใจ มี ๕ ประการ ๑) การปฏิญาณตน โดยเปลง่ วาจารับพระอลั เลาะห์เป็นพระเจ้าแตเ่ พียงพระองค์เดียว ๒) การละหมาด เป็นการนมสั การพระเจ้า เพ่อื ขอบคณุ ขอขมา และสรรเสริญ พระองค์ โดยชาวมสุ ลมิ จะต้องละหมาดวนั ละ ๕ เวลา คอื เช้าตรู่ บา่ ย เยน็ ค่ํา กลางคนื ๓) การถือศีลอด เพื่อให้เกดิ ความอดทนทางร่างกายและความเข้มแขง็ ทางจิตใจ ให้ ระลกึ ถงึ คนยากจนอดอาหารและจะได้ชว่ ยเหลือผ้ทู ่ีขดั สน ในระหวา่ งถือศีลอดหนงึ่ เดือนจะต้องงดเว้นการ กินอาหาร ดืม่ นํา้ กลนื นํา้ ลาย ร่วมสงั วาส ตงั ้ แต่รุ่งอรุณจนกระทง่ั พระอาทิตย์ตกดิน ๔) การบริจาคซะกาต ชาวมสุ ลมิ มีหน้าท่ีจะต้องบริจาคทรัพย์ของตนในอตั ราร้อยละ ๒.๕ แบง่ ปันให้กบั ผ้อู นื่ เพอื่ ชว่ ยเหลือคนอนาถา เด็กกําพร้า คนท่ีขดั สน ผ้มู ีหนีส้ นิ ผ้เู ผยแพร่ศาสนา ผ้เู ดินทางท่ีขดั สน

๑๖ ๕) การประกอบพธิ ีฮจั ญ์ เป็นการเดินทางไปประกอบศาสนกิจที่เมืองเมกกะ ศาสนา อิสลามบญั ญตั ิให้มสุ ลมิ ทงั ้ ปวงท่ีมีความสามารถ คือ เป็นผ้บู รรลนุ ติ ภิ าวะ มีสตสิ มั ปชญั ญะสมบรู ณ์ มีสขุ ภาพดี มีการคมนาคมที่ปลอดภยั และมีทนุ ทรัพย์เพียงพอ ให้เดินทางไปประกอบพธิ ีฮจั ญ์ สําหรับ ผ้ทู ี่ไมไ่ ด้อยใู่ นวสิ ยั ที่จะเดินทางได้นนั้ กไ็ มไ่ ด้บงั คบั ข้อห้ามในศาสนาอิสลาม นอกจากหลกั ศรัทธาและหลกั ปฏบิ ตั ิแล้ว ยงั มีกฎเกณฑ์อื่นๆ ที่ชาวมสุ ลมิ จะต้องปฏบิ ตั อิ ีก มากมาย ในที่นีจ้ ะขอยกมาเป็ นเพียงตวั อยา่ งบางข้อ เช่น - ห้ามยดึ ถือหรือนําสง่ิ อน่ื มาเทียบเคียงอลั เลาะห์ เชน่ เงินตรา ชื่อเสียง วงศ์ตระกลู ฯลฯ - ห้ามกราบไหว้บชู ารูปปัน้ วตั ถุ ดวงดาว ผีสาง เทวดา ฯลฯ ห้ามเซน่ ไหว้สงิ่ ใดๆ ทงั้ สิน้ - ห้ามเช่ือในเรื่องดวง ห้ามดซู ะตาราศี ห้ามถือโชคลาง ห้ามเลน่ เครื่องรางของขลงั - ห้ามเลน่ การพนนั ทกุ ชนิด เช่น เสี่ยงทาย แทงม้า ลอตเตอรี - ห้ามกินสตั ว์ที่ตายเอง สตั ว์ท่ีมีโรค เลอื ดท่ีได้จากการเชือดสตั ว์ ห้ามกินหมู ห้ามกินสตั ว์ท่ีถกู นําไปเซน่ ไหว้ สตั ว์ท่ีถกู รัดคอให้ตายโดยไมไ่ ด้เชือด สตั ว์ที่เชือดโดยไมไ่ ด้กลา่ วนามพระเจ้า สตั ว์ท่ีมีลกั ษณะนา่ รังเกียจ สตั ว์ที่ตะปบสตั ว์อื่นเป็นอาหาร - ห้ามเสพส่ิงมนึ เมาทกุ ชนดิ เชน่ เหล้า เบียร์ ยาเสพติด - ห้ามผดิ ประเวณีกบั หญิงใดๆ ไมว่ า่ จะด้วยความยนิ ยอมสมคั รใจของทงั้ สองฝ่ ายกต็ าม - ห้ามกกั ตนุ สนิ ค้าจนราคาขนึ ้ สงู แล้วนําสินค้านนั้ ไปขาย - ห้ามกินดอกเบีย้ ฯลฯ นิกายสาํ คัญของศาสนา นิกายซนุ นี ชาวมสุ ลมิ นิกายนีถ้ ือวา่ ตนเองเป็นผ้เู คร่งครัดในแนวทางปฏบิ ตั ติ ามคมั ภีร์อลั กรุ อาน และตามวจนะของทา่ นศาสดา รวมทงั้ ให้ความเคารพเชื่อถือตอ่ กาหลบิ หรือผ้สู ืบตําแหนง่ ตอ่ จากทา่ น ศาสดา ชาวซนุ นีให้ความเคารพนบั ถือผ้นู ําทางศาสนา ๔ คนแรก คือ อาบบู กั ร์ โอมาร อสุ มาน และอาลี ชาวมสุ ลมิ ในไทย และชาวมสุ ลมิ สว่ นใหญ่ทวั่ โลกนบั ถือนิกายนี ้ นิกายซอี ะฮ์ เป็นกลมุ่ ที่แยกตวั ออกมาเป็ นกลมุ่ แรก เพราะมีความเห็นวา่ ผ้นู ําทางศาสนาควร เป็ นทายาทของทา่ นนบีมฮู ํามดั นิกายนีจ้ งึ นบั ถือกาหลบิ องค์ที่ ๔ คอื อาลี วา่ เป็นกาหลบิ ที่ถกู ต้องแต่ เพียงผ้เู ดียว ชาวซีอะฮ์สว่ นใหญ่อยใู่ น อริ ัก อหิ ร่าน เยเมน อนิ เดีย และแอฟริกาตะวนั ออก 

~1~ 1.องค์ประกอบทีม่ ปี รากฏอยู่ในศาสนาสาคญั ในปจั จุบันคือขอ้ ใด 1. ศาสนาและนกั บวช 2. รปู เคารพและศาสนสถาน 3. นกั บวชและศาสนพิธี 4. ศาสนพิธี และหลกั คาสอน 5. สาวก และ รปู เคารพ 2.พิธีทีช่ าวคริสต์นกิ ายโรมันคาทอลิดกินขนมปงั และดื่มไวน์ในบาทหลวงสง่ ให้เรยี กว่าพิธีอะไร 1. ศลี กาลัง 2. ศีลแก้บาป 3. ศลี ล้างบาป 4. ศลี มหาสนิท 5. ศลี เจิม 3. คาสอนเรอ่ื ง “อาศรม 4” สาคญั อย่างไร 1. ทาให้ชีวติ นี้มีคณุ ค่าทีแ่ ท้จริง 2. ทาให้รวู้ ่าชีวติ มหี น้าทีอ่ ย่างไรบ้าง 3. ทาให้เชอ่ื ว่าโมกษะเป็นเป้าหมายของชีวติ 4. ทาให้วิถีชีวติ ดาเนินตามธรรมชาติอย่างดที ีส่ ุด 5. ทาให้ทราบทีพ่ กั อาศยั อย่างถาวร หรือชีวติ ที่เป็นนิรันดร์ 4.ในการละหมาด ชาวมสุ ลิมในประเทศไทยจะต้องทาอย่างไร 1. ต้องกระทาต้ังแต่จาความได้เป็นต้นไป 2. ต้องกระทาโดยหนั หนา้ ไปทางทิศตะวนั ตก 3. ต้องกระทาอย่างน้อยวันละ 2 ครง้ั คือเช้าและเยน็ 4. ต้องกระทาในมัสยิดหรอื ในศาสนสถาน 5. ต้องกระทาทุกวันหลังรับประทานอาหารเสรจ็ 5.“บุคคลใดมีใจบริสทุ ธิก์ ็เปน็ สขุ เพราะว่าเขาจะได้เหน็ พระเจา้ ” เปน็ พระธรรมเทศนาของศาสดาองค์ใด 1. โมเสส 2. พระเยซู 3. มหาวีระ 4. มฮู ัมมัด 5. คุรนุ านกั 6.การทาลายล้าง การสร้าง และคุ้มครองโลกกบั จักรวาลเปน็ บทบาทของเทพองค์ใดในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู 1. พระพรหม 2. พระศวิ ะ 3. พระนารายณ์ 4. พระตรมี ูรติ 5. ตรเี อกานุภาพ 7.ข้อใดไม่ตรงกับปรมาตมัน 1. พรหมนั 2. โมกษะ 3. ชีวาตมัน 4. วิญญาณสากล 5. อัตมนั 8.ข้อใด ไม่ถูกต้อง เกี่ยวกบั คมั ภรี ์อลั กรุอาน ตามความเช่อื ของชาวมุสลิม 1. เป็นคัมภรี ์สุดท้ายและสงู สุด 2. เป็นคัมภรี ์ที่สมบูรณ์ที่สุด 3. เป็นคัมภรี ์ศักดิส์ ิทธิทีแ่ ก้ไขเพิ่มเตมิ ไม่ได้ 4. เป็นคัมภรี ์คัมภีร์ที่บนั ทึกวจนะของพระเจา้ 5. เป็นคัมภีร์ที่พระเจ้าทรงประทานให้นบีก่อนหน้านบีมฮู ัมมดั

~2~ 9.ข้อความใดเกี่ยวกบั นิกายในศาสนาอิสลาม ถูกต้องที่สดุ 1. นิกายซนุ นีมอี นูบักร์เป็นคอลีฟะคนแรก 2. นกิ ายซีอะฮ์ถือว่า คอลีฟะตอ้ งมากจากการเลือกตั้ง 3. นิกายวาฮะบีเกิดข้ึนพรอ้ มกบั นิกายชีอะฮ์ 4. ทุกนิกายแตกต่างกันเฉพาะผกู้ ่อตั้งนิกายเท่าน้ัน 10.คาสอนของพระเยซู ไม่เน้น เรื่องใด (A-net2549) 1. การทาพิธีกรรมบชู าพระเจา้ 2. จริยธรรมในการดาเนินชีวติ 3. ความรักในพระเจา้ และเพือ่ นมนุษย์ 4. การเสียสละโดยไม่หวังผลตอบแทน 11.ข้อใดถกู ต้องที่สุด เกีย่ วกับศาสนาคริสต์ 1. นิกายออรท์ อดอกซ์เป็นนิกายเก่าแก่ทีส่ ดุ 2. นกิ ายโรมันคาทอลิกอนุญาตให้พระชั้นผนู้ ้อยแต่งงานได้ 3. นิกายโปรแตสแตนท์เช่ือว่าทกุ คนสามารถติดต่อกบั พระเจา้ โดยตรงได้ 4. นิกายโรมนคาทอลิก ออร์ทอดอกซ์ และโปรเตสแตนท์เคารพยกย่องมารดาพระเยซวู ่าเป็นแมพ่ ระ 12.ชาวมุสลิมในประเทศไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย สว่ นใหญ่นับถือนิกายใด 1. ซูฟี 2. ชีอะห์ 3. วาฮาบี 4. ซุนนี 13.เทวทตู ที่นาโครงการของพระเจา้ มาประทานแก่นบีมูฮัมมัดจนเปน็ พระคัมภีร์อลั กรุอานมีชือ่ วา่ อะไร 1. อาลี 2. มาลาอิกะ 3. ญิบรออีล 4. อิซรออีล 14.พิธีซะกาตของศาสนาอิสลาม มคี วามมุ่งหมายให้ชาวมุสลิมรู้จกั สิง่ ใด 1. การให้อภยั 2. การแบ่งปัน 3. ความยตุ ิธรรม 4. ความอดทน 15.คัมภรี ์พระเวทใดเก่าแก่ที่สุด (O-net2550) 1. ฤคเวท 2. ยชุรเวท 3. สามเวท 4. อถรรพเวท 16.วนั ศุกร์ศกั ดิ์สิทธิ์ ของคริสต์ศาสนิกชนหมายถึงวันใด 1. วนั ทีพ่ ระเยซูสิ้นพระชนม์ 2. วันที่พระเยซคู ืนพระชนม์ 3. วันที่พระเยซปู ระกาศศาสนา 4. วันที่พระเยซูเสด็จกลบั สู่สวรรค์ 17.พระเยซูทรงสอนวา่ “จงรกั เพื่อนบ้าน เหมอื นรกั ตนเอง” เพื่อนบ้านในทีน่ ้หี มายถึงใคร 1. มนุษย์ทุกคน 2. ผู้นบั ถือศาสนาอื่น 3. สาวกของพระเยซู 4. คริสต์ศาสนิกชน 18.พิธีเข้าเป็นพทุ ธมามกะ เปรียบได้กับพิธใี ดในศาสนาคริสต์ 1. พิธีรบั ศีลมหาสนิท 2. พธิ ีรบั ศลี ล้างบาป 3. พิธีรบั ศีลกาลัง 4. พิธีรับศีลแก้บาป 19.การแบ่งแยกนิกายต่างๆ ในศาสนาอิสลาม เกิดจากสาเหตขุ อ้ ใดเป็นสาคัญ 1. ความเชื่อว่าเป็นพระประสงค์ของพระเจ้า 2. ความคิดแตกต่างกนั ทางการเมอื งเกีย่ วกบั ผนู้ าในศาสนา 3. ความแตกต่างกันทางด้านสงั คม เช้ือชาติ และวฒั นธรรม 4. ความแตกต่างกนั ทางด้านภมู ิประเทศ ภาษาและสิ่งแวดล้อม

~3~ 20.ศาสนาใด สอนว่า “ถ้าเขาตบแก้มขวา จงเอียงแก้มซ้ายใหเ้ จาตบ” 1. ศาสนาฮินดู 2. ศาสนาอิสลาม 3. ศาสนาคริสต์ 4. พระพุทธศาสนา 21.ศาสนาใดที่ชือ่ เรยี กศาสนา แปลว่า สันติ 1. ศาสนาฮินดู 2. พระพุทธศาสนา 3. ศาสนาคริสต์ 4. ศาสนาอิสลาม 22.องค์ประกอบใดจาแนกศาสนาเป็นเทวนิยม อเทวนิยม เอกเทวนิยม หรอื พหเุ ทวนิยม 1. ศาสดา 2. พธิ ีกรรม 3. ความเชอ่ื 4. รปู เคารพ 23.ดินแดนศักดิ์สิทธิ์ของศาสนายูดายและครสิ ต์คอื ข้อใด(O-net2551) 1. ไคโร 2. เมกกะ 3. แบกแดด 4. ปาเลสไตน์ 24.ศาสนาใดมีความเช่อื เรือ่ งวนั พิพากษา 1. พราหมณ์-ฮินดู 2. อสิ ลาม –คริสต์ 3. ฮินดู-อิสลาม 4. คริสต์-ฮินดู 25.ศาสนาพราหณช์ ่วงที่เปลีย่ นเปน็ เอกเทวนิยมนับถือสง่ิ ใดเปน็ สิ่งศกั ดิส์ ิทธิส์ ูงสุด 1. โมกษะ 2. พระเวท 3. พรหมนั 4. ตรมี ูรติ 26.ความหมายของคาว่ามุสลิม ในข้อใดถกู ต้อง 1. ผรู้ ักความสงบ 2. ผู้มีศรทั ธาต่อพระเจ้า 3. ผยู้ อมมอบตนต่อพระเจ้า 4. ผู้ปฏิบัติตามโองการของพระเจ้า 27.ในตอนแรกชาวยิวเชื่อว่าพระเยซคู ือใคร 1. เมสิอาห์ 2. ศาสนาพยากรณ์ 3. พระบตุ รของพระเจ้า4. พระเจา้ 28.หนา้ ทีต่ อ่ พระเจ้าในศาสนาอิสลามคืออะไร 1. การไม่บูชารปู เคารพใด ๆ 2. การปฏิบตั ิตามหลกั ปฏิบัติ 5 3. การช่วยเหลือเกื้อกลู เพื่อนมนษุ ย์รว่ มโลก 4. การเชื่อวา่ มีพระเจา้ องค์เดียวเปน็ ผู้บนั ดาลสรรพสิ่ง 29.หนา้ ทีใ่ ดที่ครสิ ต์ศาสนิกชนได้แสดงความเป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกับพระเจ้า 1. ศลี บวช 2. ศีลกาลัง 3. ศลี ล้างบาป 4. ศลี มหาสนิท 30.คมั ภรี ์อปุ นิษทั มสี าระสาคัญเรอ่ื งใด 1. คู่มอื การทาพิธีบชู ายัญ 2. ปรชั ญาว่าด้วยวิญาณสากล 3. บทเพลงสวดสรรเสริญเทพเจ้า 4. คู่มือการประกอบพิธีกรรมและบชู าของพราหณ์ 31.ข้อใดไม่เกิดขึน้ ในวิวัฒนาการของศาสนาฮินดู 1. เปลีย่ นจากเชื่อในเทพเจ้าหลายองคม์ าเป็นสิง่ สมบูรณ์สูงสุดที่มหี นง่ึ เดียว 2. เปลีย่ นจากเชื่อว่าชีวติ เปน็ ไปตามการดลบันดาลของเทพเจ้ามาเช่อื ในกรรมจากชาติปางก่อน 3. เปลี่ยนจากเชือ่ ว่าจติ ทั้งหลายเกิดขึ้นมาอย่างอสิ ระไม่เกีย่ วข้องกัน มาเช่อื ว่าจติ ท้ังหลายเกิดจาก จติ ใหญ่ดวงเดียว 4. เปลี่ยนจากเชื่อในความเปน็ อาตมันของจิต มาเชอ่ื ในความเป็นอนตั ตาของจิต

~4~ 32.ข้อใดถูกต้องตามคาสอนในคริสต์ศาสนา 1. ผทู้ ีก่ ระทาผดิ โดยเจตนาจะได้รบั การลงโทษจากพระเจ้าเสมอ 2. มนษุ ย์จะพ้นบาปทีม่ มี าแต่กาเนดิ กต็ ่อเม่อื ยอมรบั การสละพระชนม์ชีพของพระเยซู 3. มนุษย์ไม่สามารถเปลีย่ นแปลงตนเองเพราะพระเจ้ากาหนดไว้แล้วให้เราเป็นคนอย่างไร 4. มนุษย์จะต้องเวียนว่ายตายเกิดจนกว่าจะทาความดีพอเพียงที่จะได้รับเข้าอยู่ในดินแดนของพระเจ้า 33.ข้อใดไมใ่ ช่สิ่งทีม่ ุสลิมต้องศรทั ธา 1. หลักศรัทธา 6 2. วันพิพากษาวิญญาณทั้งหลายของมนุษย์ตามกรรมดีกรรมทั่วทีไ่ ด้กระทาไว้ขณะมีชีวิต 3. กฎธรรมชาตแิ ละกฎศีลธรรมทีพ่ ระเจา้ ลิขติ ไว้ให้แก่โลกและมนุษย์ 4. หลกั ตรีเอกานุภาพ 34.ข้อใดกล่าวถึงหลักธรรมทีส่ าคญั และจุดหมายปลายทางของศาสนาพุทธ ฮินดู คริสต์ และ อิสลาม ไมถ่ กู ตอ้ ง 1. อริยสจั 4 – นิพพาน 2. หลักปุรุสารถะและอาศรม 4 – ไวษณพ 3. บัญญตั ิ 10 ประการและหลักความรัก – อาณาจักรพระเจ้า 4. หลกั ศรัทธาและหลกั ปฏิบตั ิ – พระอลั เลาะห์ 35.หลักธรรมที่สอดคล้องกันเด่นชดั ทีส่ ุดของศาสนาพทุ ธ คริสต์ อิสลาม พราหมณ์ – ฮินดู ได้แก่ขอ้ ใด 1. ความเอ้ือเฟือ้ 2. ความสันโดษ 3. ความรัก 4. ความกตญั ญรู ู้คุณ 36.เหตผุ ลสาคญั ของศาสนาแบบไม่เช่อื ถือในพระเจ้าคืออะไร 1. ความเชื่อเร่อื งพระเจ้าเป็นสิง่ เหลวไหล 2. มนุษย์ไม่เคยเห็นตัวตนของพระเจา้ 3. วิธีทางวิทยาศาสตรพ์ ิสจู นไ์ ม่ได้ว่าพระเจา้ มีอยู่จรงิ 4. มนษุ ย์ไม่จาเป็นต้องพึ่งพาพระเจ้า 37. ศาสนาคู่ที่ไม่มีคาสอนเรื่องการตายแล้วเกิดใหม่ปรากฏอยู่เลย 1. ศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณ์ 2. ศาสนาพราหมณ์และศาสนาครสิ ต์ 3. ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม 4. ศาสนาพราหมณ์และศาสนาอิสลาม 67. การฆ่าคนในกรณีใดทีศ่ าสนาพราหมณ์-ฮินดู จะพิจารราว่าไม่เปน็ ความผิดบาป (โควตา 2548) 1. นกั บวชฆ่าลกู ชายทีเ่ ป็นนักเลง 2. ตารวจวิสามญั ฆาตกรรมพ่อค้ายาบ้า 3. ชาวบ้านยิงทิ้งวยั รุ่นขับรถซิง่ กวนเมือง 4. ทหารฆ่าฝ่ายตรงขา้ มตายในสนามรบ

~5~ 38.องค์ประกอบของศาสนาที่สาคญั ที่สุดทุกศาสนาต้องมี คอื ข้อใด 1. ศาสดา 2. คาสอน 3. ศาสนสถาน 4. สัญลกั ษณ์ 39. ข้อใดคือแก่นแท้ของศาสนา 1. การให้คาสอนที่เป็นแนวทางการดาเนินชีวิต 2. การให้คาอธิบายความเป็นจรงิ สูงสดุ ของชีวติ และโลก 3. การให้คาอธิบายและคาสอนเกี่ยวกับความดคี วามชวั่ 4. การให้คาสอนเพื่อเป็นที่พึง่ ทางใจใหพ้ ้นจากความกลวั 40. ข้อใดไม่เกิดขึน้ ในวิวัฒนาการของศาสนาฮินดู 1. เปลี่ยนจากเชือ่ ในเทพเจ้าหลายองคม์ าเป็นสิ่งสมบูรณ์สูงสุดทีม่ หี น่งึ เดียว 2. เปลี่ยนจากเชือ่ ว่าชีวติ เปน็ ไปตามการดลบนั ดาลของเทพเจ้ามาเชอ่ื ในกรรมจากชาติปางก่อน 3. เปลีย่ นจากเชือ่ ว่าจติ ท้ังหลายเกิดขึ้นมาอย่างอสิ ระไม่เกี่ยวข้องกัน มาเชอ่ื ว่าจติ ท้ังหลายเกิดจาก จติ ใหญ่ดวงเดียว 4. เปลีย่ นจากเชื่อในความเปน็ อาตมนั ของจิต มาเช่อื ในความเปน็ อนตั ตาของจิต 41. ข้อใดถูกต้องตามคาสอนในคริสตศ์ าสนา 1. ผทู้ ีก่ ระทาผดิ โดยเจตนาจะได้รบั การลงโทษจากพระเจ้าเสมอ 2. มนษุ ย์จะพ้นบาปทีม่ มี าแต่กาเนดิ ก็ต่อเมือ่ ยอมรับการสละพระชนม์ชีพของพระเยซู 3. มนุษย์ไม่สามารถเปลีย่ นแปลงตนเองเพราะพระเจ้ากาหนดไว้แล้วให้เราเป็นคนอย่างไร 4. มนุษย์จะต้องเวียนว่ายตายเกิดจนกว่าจะทาความดีพอเพียงที่จะได้รับเข้าอยู่ในดินแดนของพระเจ้า 42. ข้อใดไมใ่ ช่สิง่ ทีม่ ุสลมิ ต้องศรัทธา 1. หลักศรัทธา 6 2. วนั พิพากษาวิญญาณทั้งหลายของมนษุ ย์ตามกรรมดีกรรมทว่ั ที่ได้กระทาไว้ขณะมีชีวิต 3. กฎธรรมชาตแิ ละกฎศีลธรรมที่พระเจา้ ลิขติ ไว้ให้แก่โลกและมนษุ ย์ 4. หลกั ตรีเอกานุภาพ 43. ข้อใดกล่าวถึงหลกั ธรรมทีส่ าคญั และจุดหมายปลายทางของศาสนาพุทธ ฮินดู คริสต์ และอิสลาม ไม่ถูกต้อง 1. อรยิ สจั 4 – นิพพาน 2. หลกั ปุรสุ ารถะและอาศรม 4 – ไวษณพ 3. บัญญัติ 10 ประการและหลักความรัก – อาณาจกั รพระเจา้ 4. หลกั ศรทั ธาและหลกั ปฏิบัติ – พระอัลเลาะห์

~6~ 44. หลกั ธรรมทีส่ อดคล้องกนั เด่นชดั ทีส่ ดุ ของศาสนาพทุ ธ คริสต์ อสิ ลาม พราหมณ์ – ฮินดู ได้แก่ขอ้ ใด 1. ความเอื้อเฟือ้ 2. ความสันโดษ 3. ความรกั 4. ความกตัญญูรู้คณุ 45. เหตุผลสาคญั ของศาสนาแบบไม่เช่อื ถือในพระเจ้าคืออะไร 1. ความเชื่อเร่อื งพระเจ้าเป็นสิง่ เหลวไหล 2. มนษุ ย์ไม่เคยเห็นตัวตนของพระเจา้ 3. วิธีทางวิทยาศาสตรพ์ ิสจู นไ์ ม่ได้ว่าพระเจา้ มีอยู่จรงิ 4. มนษุ ย์ไม่จาเป็นต้องพึ่งพาพระเจ้า 46. ข้อใดคือความแตกต่างระหว่างศาสนาคริสตน์ ิกายโรมันคาทอลิกกับนิกายโปรเตสแตนต์ 1. โปรเตสแตนตไ์ ม่มนี กั บวช 2. โปรเตสแตนตไ์ ม่เช่อื พระคมั ภรี ์เก่า 3. โปรเตสแตนตไ์ ม่ใช้ไม้กางเขน 4. โปรเตสแตนต์ไมไ่ ด้พฒั นามาจากศาสนายิว 47. การทาละหมาดในศาสนาอิสลามมีจดุ ประสงค์เพือ่ อะไร 1. แสดงความเคารพพระเจ้า 2. ชาระบาปทีท่ าในแตล่ ะวัน 3. แผ่สว่ นกศุ ลใหแ้ ก่สรรพสตั ว์ 4. บาเพญ็ บารมี 48. ไตรสิกขา พัฒนามาจากอะไร 1. ไตรลกั ษณ์ 2. เบญจศลี 3. เบญจธรรม 4. มรรค 8 49. ข้อใดไม่ตรงกับคาสอนของศาสนาพราหมณ์ 1. การเอาใจใส่เรียนหนงั สือเมือ่ อยู่ในวัยร่าเรียน 2. การแต่งงานมีครอบครัวหลังจากผา่ นวัยศึกษาเล่าเรียนแล้ว 3. การมบี ตุ รเมือ่ มีฐานะพร้อม 4. การสละบ้านเรอื นออกบวชเมอ่ื แก่ชรา 50. ข้อใดคือความหมายทีถ่ ูกต้องที่สุดเกี่ยวกับคาสอนเรอ่ื งกรรมในพทุ ธศาสนา 1. กรรมคือการกระทาโดยเจตนา 2. กรรมคือความดีความช่ัว 3. กรรมคือสิ่งกาหนดความเปน็ ไปของชีวติ 4. กรรมคือการกระทาที่ลบล้างไม่ได้ 51. การสอนเร่อื งทกุ ข์ในพุทธศาสนา มจี ุดประสงค์สดุ ท้ายสอย่างไร 1. ให้รวู้ ่าชีวิตคือความทกุ ข์ 2. ใหต้ ระหนกั ว่าเราเอาชนะทุกข์ได้ 3. ให้เข้าใจว่าทุกข์มาจากกิเลสในใจเรา 4. ให้รู้ว่าความทุกข์เป็นกรรม

~7~ 52. ข้อใดคือเป้าหมายชวี ิตตามอุดมคติของศาสนาคริสต์ 1. การมชี ีวิตนิรันดรในดินแดนของพระเจา้ 2. การได้กลับมาเกิดเป็นมนุษย์ในชาติต่อไป 3. การมีชีวิตสขุ สงบในโลกนี้ 4. การเข้าถึงพระเจ้า 53. ข้อใดคือความเชื่อในศาสนาคริสตท์ ี่ตา่ งจากศาสนาพราหมณ์ 1. มนุษย์เกิดเพียงชาติเดียว 2. มนษุ ย์เกิดจากการสร้างของพระเจา้ 3. ผู้เคารพพระเจา้ คือผทู้ าความดี 4. ผทู้ าความดีพระเจ้าย่อมมองเห็น 54. โมกษะในศาสนาฮินดูหมายถึงอะไร 1. การทีจ่ ติ หลุดพ้นจากกิเลส 2. ความหลุดพ้นจากชีวติ ที่เปน็ ทกุ ข์ในโลกนี้ 3. การได้เกิดในสวรรค์อันเป็นบรมสุข 4. วิญญาณบริสุทธิ์ไม่เวียนว่ายตายเกิด 55. การถือศลี อดในศาสนาอิสลามมจี ุดประสงค์หลักเพือ่ อะไร 1. เพือ่ ฝึกใหป้ ระหยัดอดออม 2. เพื่อให้เหน็ ในคนทีข่ าดแคลน 3. เพือ่ เป็นการบูชาพระเจา้ 4. เพื่อให้จิตใจแข็งแกร่ง 56. หลกั เบอื้ งตน้ ของศาสนาแบบทีเ่ ชือ่ ถือในพระเจ้าองค์เดียวคือข้อใด 1. พระเจ้าคือผู้สร้างสรรพสิ่ง 2. พระเจ้าคือผชู้ ที้ างสวรรค์ 3. พระเจ้าคือผู้กมุ ชะตาของมวลมนษุ ย์ 4. พระเจ้าคือผู้ทรงความยุติธรรม 57. ความรกั ตามคาสอนของศาสนาคริสต์ หมายความว่าอย่างไร 1.คนเราควรรักกนั 2. มนษุ ย์ทกุ คนในโลกคือพี่น้องของเรา 3. คนทีไ่ ม่มคี นรัก จะมีชีวติ ที่ไม่สงบสขุ 4. ความรกั ทาให้โลกนีง้ ดงาม 58. ข้อใดคือลกั ษณะสาคญั ทที่ าใหช้ มุ ชนมุสลิมแตกต่างจากชุมชนทีน่ บั ถือศาสนาพทุ ธและศาสนาคริสต์ 1. ชาวมุสลิมมเี ครือ่ งตา่ งกายเปน็ ของตนเอง 2. ชาวมุสลิมไม่แบ่งคนในชุมชนเป็นนักบวชและฆราวาส 3. ชาวมสุ ลิมไม่บริโภคอาหารต้องห้ามบางอย่าง 4. ชาวมุสลิมมศี รัทธาในพระเจา้ หนักแนน่ กว่าผู้นับถือศาสนาอน่ื 59. ข้อใดมีเฉพาะในศาสนาพราหมณ์ 1. การแบ่งวรรณะ 2. การบชู ายัญ 3. การทรมานตน 4. การอวตารของพระเจ้า 60. ทาไมศาสนาคริสต์จงึ สอนว่า เราควรให้อภยั ต่อคนที่กระทาความช่วั ต่อเราและตอ่ สังคม 1. เพือ่ ให้โอกาสเขากลับตนเป็นคนดี 2. การให้อภยั จะช่วยใหเ้ ราสบายใจ 3. การให้อภยั กค็ ือความรกั นน่ั เอง 4. หากไม่อภยั คนช่วั จะเคียดแค้นและทาความช่ัวมากขึ้น

~8~ 61. ศาสนาฮินดู – พทุ ธ – คริสต์ มคี วามคล้ายคลึงกันมากทีสุดคือขอ้ ใด 1. ความหลดุ พ้น 2. ความเมตตา 3. ความเสียสละเพื่อภพหนา้ 4. การยอมรับอานาจเหนอื ธรรมชาติ 62. ตามหลักศาสนาพราหมณ์-ฮินดู อะไรเปน็ เป้าหมายสูงสดุ ของชีวติ 1. อาตมัน 2. ปรมาตมัน 3. โมกษะ 4. สนั ยาสี 63. คาสอนเรอ่ื ง “อาณาจักรของพระเจ้า” ในศาสนาคริสต์สามารถเข้าถึงได้ด้วยวิธีใด 1. ด้วยการมศี รัทธาอย่างม่ันคง 2. ด้วยการมีจติ ใจเปน็ หน่ึงเดียวกัน 3. ดว้ ยการแสดงความรัก 4. ดว้ ยการแสดงความกตัญญู 64. ข้อใดเป็นคาสอนทีท่ กุ ศาสนามีความสอดคล้องกัน 1. การมศี รัทธา 2. การประกอบพิธีกรรม 3. การบูชาปชู นียบุคคล 4. การมีความรักความเมตตา 65. คาสอนเร่อื งกรรมในพทุ ธศาสนาสาคัญอย่างไร 1. ทาให้คนกลวั นรกไม่กล้าทาชั่ว 2. ทาให้เราเขา้ ใจว่าเราคือผู้ลิขิตชีวติ เรา 3. ทาให้คนเป็นคนดี 4. ทาให้เชอ่ื ว่ากรรมพิสจู น์ได้ 66. คาวา่ “พระจติ ” ในหลกั ศาสนาครสิ ต์ มคี วามหมายว่าอย่างไร 1. พระเยซูผมู้ ีจิตอนั เข้าแขง็ ทรงเกื้อหนนุ ให้มนษุ ย์มีพลังใจ 2. พระเจา้ ในฐานะที่ปรากฏทางจิตวญิ ญาณของมนษุ ย์คอยกระตุ้นใหม้ นษุ ย์ทาความดี 3. จติ ของมนษุ ย์ผู้เปี่ยมด้วยความรักอันยิง่ ใหญ่อันเกิดจากเจตน์จานงเสรี 4. จติ ใจที่มเี หตุผล มีความเสียสละอันเปน็ ผลมาจากการนมัสการและการภาวนา 67. ชาวมสุ ลิมเชอ่ื ว่าคัมภรี ์อลั กุรอาน คอื อะไร 1. บนั ทึกพระวจนะของพระเจ้า 2. บันทึกคาสอนของพระศาสดามฮู มั หมัด 3. บันทึกประวตั ิศาสตร์ทางศาสนาของชาวมุสลิม 4. บันทึกความเชือ่ และพิธีกรรมของชาวมสุ ลิม 68. คาสอนเรอ่ื ง “อาศรม 4” สาคญั อย่างไร 1. ทาให้ชีวติ นมี้ ีคุณค่าทีแ่ ท้จรงิ 2. ทาให้รวู้ ่าชีวติ มหี น้าที่อย่างไรบ้าง 3. ทาให้เชอ่ื ว่าโมกษะเปน็ เป้าหมายของชีวติ 4. ทาให้วิถีชีวติ ดาเนินตามธรรมชาติอย่างดที ี่สุด

~9~ 69. ความทกุ ข์ในพทุ ธศาสนามีความหมายอย่างไร 1. ชีวติ มปี ญั หาอยู่ตลอดเวลา 2. ร่างกายต้องเปลี่ยนแปลงเจ็บไข้อยู่เสมอ 3. สรรพสิ่งทีความเปลีย่ นแปลงไม่แน่นอน 4. จติ ใจต้องพบความเศร้าและเสียใจอยู่เร่อื ยๆ 70. ข้อใดเป็นเอก ลักษณ์ของพุทธศาสนา 1. กรรม 2. ภาวนา 3. อนัตตา 4. นรก – สวรรค์ 71. ในศาสนาคริสต์ การทีพ่ ระเจา้ สร้างมนษุ ย์และใหเ้ สรีภาพไว้ดว้ ย หมายความว่าอย่างไร 1. พระเจา้ ต้องการให้มนุษย์รู้ค่าของความดีความช่ัวเอง 2. พระเจา้ ต้องการให้มนษุ ย์กล้าหาญสามารถพิชิตมารรา้ ยได้ 3. เมือ่ สรา้ งมนุษย์ข้ึนแล้วพระองค์กไ็ ม่ต้องการลิขิตชีวิตของเขา 4. พระเจา้ ต้องการให้มนุษย์ต่อสู่ชีวติ ด้วยศักยภาพของเขาเอง 72. การที่ศาสนาอิสลามห้ามมุสลิมสักการบชู าสิ่งอืน่ นอกจากอัลลอฮฺ หมายความว่าอย่างไร 1. มุสลิมไม่ควรเชือ่ ถือสิ่งที่งมงาย 2. มุสลิมไม่ควรเปลีย่ นศาสนางา่ ยๆ จนเกินไป 3. มุสลิมไม่ควรนับถือส่งิ อ่ืนให้เสมอพระเจ้าของตน 4. มุสลิมไม่ควรมีจติ ใจไปนบั ถือสง่ิ อ่นื ที่เปน็ ความเท็จ 73. เรือ่ งใดที่ศาสนาพทุ ธและศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู มีความเชอ่ื ร่วมกัน 1. อาตมัน 2. พรหมลขิ ิต 3. สงั สารวฏั 4. การกลบั ชาติมาเกิด 74. การเกิดขึ้นของพระพุทธเจา้ หมายความว่าอย่างไร 1. เพื่อให้เป็นผู้ประกาศศาสดา 2. เพื่อช่วยเหลือผู้มีความทกุ ข์ 3. ทกุ ยคุ ทกุ สมัยย่อมมีศาสดาเกิดข้ึนเป็นธรรมดา 4. มนษุ ย์มศี กั ยภาพสามารถรู้ความจริงของธรรมชาติได้ 75. สานวนขอ้ ใดตรงกบั ความหมายของสัมมาทิฐิ 1. ไม่เช่อื อย่าลบหลู่ 2. คนดีตกน้าไม่ไหล 2. สถานการณส์ ร้างวีรบุรุษ 4. คนรวยทาอะไรกไ็ ม่น่าเกลียด

~ 10 ~ 76. บาปกาเนิดในศาสนาคริสต์ หมายถึงอะไร 1. ชาติก่อนทาบาปไว้ ชาตินีจ้ งึ รับผลกรรม 2. พนั ธกุ รรมมีอทิ ธิพลต่อชีวติ ของเราทกุ คนทีเ่ กิดมา 3. ทกุ คนเกิดมากม็ ีบาปแล้ว เพราะทกุ คนมีกิเลส 4. บรรพบรุ ษุ ของเราทาพฤติกรรมไม่ดไี ว้ เราจงึ ได้รบั ผลไปด้วย 77. นิกายซุนนีในศาสนาอิสลามถือว่าข้อใดสาคญั ที่สุด 1. อาลีบตุ รเขยของพระมฮุ ัมมัด 2. การปฏิบตั ิอย่างเคร่งครัดตามคาสอน 3. พระอลั ลอฮฺองค์เดียว 4. การประกอบพิธีกรรม 78. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของ “ศรัทธา” ในพระพุทธศาสนา 1. ความเชือ่ มนั่ ในพระรัตนตรัย 2. ความเช่อื มน่ั ในพระปญั ญาของพระพุทธเจ้า 3. ความเชื่อมนั่ ในกฎแหง่ เหตุและผลของการกระทาในวัฏสงสาร 4. ความเชื่อม่นั ในความเปน็ อมตะของวิญญาณทีต่ อ้ งคอยรับผลกรรม 79. การสนิ้ พระชนม์ของพระเยซูโยถูกตรงึ ไม้กางเขนแสดงถึงอะไร 1. การสละชีวติ เพื่อไถ่บาปใหม้ นษุ ย์ 2. การประหารชีวติ แบบโบราณของพวกยิว 3. การเป้นพระบตุ รและพระองค์ย่อมไม่ตายจรงิ 4. การสละชีวติ ของพระเมสสิอาหเ์ พือ่ ความถกู ต้อง 80. ความเชือ่ ของชาวมุสลิมข้อใดทีใ่ กล้เคียงกบั เรือ่ งกรรมในพระพุทธศาสนา 1. ศรทั ธาในศาสนทูตและเทวทตู 2. ศรทั ธาในกฎสภาวะของพระเจ้า 3. ศรัทธาในวันพิพากษา 4. ศรัทธาในการละหมาด 81. มหากาพย์เรื่องใดของศาสนาพราหมณ์ –ฮินดู มีอทิ ธิพลต่อวัฒนธรรมไทยมากที่สดุ 1. มหาภารตะ 2. คัมภรี ์พระมนู 3. รามายณะ 4. คัมภรี ์ปรุ าณะ 82. ข้อใดเป็นคาสอนทีส่ าคัญที่สดุ ทีพ่ ระเยซูทรงประกาศแก่ปวงชน 1. “อย่าฆ่าคน” 2. “อย่าคิดมชิ อบ” 2. “จงรักเพื่อนมนุษย์เหมอื นรักตนเอง” 4“จงนมัสการพระเจ้าแต่เพียงพระองค์เดียว”

~ 11 ~ 83. ทาไมศาสนาอิสลามจึงห้ามมุสลิมบูชาเคร่อื งรางของขลัง 1. เพราะสิ่งเหล่าน้ันเปน็ ความงมงายทีไ่ ร้เหตุผล 2. เพราะเครือ่ งรางของขลงั เป็นสิ่งทีม่ นุษย์สร้างขึ้น 3. เพราะเครือ่ งรางของขลงั ทาให้มองไม่เห็นพระเจ้า 4. เพราะเป็นการ “ต้ังภาคี” เสมอกับพระอลั ลอฮ์ 84. เพราะเหตุใดเผา่ อารยันในพระเวทจงึ ยกย่องธรรมชาติว่าเปน็ เทพเจ้า 1. เพราะเชื่อวา่ ธรรมชาติมีความลีล้ บั ซับซ้อน 2. เพราะเชือ่ วา่ ธรรมชาติมีวญิ ญาณเช่นเดียวกบั มนุษย์ 3. เพราะเชื่อวา่ ธรรมชาติมีพลังอานาจจึงเกิดความหวาดกลวั 4. เพราะเชือ่ วา่ ธรรมชาติใหค้ ุIและโทษแก่ผู้ที่นับถือได้ 85. ข้อใดสอดคล้องกับ “กฎแห่งกรรม” ในพระพทุ ธศาสนา 1. คนบางคนทาช่ัวแตไ่ ด้ดี 2. ปลกู พืชใดย่อมได้ผลน้ัน 3. สรรพสิง่ ดาเนินไปอย่างมรี ะเบียบ 4. ความบงั เอิญในชีวิตเกิดข้ึนตลอดเวลา 86. หลักธรรมใดสามารถนาไปใช้ฝึกอบรม กาย วาจา ใจ ใหเ้ กิดคณุ ธรรม มคี วามรถู้ ูกต้อง และรู้จกั ดารงชีวติ อย่างมคี วามสขุ 1. มรรค 8 2. โลกธรรม 3. ขันธ์ 5 4. ไตรลักษณ์ 87. ข้อใดไม่ใช่ความเชือ่ ของศาสนาอสิ ลาม 1. พระเจา้ ทรงสร้างชีวิต แล้วปล่อยใหว้ ิวัฒนาการไปตามเงอ่ื นไข 2. พระเยซูคือนะบีคนหนึ่งตามความเชื่อของอสิ ลาม 3. พระเจา้ ทรงสร้างโลกหกวันและวันทีเ่ จด็ ทรงหยดุ พักผอ่ น 4. พระเจา้ ทรงสร้างมนุษย์มาใหเ้ ป็นเจ้าของทรพั ยากรธรรมชาติ 88. การสารภาพบาปในศาสนาคริสตม์ ีจุดประสงค์หลักเพือ่ อะไร 1. เพือ่ ให้เราใกล้ชิดศาสนาโดยการไปหาพระทีว่ ดั บ่อยๆ 2. เพือ่ ให้เราสบายใจเมอ่ื เผลอทาความผดิ ลงไป 3. เพือ่ เป็นการเริม่ ต้นทาความดีหลังจากยอมรบั ความผิดพลาด 4. เพือ่ แสดงวา่ พระเจ้าทรงรักมนุษย์และพรอ้ มจะให้อภัยเราเสมอ 89. การบรรลุโมกษะของศาสนาฮินดคู ืออะไร 1. การได้กลบั ไปรวมเป็นหน่งึ กบั พระผู้เป็นเจ้า 2. ความหลดุ พ้นจากทกุ ข์ 3 การมีชีวติ เป็นนิรนั ดรใ์ นสวรรค์ 4.ประสบการณท์ างจิตซึ่งเป็นผลจากการภาวนา

~ 12 ~ 90. อริยมรรคใดเกี่ยวกบั ไตรสิกขาที่ว่าด้วยปญั ญา 1. สัมมาทิฐิ 2. สมั มาสติ 3. สัมมาวายามะ 4. สมั มากมั มันตะ 91. หลักศรัทธาต่อพระเจ้าของอิสลามมคี วามหมายอย่างไร 1. พระอัลลอฮฺ เป็นพระเจ้าผสู้ ร้างและผลู้ ิขติ 2. เอกภาพของมสุ ลิมข้นึ อยู่กบั การนับถือ 3. พระอัลลอฮฺ ทรงเป็นพระเจ้าเพียงพอพระองค์เดียว 4. พระเจา้ บัญชาให้ศรัทธาในพระมุฮัมมัดเพียงองค์เดียว 92. ตามหลักศาสนาคริสต์ ความศรัทธาในพระเจ้าแสดงออกรูปแบบใดมากที่สดุ 1. การสารภาพบาป 2. การไปโบสถ์เป็นประจา 2. การสวดภาวนาต่อพระเจา้ 4. การมคี วามรกั ในเพื่อนมนษุ ย์ 93. วิญญาณในพระพุทธศาสนา หมายถึงอะไร 1. ตวั ตนทีแ่ ท้จรงิ ของมนษุ ย์ 2. ความรสู้ ึกของมนุษย์ที่ไม่แตกดับ 3. ส่วนทีจ่ ะไปเกิดใหมเ่ มื่อคนเราสิน้ ชีวติ แลว้ 4. การรับรู้ทางตา หู จมกู ลิน้ กายและใจ 94. กรรมตามหลักพระพทุ ธศาสนา หมายถึงอะไร 1. การกระทาทุกอย่าง 2. การกระทาทีเ่ กิดจากความจงใจ 3. กายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม 4. ผลของความดีหรอื ความช่วั ที่จะติดตามผู้กระทาไปยังโลกหนา้ 95. ข้อใด ไม่ได้ กล่าวถึงสิ่งที่เป็นประเภทเดียวกันของศาสนาต่างๆ 1. อลั กุรอาน ไบเบิล พระเวท 2. โมเสส พระเยซู พระมฮุ ัมมัด 3. เมกกะ เบธเลเฮม็ นาซาเร็ธ 4. ซุนนี โปรเตสแตนต์ ยดู าย

~ 13 ~ 96. นกั บวชในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกต่างจากนักบวชในศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนตอ์ ย่างไร 1. นักบวชคาทอลิกทาพิธีทางศาสนาได้ แต่นักบวชโปรเตสแตนตท์ าไม้ได้ 2. นกั บวชคาทอลิกไม่สามารถแตง่ งานมคี รอบครัวได้ แตน่ ักบวชโปรเตสแตนตอ์ าจแต่งงานมี ครอบครวั ได้ 3. นกั บวชคาทอลิกอยู่ประจาที่ แตน่ ักบวชโปรเตสแตนต์ต้องเดินทางไปประกาศศาสนายงั ดินแดน ต่างๆ 4. นกั บวชคาทอลิกใช้ภาษาละตินในการประกอบพิธีทางศาสนา สว่ นนกั บวชโปรเตสแตนตใ์ ช้ ภาษาอังกฤษ 97. ข้อใดกล่าวถึงศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลามได้ถูกต้อง 1. ท้ังสองศาสนาเชือ่ ในพระเจ้าองค์เดียวกนั 2. ทั้งสองศาสนาเหน็ ว่ารฐั ต้องอยู่ภายใต้ศาสนา 3. ท้ังสองศาสนาเชื่อวา่ ศาสดาของตนคอื บุตรของพระเจ้า 4. ทั้งสองศาสนาเชื่อวา่ ความรักและการใหอ้ ภัยคือคณุ ธรรมสาคัญ 98. การฝึกฝนเพื่อให้เกิดปญั ญา ตามคาสอนของพทุ ธศาสนา มคี วามหมายตรงกบั ข้อใด 1. การฝึกจิตใหเ้ รียบร้อยเปน็ ปกติ 2. การฝึกจิตให้หนักแน่นในการดารงชีวติ 3. การฝึกจิตให้ต้ังม่ันไม่หวัน่ ไหวในการประกอบอาชีพ 4. การฝึกจิตใหฉ้ ลาด สามารถรู้เท่าทันความจริงของโลกและชีวิต 99. ศาสนาพทุ ธ คริสต์ อิสลาม และฮินดู มีจดุ มุ่งหมายในการสอนทีส่ อดคล้องกนั มากที่สุดในข้อใด 1. สอนให้เปน็ คนซือ่ สัตย์ 2.. สอนให้เปน็ คนเสียสละ 3. สอนให้มคี วามรกั ต่อกนั 4. สอนใหเ้ ป็นคนรู้จักใหอ้ ภัย 101. ความเชือ่ ของคนไทยในเรื่องใดไม่ได้รบั อิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์-ฮินดู 1. การถือฤกษ์งามยามดี การถือศลี ถือวัน 2. ความขลังและศักดิ์สิทธิข์ องเวทมนตค์ าถา 3. ความเปน็ ศิรมิ งคลชึ้นอยู่กบั ผกู้ ระทา 4. การโคจรของดวงดาวมีอทิ ธิพลต่อชวี ิตมนุษย์ 102. การชุมนุมประท้วงโดยสงบ ตรงกับหลกั ธรรมในศาสนาฮินดใู นข้อใด 1. หลกั อาศรม 4 2. หลกั วรรณะ 4 3. หลกั อหิงสา 4. หลักชญานโยคะ

~ 14 ~ 103. การบริจาคทานที่เรียกว่า “ซะกาด” ในศาสนาอิสลามมีจดุ ประสงค์เพือ่ อะไร 1. เพื่อให้สละความเหน็ แก่ตัว 2. เพือ่ ใหร้ ู้จักช่วยเหลอื เพื่อนมนุษย์ 3. เพือ่ ให้เรารู้จกั ทาความดีที่ใครๆก็สามารถทาได้ถ้าประสงค์จะทา 4. เพื่อให้สังคมมหี ลกั ประกันว่าคนทีไ่ ม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ทางเศรษฐกิจจะได้รบั การคุ้มครอง 104. การให้ทานตามคาสอนของพทุ ธศาสนา มีจดุ ประสงค์หลักเพื่ออะไร 1. การชาระความโลภในใจ 2. สร้างความเท่เทียมกนั ในสังคม 3. ทาความดีเพือ่ สง่ ผลใหเ้ กิดใหมใ่ นภพภูมิที่ดี 4. เพื่อให้ตนทาความดีและช่วยเหลือผอู้ ื่นที่ขาดแคลน 105. ศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม พราหมณ์-ฮินดู มีความเชอ่ื ที่สอดคล้องกนั ในเร่อื งใดมากที่สุด 1. เรือ่ งวันสิ้นโลก 2. พรหมลิขติ 3. เรอ่ื งพระเจ้าสร้างโลก 4. เรื่องการมอี ยู่ของเทพเจ้าและเทวดา 106.หลกั ธรรมขอ้ ใดของศลี 5 ในศาสนาพุทธ ทีต่ รงกบั หลักธรรมในศาสนาอื่นมากที่สุด 1. การไม่ลกั ขโมย 2. การไม่ล่วงประเวณี 3. การไม่ฆ่าไม่เบียดเบียน 4. การไม่เสพสิ่งเสพติดให้โทษ 107. พระพทุ ธศาสนาสอนให้คนมี “ศรทั ธา” ที่ถกู ต้องอย่างไร 1. ตอ้ งประกอบด้วยปญั ญาหรอื เหตุผล 2. เกิดจากคาสอนของครูอาจารย์ 3. เชือ่ ในสิ่งทีส่ อดคล้องกับนิสยั ของเรา 4. เชอ่ื ในสิ่งที่เหมาะสมกบั กาลเวลา 108.เพราะเหตุใด หลกั คาสอนเรื่อง “อริยสัจ 4 ” จงึ ได้ชื่อวา่ เปน็ ทฤษฎีในทางพระพทุ ธศาสนา 1. มีกฏเกณฑ์ทีเ่ ช่อื ถือได้ ถูกต้องและเป็นจรงิ 2. มีการตงั้ ปัญหาอย่างเป็นข้ันตอน 3. มีผู้คนยอมรับจานวนมาก 4. เกิดจากความคิดของพระศาสดา 109.หลักธรรมขอ้ ใด เม่อื คณะปัญจวคั ีย์ทั้ง 5 ได้ฟังจากปากของพระพุทธองค์แล้ว เกิดความเข้าใจแจ่มแจ้ง จนบรรลอุ รหัตถ์เป็นพระอรหันต์ 1. พระวินัยปิฎก 2. พระสุตตันตปิฎก 3.อนตั ตลักขณสูตร 4. โลกุตรธรรม

~ 15 ~ 110.พุทธจริยาขอ้ ใด หมายถึงการปฏิบตั ิหน้าทีข่ องพระบรมศาสดา เผยแผ่หลักธรรมคาสอนให้มวลมนษุ ย์ ตลอดพระชนม์ชีพของพระองค์ 1. โลกัตถจรยิ า 2. ญาตัตถจริยา 3. พทุ ธัตถจริยา 4. สัมมาสมั พุทธเจา้ 111. เพราะเหตุใด “ขนั ธ์ 5” จงึ เปน็ ธรรมทีค่ วรรู้ เพือ่ ให้เขา้ ใจเรอ่ื งทุกข์ยิ่งขึน้ 1. สังขาร เป็นสิ่งกระตนุ้ ให้คนทาช่วั ได้ 2. เวทนา ความรสู้ ึกไม่สบายใจ 3. สัญญา จาได้ แยกแยะได้ ยั่วใหเ้ กิดกิเลส 4. เวทนา สญั ญา สงั ขาร เกีย่ วข้องกบั ทกุ ข์ท้ังสิน้ 112. จงพิจารณาข้อใด อยู่ในหลกั ธรรม “พละ 5” ท้ังหมด 1. ศีล สมาธิ ปัญญา ศรัมธา วริ ิยะ 2. ศรัทธา ปัญญา สัจจะ ทมะ จาคะ 3. ศีล ขันติ วิริยะ จาคะ ปัญญา 4. ศรัทธา วิรยิ ะ สติ ปัญญา สมาธิ 113. ประเพณีนิยมของชาวพุทธจะถือศีล 8 หรอื อโุ บสถศลี เม่อื ใด 1. วนั มหาสงกรานต์ 2. วันสาคัญทางพระพทุ ธศาสนา 3. วนั คล้ายวนั เกิดครบ 5 รอบ 4. การเข้าพิธีประกาศตนเป็นพุทธมามะกะ 114. พระพทุ ธเจ้าทรงบัญญัติใหม้ ีพธิ ีทอดกฐิน เพอื่ จุดมุ่งหมายใด 1. ให้พระสงฆ์มีจิตใจเสียสละ 2. ใหพ้ ระสงฆ์คัดเลือกภิกษุขึน้ ครองผา้ กฐิน 3. ให้พระสงฆ์มีผา้ จวี รผืนใหมแ่ ทนผืนเดิมทีช่ ารุด 4. ให้พระสงฆ์งดเว้นเดินทางในชว่ งฤดูฝน 115. ข้อใด มีความหมายสอดคล้องกับ “หลักศีลสิกขา” มากทีส่ ดุ 1. การตั้งสตคิ วบคุมจติ ใจใหแ้ นว่ แน่จนเกิดสมาธิ 2. การพัฒนาจติ ใจให้หลดุ พ้นจากกิเลส 3. การรักษาศลี หรอื ควบคุมกายและวาจาให้เปน็ ปกติ 4. การสารวมกาย วาจา และใจ ให้บริสทุ ธิ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook