Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนที่ ๔ สังคมชมพูทวีปฯ

แผนที่ ๔ สังคมชมพูทวีปฯ

Published by pim, 2019-10-26 05:09:33

Description: แผนที่ ๔ สังคมชมพูทวีปฯ

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๔ สังคมชมพูทวปี สมยั ก่อนพทุ ธกาล เวลา ๒ ช่ัวโมง 125

ช่วยกนั ตอบคาถาม “ชมพูทวปี ” คืออะไร  เกาะแห่งตน้ หวา้  ดินแดนท่ีเป็นแหล่งกาเนิดพระพทุ ธศาสนา  ประเทศอินเดีย 126

๒. พทุ ธประวตั ิ พทุ ธประวตั ิ คือ เรื่องราวของพระพทุ ธเจ้า การศึกษาพทุ ธประวตั จิ ะทาให้เรามคี วามรู้และ ความเข้าใจทถ่ี ูกต้อง รวมท้งั ได้แบบอย่างในการ ดาเนินชีวติ 127

๒.๑ สงั คมชมพทู วปี สมยั ก่อนพทุ ธกาล “ชมพูทวปี ”  เป็นแหล่งกาเนิดพระพทุ ธศาสนา แปลวา่ เกาะแห่งตน้ หวา้  เดิมเป็นท่ีอยอู่ าศยั ของ “ดราวเิ ดียน” แต่เมื่อ ๘๐๐ ปี ก่อนพทุ ธกาล ถูกพวก “อารยนั ” เขา้ ยดึ ครอง 128

๒.๑ สงั คมชมพทู วปี สมยั ก่อนพทุ ธกาล “ชมพูทวปี ”  พวกอารยนั เรียกพวกดราวิเดียนวา่ “ทสั ย”ุ หรือ “มิลกั ขะ” หรือ “อนาริยกะ”  เมื่ออยรู่ ่วมกนั นาน ๆ ผา่ นยคุ สมยั ต่าง ๆ วถิ ีชีวิต ลทั ธิความเชื่อ ตลอดจนวฒั นธรรมประเพณีท้งั ของ พวกอารยนั และพวกดราวเิ ดียน ไดผ้ สมกลมกลืนกนั จนแยกไม่ออก 129

๒.๑ สงั คมชมพทู วปี สมยั ก่อนพทุ ธกาล ด้านการเมืองการปกครอง สมยั ก่อนพทุ ธกาล ปกครองดว้ ยระบอบสามคั คีธรรม  พระราชวงศช์ ้นั สูง + ประชาชนมีสิทธ์ิในการปกครอง  ถา้ กษตั ริยป์ ระพฤติผดิ ราชธรรมอาจถูกประชาชนทูลเชิญใหส้ ละราชสมบตั ิ สมัยพุทธกาล ปกครองดว้ ยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยห์ รือราชาธิปไตย  พระราชามีอานาจเดด็ ขาดในการปกครอง  ระบอบสามคั คีธรรมยงั คงใชอ้ ยใู่ นบางแควน้ 130

๒.๑ สงั คมชมพทู วปี สมยั ก่อนพทุ ธกาล ด้านการเมืองการปกครอง เขตการปกครอง ประกอบดว้ ยแควน้ ใหญ่ ๑๖ แควน้ แควน้ เลก็ ๆ ๕ แควน้ แคว้นใหญ่ ๑๖ แคว้น องั คะ มคธ กาสี โกศล วชั ชี มลั ละ เจตี วงั สะ กรุ ุ ปัญจาละ มจั ฉะ สุรเสนะ อสั สกะ อวนั ตี คนั ธาระ และกมั โพชะ แคว้นเลก็ ๕ แคว้น ข้ึนอยกู่ บั แควน้ ที่ใหญ่ เสมือนเป็นเมืองข้ึน ไดแ้ ก่ สกั กะ โกลิยะ ภคั คะ วเิ ทหะ และ องั คุตตราปะ 131

๒.๑ สงั คมชมพทู วปี สมยั ก่อนพทุ ธกาล ด้านการเมืองการปกครอง มที ้งั หมด ๒๑ แคว้น แบ่งเป็ นแคว้นใหญ่ ๑๖ แคว้น แคว้นเลก็ ๆ ๕ แคว้น โดยมแี คว้นท่มี ีชื่อเสียง คือ 1. แคว้นมคธ “รูปแบบการปกครอง” 2. แคว้นโกศล 3. แคว้นวงั สะ มี ๒ ระบอบ 4. แคว้นอวนั ตี 5. แคว้นวชั ชี ๑. ราชาธิปไตย หรือสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ๒. สามัคคธี รรม 132

๒.๑ สงั คมชมพทู วปี สมยั ก่อนพทุ ธกาล ด้านสังคม ชาวอารยนั ได้สวมรอยว่า พระพรหม ได้กาหนด ชะตาชีวติ ของมนุษย์ไว้ ๔ วรรณะ คือ 1. วรรณะพราหมณ์ 2. วรรณะกษตั ริย์ 3. วรรณะแพศย์ 4. วรรณะศูทร 133

๒.๑ สงั คมชมพทู วปี ในสมยั ก่อนพทุ ธกาล ด้านสังคม ชาวพ้ืนเมือง (ดราวิเดียน) มีความเจริญดา้ นวตั ถุ เช่น สถาปัตยกรรม ประติมากรรม ปรัชญา และศาสนาพราหมณ์ เชื่อในพรหมลิขิต เม่ือชาวอารยนั เข้ามายึดครอง ก็ได้ใช้ความเช่ือในขอ้ น้ีอา้ งว่าพระพรหมได้กาหนดชะตาชีวิตมนุษยไ์ ว้ ๔ วรรณะ คือ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ และศูทร การแบ่งชนช้ันวรรณะในสมัยต้น ๆ ยังไม่เคร่ งครัด ต่อมาในสมัยท่ี พวกพราหมณ์มีอานาจจึงได้ถือกันอย่างเคร่งครัดมาก ลูกหลานที่เกิดในวรรณะ ใดกต็ อ้ งใชช้ ีวิตและทางานของวรรณะน้นั เท่าน้นั ใครฝ่ าฝืนจะถูกพระเจา้ ลงโทษ 134

๒.๑ สงั คมชมพทู วปี สมยั ก่อนพทุ ธกาล ด้านสังคม การแบ่งชนช้นั วรรณะเป็นปัญหาสาคญั ของสังคมชมพทู วปี ต้งั แต่สมยั ก่อน พทุ ธกาลจนมาถึงสมยั พทุ ธกาล พระสิทธตั ถะทรงรับรู้ปัญหามาโดยตลอด ทรงคิดวา่ ถา้ สังคมยงั ตกอยใู่ นอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ท่ีเชื่อในเร่ืองพรหมลิขิต และยอมรับ เร่ืองระบบวรรณะ ประชาชนในวรรณะต่าตอ้ ยจะไม่มีโอกาสเป็นไทแก่ตวั เองไดเ้ ลย พระองคจ์ ึงทรงหาทางปฏิวตั ิความคิดความเชื่อใหเ้ ลิกเช่ือในเรื่องพรหมลิขิต และได้ ตรัสรู้ “หลกั กรรมลขิ ิต” วา่ ชีวติ ของคนเราจะดีหรือชว่ั ไม่ไดข้ ้ึนอยกู่ บั พรหมลิขิต หาก ข้ึนอยกู่ บั การกระทาของเรานนั่ เอง 135

เร่ืองน่ารู้ : “จัณฑาล” “จณั ฑาล” คือ พวกนอกวรรณะ ซึ่งเกดิ จากพ่อแม่ต่างวรรณะกนั แต่งงาน กัน ซึ่งจะไม่ได้รับการยอมรับนับถือจากสังคม ได้รับการดูถูกเหยียด หยามจากคนวรรณะอื่น ไม่มศี ักด์หิ รือสิทธ์ิใด ๆ ในสังคม แม้แต่เดนิ ทับเงากนั หรือได้พบเห็นกนั กถ็ ือว่าเป็ นเสนียดจญั ไร ทต่ี ้องมกี ารปัดรังควาน 136

อวยั วะของพระพรหมต่อไปนี้ ช่วยกนั ตอบ ก่อเกดิ เป็ นกลุ่มคนวรรณะใด 137 วรรณะพราหมณ์ วรรณะกษตั ริย์ วรรณะแพศย์ วรรณะศูทร

๒.๑ สงั คมชมพทู วปี สมยั ก่อนพทุ ธกาล ดา้ นศาสนาหรือลทั ธิความเชื่อ แบ่งกลุม่ คนท่ีนบั ถือศาสนาและลทั ธิความเชื่อออกเป็น ๓ กลุม่ ใหญ่ คือ กลุ่มทม่ี ี กล่มุ ท่ี กล่มุ ที่ ความเชื่อ ยอมรับนับถือ ไม่ยอมรับ แบบด้งั เดมิ คมั ภีร์พระเวท คมั ภรี ์พระเวท 138

กล่มุ ท่ีมคี วามเชื่อแบบดง้ั เดิม • แบ่งออกเป็น ๔ กลุ่ม คือ • เช่น แผน่ ดิน ภูเขา • เช่น พระอาทิตย์ • เช่ือวา่ เม่ือตายไป • ววิ ฒั นาการมาจาก ตน้ ไม้ สตั ว์ น้า พระจนั ทร์ ดวงดาว วญิ ญาณยงั คงอยู่ และไฟ ต่าง ๆ ฟ้า ฝน ลม ความเช่ือในเร่ือง จึงมีการเซ่น วชิ ชุ (สายฟ้า) บวงสรวงวญิ ญาณ ท้งั สามแลว้ พฒั นา มาเป็ นส่ิงท่ีมีฤทธ์ ิ เหล่าน้นั กนั มีอานาจเหนือคน ทว่ั ไป 139

กล่มุ ที่ยอมรับนับถือคัมภรี ์พระเวท • ไดแ้ ก่ พวกพราหมณ์ ความเช่ือคลา้ ยพวกนบั ถือเทพเจา้ แต่พฒั นาความคิดไปลึกซ้ึง สลบั ซบั ซอ้ น โดยพรรณนาอานาจของเทพเจา้ ไวอ้ ยา่ งพิสดารในคมั ภีร์พระเวท ประกอบดว้ ย ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท อาถรรพเวท • ประมวลบท • ประมวลหลกั การ • ประมวลบทสวด • วา่ ดว้ ยคาถาอาคม สวดออ้ นวอน บวงสรวงเทพเจา้ สาหรับเห่ ทางไสยศาสตร์ สรรเสริญเทพเจา้ และการทาพธิ ี ขบั กลอ่ มเทพเจา้ พลีกรรม ในการทาพธิ ี บูชายญั 140

กล่มุ ที่ไม่ยอมรับคัมภีร์พระเวท • กลุ่มน้ีมีความคิดความเชื่อตา่ งไปจากพวกพราหมณ์ ในพรหมชาลสูตร ทีฆนิกาย สีลขนั ธวรรค พระสุตตนั ตปิ ฎก มี ๖ ลทั ธิ คือ อกริ ิยทิฏฐิ อเหตุกทฏิ ฐิ นัตถกิ ทิฏฐิ – เจา้ ลทั ธิ คือ ปูรณกสั สปะ – เจา้ ลทั ธิ คือ มกั ขลิโคสาล – เจา้ ลทั ธิ คือ อชิตเกสกมั พล สัสสตทิฏฐิ อมราวกิ เขปิ กทฏิ ฐิ อตั ตกลิ มถานุโยค – เจา้ ลทั ธิ คือ ปกทุ ธกจั จายนะ – เจา้ ลทั ธิ คือ สญั ชยั เวลฏั ฐบตุ ร และอเนกานตวาท – เจา้ ลทั ธิ คือ นิครนถนาฏบตุ ร 141

อกริ ิยทฏิ ฐิ (ปรู ณกัสสปะ) อเหตุกทฏิ ฐิ (มกั ขลิโคสาล) – ไมม่ กี รรม ไมว่ ่าทาดีหรือชว่ั ไมม่ บี ญุ บาปท่ีเกิดจากการ – ทกุ สงิ่ ท่ีเกิดขนึ ้ ล้วนไมม่ ีเหตปุ ัจจยั ใด ๆ ทงั ้ สนิ ้ ไมม่ ีใครสร้าง กระทา (การฆา่ สตั ว์ การลกั ทรัพย์ การสารวมศีล ไม่เป็นบญุ ไมม่ ใี ครปรุงแตง่ ทกุ สงิ่ เกิดขนึ ้ เอง สตั ว์ทงั ้ หลายหลงั ไปใน เป็นบาปอะไร) สงั สารวฏั แล้วก็บริสทุ ธ์ิได้เอง นิตถกิ ทฏิ ฐิ (อชติ เกสกัมพล) สัสสตทฏิ ฐิ (ปกุทธกัจจายนะ) – ไมเ่ ช่ือเร่ืองการทาบญุ ทาทาน การเซน่ บวงสรวง – สภาวะทงั ้ ๗ คือ ดนิ นา้ ลม ไฟ สขุ ทกุ ข์ และชีวะ เกิดขนึ ้ – โลกนีโ้ ลกหน้าไมม่ ี เอง ไมม่ ใี ครเนรมติ เป็นสภาพที่ยง่ั ยืน ไมเ่ ปลี่ยนแปลง – ร่างกายของสตั ว์ทงั ้ หลายเป็นเพียงธาตุ ตายแล้วสญู ไมม่ ใี ครทาลายได้ บาปกรรมจากการฆา่ ไมม่ ี อมราวกิ เขปิ กทฏิ ฐิ (สัญชัยเวลัฏฐบุตร) อตั ตกลิ มถานุโยคและอเนกานตวาท (นิครนถนาฏบตุ ร) – การทรมานกายเป็นทางสคู่ วามพ้นทกุ ข์ – เป็นลทั ธิท่ีมีความเห็นไมแ่ น่นอน ซดั สา่ ย ลน่ื แบบปลาไหล – ความจริงมีหลายเง่ือนหลายแง่ เช่น เรื่องหน่งึ เหตกุ ารณ์หนง่ึ เพราะปฎิเสธไปเสยี ทกุ อยา่ ง เช่น อย่างนีก้ ็ไมใ่ ช่ อย่างนนั ้ ก็ เม่อื พิจารณาในแงน่ ีอ้ าจจริงและถกู แต่พิจารณาอีกแงห่ น่งึ ก็ ไมใ่ ช่ อยา่ งอ่ืนก็ไมใ่ ช่ โลกนีก้ ็ไมใ่ ช่ โลกหน้าก็ไมใ่ ช่ ไมจ่ ริงไมถ่ กู (ปัจจบุ นั คือ ศาสนาเชน) 142

เร่ืองน่ารู้ พรหมมีชีวติ เป็ นอมตะจริงหรือ... ท้าวพกพรหม เมื่อยงั เป็ นมนุษยบ์ วชเป็ นฤาษีบาเพญ็ เพียรจนไดฌ้ าน ตายแลว้ ไปเกิดเป็ นพรหม แต่ชีวิตในพรหมโลกน้นั ยาวนานมาก ๆ เม่ือพกพรหม ไปอยนู่ านเขา้ กเ็ ลยคิดวา่ พรหมโลกเป็นสิ่งเที่ยงแท้ เป็นอมตะไม่มีการเกิด ไม่มี การตาย เป็นภพท่ีพน้ จากทุกข์ เป็นที่ประเสริฐท่ีสุด พระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ทรง ทราบความคิดของพกพรหมจึงเสด็จไปเทศน์โปรดถึงพรหมโลก จนกระทง่ั พกพรหมเกิดความเห็นถูกตอ้ งวา่ ... พรหมโลกไม่ใช่ท่ีเยี่ยมที่สุด อายุของตนไม่ไดย้ าวนานอย่างที่คิด ยงั จะตอ้ งมีการเกิดการตายอีกและยอมรับนบั ถือวา่ พระสัมมาสัมพุทธเจา้ เป็ น ผเู้ ลิศที่สุด ไม่มีใครประเสริฐยง่ิ กวา่ 143

ทายช่ือลทั ธิจากข้อความทกี่ าหนดให้ อกริ ิยทิฏฐิ อเหตุกทฏิ ฐิ ไม่มีกรรม ไม่วา่ ทาดีหรือชวั่ ทุกสิ่งเกิดข้ึนเอง ไม่มีใครสร้าง ไม่มีบุญบาปที่เกิดจากการกระทา ไม่มีใครปรุงแตง่ นัตถกิ ทฏิ ฐิ สัสสตทิฏฐิ ไม่มีโลกหนา้ สัตวท์ ้งั หลาย เป็นเพียงธาตุ ตายแลว้ สูญ ดิน น้า ลม ไฟ สุข ทุกข์ ชีวะ ไม่อาจทาลายได้ บาปจากการฆ่าไม่มี อมราวิกเขปิ กทฏิ ฐิ เป็นลทั ธิท่ีมีความเห็นไม่แน่นอน คดั คา้ น อตั ตกลิ มถานุโยคและอเนกานตวาท ปฏิเสธไปเสียทุกอยา่ ง เช่ือเรื่ องการทรมานกายเป็ นทาง ไปสู่ความพน้ ทุกข์ 144


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook