Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตลาดในระบบเศรษฐกิจ - รศ.รัฐวิชญญ์

ตลาดในระบบเศรษฐกิจ - รศ.รัฐวิชญญ์

Published by pim, 2020-10-27 02:56:34

Description: ตลาดในระบบเศรษฐกิจ - รศ.รัฐวิชญญ์

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบคาบรรยาย โครงการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาในด้านเศรษฐศาสตร์ เรือ่ ง ตลาดในระบบเศรษฐกจิ โดย รองศาสตราจารยร์ ฐั วิชญญ์ จิวสวสั ดิ์ สาขาวชิ าเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช

สารบญั หน้า 1 1. ความหมายของตลาด 1 2. ประเภทของตลาด 3 3. ข้อสมมติในการวิเคราะหพ์ ฤตกิ รรมของหนว่ ยธรุ กิจในตลาด 4 4. กาไรและขาดทุนของหน่วยธรุ กิจ 4 5. ตลาดสนิ ค้า 5 6 5.1 ตลาดแข่งขนั สมบรู ณ์ 9 5.2 ตลาดผกู ขาด 10 5.3 ตลาดกง่ึ แข่งขันกงึ่ ผูกขาด 16 5.4 ตลาดผ้ขู ายนอ้ ยราย 16 6. ตลาดปัจจยั การผลิต 17 6.1 ความหมายของตลาดปจั จยั การผลติ 18 6.2 ประเภทของตลาดปัจจัยการผลติ 19 7. ความล้มเหลวของตลาด 20 7.1 สินคา้ ท่ีก่อใหเ้ กิดความล้มเหลวของตลาด 7.2 การแทรกแซงของรัฐเม่ือเกดิ ผลกระทบภายนอก

ตลาดในระบบเศรษฐกิจ รองศาสตราจารยร์ ัฐวิชญญ์ จวิ สวัสดิ์ 1. ความหมายของตลาด ความหมายของตลาดแบ่งออกเป็น 2 นัยคือ ความหมายทั่วไป และความหมายทางเศรษฐศาสตร์ ดังน้ี 1) ความหมายโดยท่ัวไป “ตลาด” หมายถึง สถานทที่ ี่ผ้ซู ้ือและผขู้ ายใช้พบกนั เพ่ือต่อรองตกลงซื้อ ขายแลกเปลีย่ นสนิ ค้าและบริการต่างๆ ทาใหส้ ินค้าและบริการแตล่ ะชนดิ มีราคาตลาดตลาดจึงมีบทบาทสาคัญ ในการกาหนดราคาสินค้าและบริการแต่ละชนิด โดยราคาสินค้าและบริการแต่ละชนิดที่กาหนดข้ึนโดยตลาด เป็นสิ่งที่แสดงถึงมูลค่าท่ีเป็นตัวเงินของสินค้าและบริการชนิดนั้นๆ ที่ผู้บริโภคยินดีซ้ือและผู้ขายยินดีขายทาให้ เกดิ การแลกเปลยี่ นกนั ระหว่างผซู้ ื้อและผู้ขาย 2) ความหมายทางเศรษฐศาสตร์ ตลาดในความหมายทางเศรษฐศาสตร์จะแตกต่างไปจาก ความหมายโดยทั่วไป “ตลาด” จะเกิดข้ึนเมื่อการท่ีผู้ซื้อและผ้ขู ายสามารถแลกเปลีย่ นซ้ือขายกันได้ ท้ังนี้โดย ผซู้ ือ้ และผขู้ ายจะได้พบปะกนั หรือไม่ก็ตาม จะมสี ถานท่ีท่ีทาการซื้อขายกันหรือไม่ก็ตาม การตกลงซื้อขายกัน อาจติดต่อกันระหว่างผู้ซ้ือและผู้ขายโดยตรงหรือโดยผ่านตัวแทนก็ได้ในช่องทางต่างๆ เช่นทางโทรศัพท์ ทาง วทิ ยุ ทางอนิ เทอร์เนต็ หรืออื่นๆ กไ็ ด้ ถา้ ตราบใดท่กี ารตกลงซ้ือขายแลกเปล่ยี นเกดิ ขึ้นก็ถือวา่ ได้เกดิ ตลาดสินค้า และบริการนั้นๆ แล้ว ดังนั้น ตลาดทางเศรษฐศาสตร์จงึ หมายถึง การท่ีผู้ซื้อและผู้ขายสามารถติดตอ่ ตกลง กนั ซือ้ ขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการระหว่างกัน 2. ประเภทของตลาด การแบง่ ประเภทของตลาดน้นั สามารถแบง่ ตลาดได้หลายลักษณะข้นึ อยู่กบั วา่ จะใช้เกณฑ์ใดเป็นหลัก ในการพิจารณาแบ่งประเภทของตลาด ดงั น้ี 1) พิจารณาจากวัตถุประสงค์ของการซื้อสินค้าไปใช้โดยทั่วไปผู้ท่ีซ้ือสินค้าอาจมีวัตถุประสงค์เพ่ือ นาไปใช้ในการบรโิ ภคหรอื ในการผลติ กไ็ ด้ การแบ่งโดยใชเ้ กณฑ์น้จี งึ แบ่งออกเป็นดังนี้ (อรรฆยค์ ณา แย้มนวล, 2552,น163-164) (1) ตลาดสนิ ค้าหรอื ตลาดผบู้ รโิ ภค หมายถงึ ตลาดท่ีผ้ซู ือ้ ซอ้ื สนิ ค้าและบริการไปใช้ในการบริโภค โดยตรง สินค้าท่ีซ้ือขายกันในตลาดน้ีเรียกว่า สินค้าข้ันสุดท้าย (final product) อาจเป็นสินค้าเกษตร เช่น เน้ือหมู เนื้อไก่ ปลา ผัก ผลไม้ เป็นต้น สินค้าอุตสาหกรรม เช่น เครื่องปรับอากาศ รถยนต์ เสื้อผ้า ปากกา ดินสอ เป็นต้น สินค้าประเภทการบริการ เช่น การประกันชีวิต การประกันภัย การขนส่งโลจิสติกส์ การ โรงแรม การไปรษณีย์ การท่องเทย่ี ว เปน็ ตน้ (2) ตลาดปัจจัยการผลิตหรือตลาดผู้ผลิต หมายถึง ตลาดท่ีผู้ซ้ือสินค้าและบริการไปเพ่ือใช้เป็น ปัจจัยสาหรับการผลิต สินค้าท่ีซื้อขายกันในตลาดน้ี เรียกว่า สินค้าขั้นกลาง (intermediate product) อาจ

2 เป็นสินค้าเกษตร สินค้าอุตสาหกรรมหรือบริการก็ได้เช่นเดียวกับตลาดสินค้า ความแตกต่างระหว่างตลาด ปัจจัยการผลติ และตลาดสินคา้ อย่ทู ีก่ ารนาสินค้าน้นั ไปใช้ประโยชน์ 2) พิจารณาจากประเภทของสนิ ค้า โดยทัว่ ไปจะแบ่งเป็นตลาดดงั นี้ (1) ตลาดสินค้าเกษตรหรือสินค้าข้ันปฐม หมายถึง ตลาดที่มีการซ้ือขายสินค้าเกษตรชนิดต่างๆ ท้ังท่ีเป็น พืช ผัก ผลไม้ หรือสัตว์ ที่ผู้ซื้ออาจซื้อไปเพ่ือการบริโภคหรือนาไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตสินค้า ตา่ งๆ ก็ได้ (2) ตลาดสินค้าอุตสาหกรรม หมายถึง ตลาดท่ีมีการซ้ือขายสินค้าอุตสาหกรรมชนิดต่างๆ ซ่ึง ผู้ซื้ออาจซ้ือไปเพ่ือการบริโภค เช่น เส้อื ผ้า วทิ ยุ โทรศัพท์มอื ถือหรือสมารท์ โฟน โทรทศั น์ คอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้ หรืออาจนาไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตสินค้าต่างๆ เช่น ผ้า ด้าย ช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น หรืออาจ นาไปใช้เป็นอปุ กรณ์หรอื เคร่ืองมอื ประกอบการผลิต เชน่ จกั รเย็บผ้า เคร่ืองจกั รโรงงานอตุ สาหกรรม เป็นตน้ (3) ตลาดบริการ หมายถึงตลาดที่มกี ารซือ้ ขายการบริการต่างๆ เชน่ การธนาคาร การขนสง่ การ ประกันภยั ประเภทตา่ งๆ เปน็ ต้น 3) พิจารณาจากปริมาณการขายสินค้า โดยทั่วไปปริมาณสินค้าท่ีมีการซ้ือขายกันในแต่ละคร้ังอาจ เป็นจานวนท่ไี มม่ ากนกั หรอื อาจเป็นจานวนมากๆ กไ็ ด้ จึงแบง่ เป็นตลาดดงั นี้ (1) ตลาดขายปลกี หมายถึง ตลาดทม่ี ีการซื้อขายสนิ คา้ แต่ละครั้งเป็นจานวนไม่มาก โดยท่วั ไป มักเป็นกรณีที่ผู้ขายสินค้าให้กับผู้ซื้อที่นาไปบริโภคโดยตรง เช่น ร้านค้าหาบเร่ ร้านขายของเบ็ดเตล็ดขนาด ย่อม ร้านคา้ สะดวกซื้อ ห้างสรรพสนิ ค้า การขายผ่านเครือข่ายอเิ ล็กทรอนิกส์ การขายตรง เปน็ ตน้ (2) ตลาดขายส่ง หมายถึง ตลาดท่มี กี ารซ้ือขายสินค้าในแตล่ ะครั้งเป็นจานวนมาก โดยท่ัวไปมัก เป็นกรณีท่ีผู้ขายขายสินค้าให้กับผู้ซื้อที่ซื้อสินค้าไปเพ่ือจาหน่ายต่อให้กับผู้บริโภค หรือเพ่ือจาหน่ายต่อให้ พ่อค้าที่ซ้ือสินค้าไปเพ่ือจาหน่ายตอ่ ให้กับผู้บริโภคอีกทอดหน่ึง เช่น บริษัทผลิตเส้อื ยึดขายสนิ ค้าใหแ้ ก่ร้านค้า ย่อยและร้านค้าย่อยนาไปจาหน่ายให้แก่ผู้บริโภคต่อไป หรือพ่อค้าไก่รายใหญ่รับซื้อไก่จากเกษตรกรผู้เลี้ยง รายยอ่ ยเพอื่ นามาชาแหละหรือแปรรูปเปน็ ไกส่ ดนาสง่ ผ้ขู ายรายย่อยหรอื ขายปลกี เป็นตน้ สาหรับการแบ่งตลาดเพื่อการศึกษาพฤติกรรมการตัดสินใจของผู้ผลิตในการกาหนดปริมาณและราคา สินค้าท่ีจะทาการผลิตออกจาหน่ายนั้นจะใช้จานวนผู้ขายหรือ ผู้ซ้ือ และความเหมือนกันหรือแตกต่างกันของ สินคา้ มาเปน็ ตัวกาหนดจะแบง่ ตลาดออกเป็นดังนี้ (นราทิพย์ ชุติวงศ,์ 2542,น 288-289) 4) พิจารณาจากจานวนผู้ขายและลักษณะสินค้า การแบ่งตลาดในลักษณะน้ีจ ะถือว่ามี ผซู้ ้อื จานวนมาก ตลาดแบง่ ออกเปน็ (1) ตลาดแข่งขนั สมบูรณ์ (perfect competition) เป็นตลาดท่มี ผี ู้ขายจานวนมากมายขายสินคา้ ทมี่ ีลักษณะเหมอื นกนั ทุกประการ (2) ตลาดผู้ขายมากราย (monopolistic competition) หรือตลาดก่ึงแข่งขันกึ่งผูกขาด เป็น ตลาดที่ผู้ขายแต่ละรายซ่ึงมีจานวนมากต่างเผชิญกับสภาพการณ์ท่ีมีลักษณะกึ่งแข่ งขันก่ึงผูกขาดในการขาย สนิ ค้ากลุ่มเดียวกนั แตม่ ีความแตกต่างกนั และสินค้าน้นั ใช้แทนกนั ได้

3 (3) ตลาดผ้ขู ายนอ้ ยราย (oligopoly) เปน็ ตลาดทม่ี ผี ู้ขายจานวนนอ้ ยรายท่ีขายสนิ ค้าเหมือนกัน หรอื แตกต่างกันทสี่ ามารถแทนกันได้ (4) ตลาดผูกขาด (monopoly) เป็นตลาดทม่ี ผี ขู้ ายรายเดยี ว ขายสินคา้ ที่ไม่มีสินคา้ อ่นื ใช้แทนได้ สาหรับตลาดผู้ขายมากราย ตลาดผูข้ ายน้อยรายและตลาดผูกขาด อาจเรยี กได้วา่ ตลาดแขง่ ขนั ไม่ สมบูรณ์ (imperfect competition) 5) พจิ ารณาจากจานวนผซู้ อ้ื และลกั ษณะสนิ ค้า การแบง่ ตลาดในลกั ษณะนถ้ี ือว่ามผี ู้ขายจานวนมาก ตลาดแบง่ ออกเป็น (1) ตลาดแข่งขันสมบรู ณ์ (perfect competition) เป็นตลาดท่ีมผี ู้ซ้ือจานวนมาก ซื้อสนิ ค้าที่มี ลักษณะเหมือนกนั ทุกประการ (2) ตลาดผู้ซ้อื มากราย (monopolistic competition) หรอื ตลาดกึ่งแขง่ ขันกง่ึ ผกู ขาด เป็น ตลาดท่มี ผี ู้ซ้อื แตล่ ะคนจานวนมาก ต่างเผชญิ กับสภาพการณ์ทมี่ ลี ักษณะก่ึงแขง่ ขันก่ึงผูกขาด ในการซื้อสนิ คา้ ที่แตกตา่ งกนั แต่สามารถใชแ้ ทนกนั ได้ (3) ตลาดผู้ซ้อื น้อยราย (oligopoly) เป็นตลาดทมี่ ผี ซู้ ้ือน้อยรายซื้อสินค้าท่ีเหมอื นกนั หรือ แตกต่างกนั แตส่ ามารถใชแ้ ทนกันได้ (4) ตลาดผู้ซอ้ื คนเดียว (monopsony) เปน็ ตลาดทม่ี ผี ูซ้ ื้อเพียงคนเดียวซื้อสินค้าท่ีไมม่ สี นิ ค้าอ่ืน ใชแ้ ทนได้เลย 3. ข้อสมมตใิ นการวิเคราะห์พฤติกรรมของหนว่ ยธุรกจิ ในตลาด การพิจารณาพฤติกรรมของหน่วยธุรกิจในตลาดลักษณะต่างๆ จะอยู่ภายใต้ข้อสมมติท่ีสาคัญคือ หน่วยธุรกิจมีเป้าหมายที่จะทาให้ได้รับ กาไรสูงสุด (profit maximization) เสมอไม่ว่าหน่วยธุรกิจน้ันจะ ดาเนินธุรกิจอย่ภู ายใตต้ ลาดลักษณะใดก็ตาม แม้ว่าจะมีข้อถกเถียงโต้แย้งมากมายและเป็นที่ยอมรับว่า กาไร ไม่ได้เป็นเป้าหมายเดียวของหน่วยธรุ กิจ อาจมีหน่วยธุรกิจบางหน่วยท่ีไม่ได้ดาเนนิ ธรุ กิจตามเป้าหมายนี้ เชน่ อาจมีเปา้ หมายยอดขายสูงสุด หรอื มีสว่ นแบ่งตลาดมากทีส่ ุด หรือมคี วามเสยี่ งน้อยทส่ี ุด หรือต้องการเป็นท่ี ยอมรับของธุรกิจเดียวกันมากที่สุด หรืออ่ืนๆ อย่างไรก็ตามข้อโต้แย้งและข้อสรุปต่างๆ ก็ไม่อาจลบล้าง ความสาคัญหรือบทบาทของกาไรได้ และไม่ปรากฏมีข้อสมมติใดเกี่ยวกับเป้าหมายของหน่วยธุรกิจที่ จะ สามารถนามาใช้อธบิ ายและคาดคะเนพฤติกรรมของหนว่ ยธรุ กิจได้ดีกว่าข้อสมมติเกย่ี วกับกาไรสงู สุด แมว้ ่าใน การพิจารณาเป้าหมายของการดาเนินธุรกิจหลายๆ เป้าหมายพร้อมกันย่อมทาให้สามารถอธิบายพฤติกรรม ของหน่วยธุรกิจได้ถูกต้องมากกว่า แต่เป็นการวิเคราะห์ท่ีมีความยุ่งยากซับซ้อนดังน้ันข้อสมมติเก่ียวกับกาไร สูงสุดจึงเป็นข้อสมมติท่ีใช้ได้ดีกว่าข้อสมมติอื่น ทาให้สามารถสร้างทฤษฎีวิเคราะห์พฤติกรรมของหน่วยธุรกิจ และการจัดสรรปัจจัยการผลิต ท่ีสามารถนาไปใช้ในการอธิบายและคาดคะเนพฤติกรรมของหน่วยธุรกิจได้ดี พอสมควร และเหตุผลที่สาคัญอีกประการหนึ่งที่ทาให้ข้อสมมติกาไรสูงสุดยังใช้กันอยู่คือ ความสามารถท่ีจะ นาหลกั คณิตศาสตรม์ าชว่ ยในการวเิ คราะห์ได้โดยง่าย (นราทพิ ย์ ชตุ วิ งศ,์ 2542,น 289-290)

4 4. กาไรและขาดทนุ ของหน่วยธรุ กจิ ในการดาเนินธุรกิจใดๆ ส่ิงที่เป็นตัวช้ีต่อผู้ผลิตหรือหน่วยธุรกิจท่ีจะชักนาเข้าประกอบการในธุรกิจ นั้นๆ ก็คือ ผลตอบแทนจากการประกอบการในธุรกิจน้ัน โดยปกติแล้วแต่ละธุรกิจจะมีจานวนผลตอบแทนขน้ั ต่าท่ีจะเป็นส่ิงชักจูงใหผ้ ู้ผลิตอยู่ในธรุ กิจต่อไป ถ้าผู้ผลิตไม่ได้รับผลตอบแทนจานวนดังกลา่ ว สาหรับการผลติ ในระยะส้ันผู้ผลิตอาจจะทนทาการผลิตต่อไประยะหน่ึงถ้าการผลิตนั้นทาให้ขาดทุนน้อยลง แต่ถ้าสถานการณ์ ไม่ดีข้นึ เม่ือเป็นระยะยาวทีผ่ ู้ผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงปัจจัยคงทไ่ี ด้แล้ว ผ้ผู ลิตกจ็ ะเลิกผลิตสนิ ค้าดังกลา่ วและ หาช่องทางดาเนินธุรกิจอ่ืนท่ีดีกว่า ผลตอบแทนขั้นต่าก็คือ มูลค่าต้นทุนค่าเสียโอกาสจากการเข้ามา ประกอบการธุรกิจนั้น และเนื่องจากผลตอบแทนดังกล่าวเป็นผลตอบแทนต่อการประกอบการซ่ึงก็คือกาไร น่นั เอง กาไรขั้นตา่ สาหรับการประกอบธุรกิจหน่ึงๆ กค็ อื กาไรปกติสาหรบั ธรุ กจิ จึงเรยี กกาไรสว่ นน้วี า่ กาไร ปกติ (normal profit) เนื่องจากกาไรปกติเป็นกาไรท่ีจะทาให้การผลิตสามารถดาเนินการต่อไปได้ จึงต้องนับเป็นต้นทุนการ ผลติ ทธ่ี ุรกิจจาเปน็ ต้องไดร้ ับกลับมาด้วยกาไรที่แทจ้ ริงในความหมายทางเศรษฐศาสตร์จะเกิดข้ึนก็ต่อเมื่อผู้ผลิต หรือหน่วยธุรกิจมีรายได้เกินกว่าต้นทุนการผลิตท้ังจานวน ซ่ึงรวมกาไรปกติเข้าไว้ด้วย กาไรดังกล่าวนี้เรียกวา่ กาไรเกินปกติ (super normal profit) เมื่อกาไรปกติถือเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิต ดังน้ันถ้าหน่วยธุรกิจดาเนินการผลิตแล้วได้รายได้ ส่วนท่ีเป็นกาไรต่ากว่าจานวนที่เป็นกาไรปกติก็เรียกได้ว่า หน่วยธุรกิจ ขาดทุน ตัวอย่างเช่น ถ้ากาหนดให้ ผลตอบแทนมาตรฐานสาหรับธุรกิจชนิดหนึ่งคือ ผลตอบแทนสุทธิ (หลังหักค่าใช้จ่ายต่างๆ) จานวน 10 ล้าน บาทต่อปี ซึ่งก็คือกาไรปกติของธุรกิจดังกล่าว อย่างไรก็ตามในการดาเนินธุรกิจ ส่วนของผลตอบแทนสุทธิท่ี ได้รับจริงก็ไม่จาเป็นต้องเท่ากับจานวนกาไรปกติ ถ้าหน่วยธุรกิจสามารถทากาไรในรอบปีได้ 12 ล้านบาท จานวน 2 ล้านบาทท่ีเกินกว่ากาไรปกติน้ันก็คือ กาไรเกินปกติ ที่ถือว่าเป็นกาไรที่แท้จริงท่ีหน่วยธุรกิจได้รับ ในทานองตรงข้าม ถ้าผลตอบแทนสุทธิหลังหักค่าใช้จ่ายต่างๆ มีจานวนเท่ากับ 8 ล้านบาท หมายความว่า หน่วยธรุ กจิ ขาดทุน 2 ลา้ นบาท แม้วา่ จะยังคงมีกาไรเป็นผลตอบแทนต่อการประกอบการถึง 8 บาทกต็ าม ดังน้ันการพิจารณาผลประกอบการของหน่วยธุรกิจจากการเปรียบเทียบต้นทุนและรายรับ ต้นทุนที่ กลา่ วถึงได้แก่ค่าใช้จ่ายสาหรับปัจจยั การผลิตทุกชนดิ รวมท้ังกาไรปกติด้วย ถา้ หน่วยธุรกิจสามารถทารายได้ได้ ค้มุ ต้นทุนพอดี ก็กลา่ วไดว้ ่าหนว่ ยธุรกจิ ได้รับกาไรปกติ ถา้ รายได้สงู กวา่ ตน้ ทนุ ก็กล่าวได้ว่า หน่วยธุรกิจได้รับ กาไรเกินปกติ และถ้ารายได้ไม่คุ้มกับต้นทุน ก็เรียกว่าหน่วยธุรกิจขาดทุน (นราทิพย์ ชุติวงศ์,2542,น 298- 299) 5. ตลาดสินค้า ตลาดสินค้าเป็นตลาดท่ีพิจารณาทางด้านผู้ขายสินค้าในตลาดที่มีผู้ซ้ือสินค้าหรือผู้บริโภคจานวนมาก ตลาดสนิ คา้ แบ่งออกเป็นตลาดประเภทตา่ งๆ 4 ประเภท โดยมีลกั ษณะสาคัญของตลาดแต่ละประเภทมดี ังน้ี

5 5.1 ตลาดแข่งขันสมบรู ณ์ ตลาดแขง่ ขนั สมบูรณ์มลี ักษณะสาคญั (ปรชั ญ์ ปราบปรปักษ,์ 2555,น5-8ถึง5-9) ดงั น้ี 1) มีผู้ขายและผู้ซ้ือจานวนมาก การมีผู้ขายและผู้ซื้อจานวนมากหมายถึง ผู้ขาย ผู้ซ้ือ หรือหน่วย ธรุ กิจแต่ละรายจะมีขนาดเล็กมากเมื่อเปรยี บเทียบทั้งตลาด ทาใหป้ ริมาณการซอ้ื ขายของผู้ขายและผู้ซ้ือแต่ละ รายไม่ส่งผลกระทบตอ่ ปรมิ าณการผลติ ของทั้งตลาด การเปลีย่ นแปลงปริมาณซื้อขายของผู้ขายและผู้ซ้ือแต่ละ รายจึงไม่ส่งผลให้ราคาดุลยภาพที่ถูกกาหนดโดยอุปสงค์และอุปทานของตลาดเปล่ียนแปลงไป หน่วยธุรกิจแต่ ละรายต้องยอมรับราคาสินค้า (price takers) ท่ีถูกกาหนดโดยตลาดไม่ว่าจะมีการซ้ือขายมากน้อยเพียงใด และต่างก็ทาการขายและซื้อสินค้าในจานวนท่ีต้องการท่ีระดับราคาตลาดน้ัน เช่น ถ้าเงาะในตลาดราคา กิโลกรัมละ30 บาท ผู้ซื้อแต่ละรายจะซื้อมากหรือน้อยเพียงใด จะไม่ส่งผลกระทบต่อปริมาณเงาะท้ังหมดทม่ี ี อยู่ในตลาด เนื่องจากปริมาณซื้อของผู้ซ้ือแต่ละรายจะน้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณเงาะท้ังหมดใน ตลาด ดังน้นั ผูซ้ อื้ กต็ ้องซ้ือตามราคาตลาดคือกโิ ลกรัมละ 30 บาท ไม่วา่ จะซอ้ื มากหรอื นอ้ ย ในทานองเดียวกัน ผู้ขายแต่ละรายจะขายมากหรือน้อยเพียงใดก็ไม่ส่งผลกระทบต่อปริมาณเงาะท้ังหมดในตลาด เนื่องจาก ปริมาณขายของผู้ขายแต่ละรายจะน้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณเงาะทั้งหมดในตลาด ดังน้ันผู้ขายก็ ต้องขายราคากิโลกรัมละ 30 บาทเช่นกันไม่ว่าจะขายมากหรอื น้อยก็ตาม 2) สินค้าท่ีซื้อขายมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ หมายความว่า สินค้าที่ซื้อขายในตลาดมี ลกั ษณะเหมอื นกนั ทุกประการไมว่ ่าจะเป็นรปู ร่าง ขนาด คณุ ภาพ รสชาติ อื่นๆ สนิ ค้าจะมีลกั ษณะเหมือนกัน ไม่ว่าจะซื้อจากผู้ขายรายใด ด้วยเหตุผลน้ีผู้ขายแต่ละรายจึงไม่สามารถตั้งราคาสินค้าของตนให้สูงกว่าผู้ขาย รายอ่ืนท่ีขายตามราคาตลาด เพราะจะทาให้ผู้ซ้ือไปซ้ือสินค้าจากผู้ขายรายอ่ืนท่ีขายตามราคาตลาดซึ่งมีราคา ถูกกวา่ 3) ผู้ขายและผู้ซื้อทราบราคาสินคา้ ที่ซ้ือขายในตลาดเป็นอย่างดี การที่ผู้ขายและผู้ซื้อทราบราคา ที่กาหนดโดยตลาดจะส่งผลให้ไม่มีผู้ซื้อรายใดซ้ือสินค้าในราคาท่ีสูงกว่าราคาตลาด เนื่องจากที่ระดับราคา ตลาดนน้ั ผซู้ ้ือแตล่ ะรายสามารถซ้ือได้ในจานวนมากน้อยเพยี งใดก็ได้ ในทานองเดยี วกันก็ไมม่ ีผู้ขายรายใดขาย สินค้าในราคาท่ีต่ากว่าราคาตลาด เพราะท่ีระดับราคาตลาดนั้นผู้ขายแต่ละรายสามารถขายสินค้าในปริมาณ มากน้อยเท่าใดก็ได้ และก็ไม่มีผู้ขายรายใดท่ีขายสินค้าในราคาที่สูงกว่าราคาตลาดเพราะจะไม่สามารถขาย สินคา้ ไดเ้ ลย 4) หน่วยธุรกิจสามารถเข้าหรือออกจากตลาดได้โดยเสรี ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ไม่มีข้อจากัดหรือ อุปสรรคที่จะทาให้หน่วยธุรกิจไม่สามารถเข้าหรือออกจากตลาดได้ ไม่ว่าจะเป็นข้อจากัดด้านกฎหมาย ด้าน ตน้ ทนุ การผลิต หรอื ข้อจากัดในการครอบครองปัจจัยการผลิต หน่วยธรุ กจิ ในตลาดแขง่ ขนั สมบรู ณม์ ีเสรีภาพที่ จะเข้ามาแข่งขันได้โดยมีกาไรเป็นส่ิงจูงใจ ในทานองตรงข้าม หากหน่วยธุรกิจเกิดการขาดทุนก็สามารถออก จากตลาดไดโ้ ดยเสรีเช่นกนั

6 จากลักษณะตลาดแข่งขันสมบูรณ์ข้างต้นจะเห็นได้ว่าเป็นตลาดท่ีค่อนข้างหาได้ยากในความเป็นจริง ตลาดในลักษณะน้ีมีน้อยมากหรือแทบกล่าวไดว้ ่าแทบจะไม่มเี ลยก็ตาม เนื่องจากตลาดโดยท่วั ไปอาจมีจานวน ผู้ซื้อผู้ขายไม่มากพอ อาจมีความแตกต่างกันในตัวสินค้า ข้อมูลข่าวสารมีความไม่สมบูรณ์ การเข้าหรือออก ของหนว่ ยธุรกิจจากตลาดไมส่ ามารถเปน็ ไปโดยเสรี การศึกษาตลาดแขง่ ขันสมบูรณจ์ ึงเป็นแนวทางท่จี ะช่วยให้ สามารถอธบิ ายและคาดคะเนพฤตกิ รรมท่ีเกดิ ขึ้นจรงิ ได้และเปน็ พนื้ ฐานของการศึกษาตลาดลกั ษณะอ่ืนๆ ตอ่ ไป การหากาไรสงู สดุ ของหน่วยธุรกจิ ในตลาดแข่งขนั สมบรู ณ์ การวิเคราะห์การตัดสินใจของหน่วยธุรกิจในการผลิตสินค้าภายใต้เงื่อนไขที่ทาให้ได้รับกาไรสูงสุด สามารถทาได้ 2 วิธีคอื (ปรชั ญ์ ปราบปรปกั ษ์,2555,น5-15ถงึ 5-19) 1. วิเคราะห์ปริมาณการขายหรือการผลิตสินค้าของหน่วยธุรกิจโดยคานวณความแตกต่างระหว่าง รายรับท้ังหมดกับต้นทุนทั้งหมดท่ีทาให้หน่วยธุรกิจได้รับกาไรสูงสุด โดยกาไรจะมีค่าสูงสุดเมื่อความแตกต่าง ระหวา่ งรายรับทงั้ หมด (TR) และต้นทนุ ท้ังหมด (TC) มีคา่ สงู สดุ ถ้าหาก TR-TC มคี า่ เป็นบวก แสดงวา่ หนว่ ย ธุรกิจได้รับกาไรเกินปกติ หากมคี ่าเท่ากบั ศูนย์แสดงว่าได้กาไรปกติ และหากมคี า่ เปน็ ลบแสดงว่าขาดทนุ 2. วิเคราะห์ปริมาณการขายหรือการผลิตสินค้าของหน่วยธุรกิจได้รับกาไรสูงสุดโดยพิจารณาจาก รายรับส่วนเพ่ิม (MR) เท่ากับต้นทุนส่วนเพ่ิม (MC) เหตุผลที่เง่ือนไข MR = MC ทาให้หน่วยธุรกิจได้รับ กาไรสูงสดุ เน่ืองจากวา่ 2.1 เม่อื MR มากกว่า MC แสดงว่าหากหนว่ ยธรุ กิจขายหรือผลติ สินค้าเพ่ิมขึ้นจะทาให้กาไรส่วน เพิ่มของหน่วยธุรกิจเพ่ิมขึ้น (กาไรส่วนเพ่ิมเท่ากับ MR-MC) และเมื่อกาไรส่วนเพิ่มเพิ่มข้ึนก็ย่อมทาให้กาไร ท้งั หมดเพม่ิ ข้นึ ดว้ ยเนื่องจากกาไรท้ังหมดจะเท่ากบั ผลรวมของกาไรสว่ นเพิ่ม ทัง้ นี้กาไรทั้งหมดของหนว่ ยธุรกิจ จะสูงสดุ เม่ือกาไรส่วนเพม่ิ มีคา่ เทา่ กบั ศนู ย์ 2.2 เมื่อ MR น้อยกวา่ MC แสดงวา่ หากหนว่ ยธรุ กจิ ขายหรือผลิตสนิ คา้ เพ่ิมข้ึนจะส่งผลให้ขาดทุน เพ่ิมขนึ้ หรือทาให้กาไรลดลง เมอื่ MR นอ้ ยกวา่ MC หน่วยรุ กจิ จะลดปรมิ าณการขายหรือผลิตสนิ ค้าให้น้อยลง เพ่ือลดการขาดทุน ซ่ึงเท่ากับทาให้กาไรเพ่ิมข้ึน หน่วยธุรกิจจะลดปริมาณการขายหรือผลิตให้น้อยลง จนกระท่ังถึงปริมาณท่ีระดับ MR เทา่ กบั MC ที่ระดบั นนั้ หน่วยธรุ กิจจะไดร้ บั กาไรสงู สดุ สรุปว่า หน่วยธุรกิจจะได้รับกาไรสูงสุดเมื่อขายหรือผลิตสินค้าที่ปริมาณการขายหรือผลิตที่ MR = MC ถ้าหาก MR > MC หน่วยธุรกิจจะเพิ่มปริมาณการผลิตจนถึงระดับท่ี MR = MC ในทานอง ตรงขา้ ม หาก MR < MC หน่วยธุรกจิ จะลดปรมิ าณการผลติ จนถึงระดบั ที่ MR = MC เพ่อื ให้ได้รบั กาไรสงู สดุ 5.2 ตลาดผกู ขาด ตลาดผูกขาดมลี ักษณะสาคัญ (ปรัชญ์ ปราบปรปกั ษ,์ 2555,น 5-35ถงึ 5-37) ดงั น้ี 1) มีผู้ขายหรือหน่วยธุรกิจเพียงรายเดียวในตลาด การมีหน่วยธุรกิจเพียงรายเดียวทาให้ไม่ต้อง เผชิญกับการแข่งขันจากหน่วยธุรกิจรายอ่ืน ทาให้หน่วยธุรกิจผูกขาดกับตลาดหรืออุตสาหกรรมเป็นส่ิง เดียวกัน ในความเป็นจรงิ หนว่ ยธุรกิจผูกขาดอย่างแท้จริงท่ีปราศจากคู่แข่งโดยส้ินเชงิ น้ัน มักเป็นหน่วยธุรกิจ

7 หรือกิจการของภาครัฐ เช่น การไฟฟ้า การประปา การรถไฟ เป็นต้น หน่วยธุรกิจภาคเอกชนแทบจะไม่มี ลกั ษณะของการผูกขาดอย่างแทจ้ รงิ เนื่องจากต้องเผชญิ กับค่แู ข่งอยู่บา้ งแม้จะไม่มากนัก เชน่ บริษทั ผลติ ยาที่มี ลิขสิทธ์ิยา บริษัทไมโครซอฟต์ บริษัทเคเบิ้ลทีวี เป็นต้น บริษัทเหล่านี้แม้จะมีอานาจผูกขาดและมีอิทธิพลใน การกาหนดราคาและปริมาณผลผลิตแต่ก็มีลักษณะใกล้เคียงผู้ผูกขาดมากกว่าที่จะเป็นผู้ผูกขาดอย่างแท้จริง เนื่องจากยงั มบี ริษทั ทเ่ี ป็นคู่แข่งขัน แมว้ า่ คูแ่ ขง่ ขนั จะไม่สามารถทาลายการผูกขาดไปไดท้ ้ังหมด แต่อย่างน้อย กท็ าใหห้ น่วยธุรกิจทผี่ ูกขาดตอ้ งถูกกระทบจากการแข่งขันไม่มากก็น้อย 2) ไม่มสี ินคา้ ทดแทนกันไดห้ รือทดแทนกนั ได้ยาก เช่นกระแสไฟฟ้า น้าประปา เปน็ ตน้ 3) หนว่ ยธุรกิจไมส่ ามารถเข้ามาแข่งขนั ได้ อย่างไรก็ตามแม้ว่าผู้ผูกขาดไม่ต้องเผชิญกับการแข่งขันโดยตรงจากคู่แข่งขันใดๆ แต่การดาเนิน นโยบายของผูผ้ ูกขาดอาจถูกจากัดโดยการแข่งขันทางอ้อมได้เปน็ ตน้ วา่ (1) สินค้าของผูกขาดไม่ใช่สินค้าท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวิต ถ้าผู้บริโภคมีงบประมาณจากัดและ ต้องตัดสนิ ใจเลอื กสนิ ค้าที่ตนมีความพอใจมากท่ีสดุ ผูบ้ รโิ ภคอาจไม่เลอื กซอ้ื สินค้าดังกลา่ วเลยก็ได้ (2) อาจมีสินค้าอื่นที่ใช้แทนได้แม้ว่าจะไม่ดีนัก เช่นเทียนไข ตะเกียงอาจเป็นสินค้าท่ีใช้แทน ไฟฟ้าในแง่ของการให้แสงสว่างท่ีไม่ดีนัก ไฟฟ้าจะมีลักษณะของการผูกขาด แต่ในแง่ของการให้พลังงาน สินค้าอ่ืนท่ีสามารถใช้แทนไฟฟ้าได้มีอยู่หลายชนิดได้แก่ ถ่านหิน น้ามันเช้ือเพลิง แกสสธรรมชาติ ดังนั้นใน ความเป็นสินคา้ ผกู ขาดของไฟฟา้ จะมีไม่มากนัก ดังน้ันอานาจการผูกขาดจะอยู่ที่การมีสินค้าอื่นท่ใี ช้แทนสินค้า ของผู้ผูกขาดมากหรอื น้อย ถ้ามีนอ้ ยอานาจของผู้ผูกขาดก็จะสงู แต่ถ้ามีมากอานาจของผผู้ ูกขาดจะตา่ (3) ความพร้อมของผู้ผลิตภายนอกจะมีอยู่ตลอดเวลาถ้ากาไรในอุตสาหกรรมน้ันๆ มีสูงพอท่ีจะ ดึงดูดและมีความพยายามท่ีจะเข้ามาผลติ แข่งขันในอุตสาหกรรม ถ้าผู้ผลิตรายใหม่สามารถเข้ามาทาการผลิต แข่งได้ สภาพการผูกขาดก็จะหมดไป สาเหตทุ ่ที าให้เกิดตลาดผูกขาด สาเหตสุ าคัญท่ีขัดขวางการเข้ามาผลติ แข่งขนั ของผผู้ ลิตหรือหน่วยธรุ กิจรายอื่นมดี ังน้ี 1. ข้อบังคับด้านกฎหมาย เป็นอุปสรรคท่ีภาครัฐออกกฎหมายเพ่ือมอบลิขสิทธ์ิหรือสัมปทานให้กับ หน่วยธุรกิจเพียงรายเดียวทาการผลิตสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค เช่น อุตสาหกรรมบหุ ร่ี อตุ สาหกรรมอาวธุ ยทุ โธปกรณ์ การสัมปทานปา่ ไม้ เหมอื งแร่ เปน็ ต้น หรอื กรณกี ฎหมาย สิทธิบัตรเพ่ือคุ้มครองผู้ขอเสนอจดทะเบียนสิทธิบัตรในสิ่งที่ค้นพบหรือเป็นสิ่งประดิษฐ์ ผู้มีสิทธิบัตรก็เป็นผู้ ผูกขาดโดยกฎหมาย หรือบางวิชาชีพท่ีมีกฎหมายบังคับให้ผู้ท่ีประสงค์จะประกอบวิชาชีพน้ันต้องสอบเพ่ือรับ ใบประกอบวชิ าชีพ เชน่ แพทย์ พยาบาล เป็นตน้ 2. การผลิตที่ใช้เครื่องมือเครื่องจักรท่ีมีประสิทธิภาพสูงๆ หรือเป็นการผลิตท่ีใช้สินค้าทุนจานวนสูง ต้นทุนเฉล่ียต่อหน่วยของการผลิตจะลดลงเม่ือปริมาณการผลิตเพ่ิมมากขึ้น เป็นผลให้เกิดการผูกขาดโดย ธรรมชาติ ผผู้ ลิตรายอืน่ ไม่สามารถเขา้ มาผลิตแข่งขันได้เนื่องจากต้นทนุ สูงกวา่ การผลิตส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้อง กบั สินคา้ ประเภทสาธารณปู โภค เชน่ ไฟฟ้า ประปา เป็นตน้

8 3. ความสามารถในการเข้าควบคุมปัจจยั การผลิตท่ีสาคัญและจาเปน็ ต้องใช้ในการผลติ สนิ ค้าน้ันๆ มี ผลให้กลายเป็นผู้ผกู ขาดในการผลิตสินค้าน้ันได้และทาใหผ้ ู้ผลติ รายอื่นไม่สามารถเข้ามาแข่งขันได้ เพราะขาด ปัจจัยการผลิตท่ีจาเป็นต้องใช้ผลิตสินค้า เช่น บริษัทอลูมินัมแห่งอเมริกาเป็นผู้ผูกขาดในการผลิตอลูมินัม เพราะสามารถควบคุมปจั จัยการผลิตสาคัญในการผลิต อลมู ินัมบอ็ กซ์ไซต์ เปน็ ตน้ การผกู ขาดภายใต้ขอ้ บังคับ ในกรณีของสินค้าบางประเภทโดยเฉพาะสินค้าสาธารณูปโภค เช่น ไฟฟ้า ประปา ซ่ึงเป็นสินค้าท่ี จาเป็นต่อการดารงชีวิตของผู้บริโภคทุกๆ ระดับรายได้ การผลิตสินค้าเหล่านี้มีต้นทุนคงท่ีสูงมากในขณะท่ี ต้นทุนแปรผันที่ใชใ้ นการดาเนินการมีไม่มากนัก ต้นทุนการผลิตเฉลี่ยต่อหน่วยของสินค้าเหล่านี้สามารถลดลง ในระดับต่าได้ก็ต่อเม่ือมีการผลิตสินค้าในจานวนมากๆ ดังน้ันการยอมให้มีผู้ผลิตไม่กี่รายหรือเพียงรายเดียว จะช่วยให้ต้นทุนการผลิตเฉล่ียต่อหน่วยของการผลิตลดต่าลงได้อย่างมาก เพราะเมื่อมีผู้ผลิตน้อยรายหรอื ราย เดียวตลาดสินค้าท้ังหมดจะเป็นของผู้ผลิตน้ันๆ ผู้ผลิตก็จะสามารถผลิตสินค้าจานวนมากๆ ออกสู่ตลาดและ ไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการประหยดั ตอ่ ขนาด สาหรับกรณีที่มีผู้ผลิตเพยี งรายเดยี วทาการผลติ สินคา้ ออกจาหน่าย ความมีอานาจผูกขาดของผู้ผลิตอาจทาให้ผู้ผลิตถือโอกาสผลิตสินค้าไม่มากเท่าที่ควรและต้ังราคาสูงเพ่ือทาให้ ตนได้รับกาไรสูงสุด ซึ่งไม่ตรงกับจุดมุ่งหมายของความต้องการท่ีจะพยายามลดต้นทุนการผลิตเฉล่ียต่อหน่วย เพื่อให้สินค้าราคาต่าลง ดังน้ันจึงปรากฏอยู่เสมอว่าในการผลิตสินค้าประเภทดังกล่าว รัฐมักยินยอมให้มีการ ผูกขาดในการผลิต หรือไม่รัฐก็ดาเนินการผูกขาดเสียเองเพ่ือเอาประโยชน์จากการประหยัดต่อขนาดจากการ ผลิตสินค้าจานวนมากๆ แต่ในขณะเดียวกันเพ่ือมิให้ผู้ผูกขาดเอาเปรียบผู้บริโภค รัฐจะเข้าควบคุมการ ดาเนินงานของผู้ผูกขาด การผูกขาดลักษณะนี้เรียกว่า การผูกขาดภายใต้ข้อบังคับ (regulated monopoly) ซึ่งอาจจะใช้วิธีการควบคุมราคาหรือปริมาณการผลิตโดยตรง หรืออาจจะใช้ภาษีเป็นเคร่ืองมือ ในการควบคุมทางออ้ ม (นราทพิ ย์ ชตุ วิ งศ,์ 2542,น343-348) 1. การควบคุมราคา (price regulation) หมายถึงการที่รัฐเข้ามากาหนดให้ผู้ผกู ขาดขายสินค้า ท่ี ระดับราคาหนึ่ง ซ่ึงเท่ากับเป็นการกาหนดปริมาณการผลิตของผู้ผูกขาดนั่นเอง อย่างไรก็ตามก็ไม่ได้ หมายความว่ารัฐจะสามารถกาหนดราคาได้ตามใจชอบ รัฐต้องพยายามหาราคาที่เหมาะสมที่ทาให้ผู้ผูกขาด ผลิตสินค้าจานวนมากท่ีสุดโดยไม่ทาให้ผู้ผูกขาดต้องขาดทุนในการผลิต ซ่ึงรัฐอาจใช้วิธีการกาหนดราคา เทา่ กับตน้ ทุนเฉลี่ยหรือเรียกว่าราคายุตธิ รรม การกาหนดราคาเท่ากับต้นทุนเฉลี่ย โดยหลักการแล้วราคาท่ีเหมาะสมทั้งผู้ผูกขาดและผู้บริโภคควร เปน็ ราคาทีต่ ่าที่สุดท่จี ะเป็นไปไดภ้ ายใตส้ ภาพของตน้ ทุนและอปุ สงค์ที่ผ้ผู ูกขาดเผชญิ ในขณะเดียวกันก็ทาให้ผู้ ผูกขาดไดร้ ับกาไรในจานวนทีเ่ หมาะสมจากการผลติ ดว้ ย กาไรท่ีเหมาะสมก็คือ กาไรปกติ ดงั น้นั รฐั ควรกาหนด ระดับราคาที่เท่ากับต้นทุนเฉล่ีย ซึ่งเป็นระดับราคาท่ีต่ากว่าราคาท่ีผู้ผูกขาดจะกาหนดขึ้นโดยไม่มีการควบคุม จากรัฐ ปริมาณการผลิตก็จะเป็นปริมาณท่ีมากกว่าท่ีผู้ผูกขาดกาหนดขึ้นเอง ณ ราคาและปริมาณการผลิตที่ รฐั กาหนดน้ีผู้ผกู ขาดจะไดร้ ับเพียงกาไรปกตเิ ท่านนั้ และสามารถดาเนนิ ธรุ กิจต่อไปได้ ขณะเดยี วกันผู้บริโภคจะ มสี นิ คา้ บรโิ ภคในจานวนทม่ี ากขน้ึ และในราคาทถี่ กู ลง

9 2. การควบคุมโดยผ่านระบบภาษี นอกจากการท่ีรัฐเข้าควบคุมราคาและปริมาณการผลิตโดยตรง แล้ว รัฐอาจใช้ภาษีเป็นเครื่องมือช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้เช่นเดียวกันท้ังน้ีข้ึนอยู่กับลักษณะของภาษึท่ีรัฐ เรยี กเกบ็ จากผผู้ ูกขาดน้นั แบง่ ออกเป็น 2.1 ท่ีรัฐเรียกเก็บเป็นภาษีต่อหน่วยจากผู้ผูกขาด ผู้ผูกขาดจะปรับปริมาณการผลิตลดลงและ ราคาขายจะเพ่ิมข้ึน ภาระภาษีท่ีรัฐเรียกเก็บนี้จะถูกแบ่งออกไประหว่างผู้ผูกขาดและผู้บริโภค โดยผู้บริโภค ต้องรับภาระภาษีไว้ส่วนหนึ่งในรูปของราคาสินค้าที่สูงข้ึนและส่วนที่เหลือจะตกเป็นภาระของผู้ผูกขาด ซึ่ง ภาระจะตกกับฝ่ายใดมากหรือน้อยขึ้นอยู่กบั ความยดึ หยนุ่ ของเส้นอปุ สงค์ทผี่ ูผ้ ูกขาดเผชิญอยนู่ นั้ ขณะเดยี วกัน กาไรของผู้ผูกขาดจะลดลงจากกรณีท่ีไม่มีการควบคุมซึ่งจัดว่าเป็นการลดความเปรียบของผู้ผูกขาดลง และรัฐ เองก็สามารถนาเงินภาษีไปใชจ้ ่ายในลกั ษระของการคืนประโยชน์ให้กบั ผู้บรโิ ภคได้ตอ่ ไป 2.2 ถา้ ภาษีที่รัฐเรยี กเก็บเป็นภาษีเหมา ผู้ผกู ขาดยังคงผลติ ในปริมาณการผลติ และระดบั ราคา เทา่ เดิมก่อนทจ่ี ะมีการเก็บภาษีเหมา ณ ที่ MC=MR เพยี งแต่ผู้ผูกขาดจะมีผลกระทบในลกั ษณะเหมือนกบั วา่ ผ้ผู กู ขาดจะมีต้นทุนคงท่เี พม่ิ ข้ึน ภาระภาษีน้ผี ้ผู ูกขาดต้องรับภาระทง้ั หมดฝา่ ยเดยี วในรปู ของกาไรทล่ี ดลง 5.3 ตลาดก่ึงแขง่ ขันก่ึงผูกขาด ตลาดก่ึงแขง่ ขนั กง่ึ ผูกขาดหรือตลาดผขู้ ายมากรายมีลกั ษณะสาคญั (ปรัชญ์ ปราบปรปักษ์, 2555,น 6-7 ถึง6-8) ดงั น้ี 1) มผี ขู้ ายหรือหนว่ ยธรุ กจิ จานวนมาก การทมี่ ีผ้ขู ายจานวนมากส่งผลให้ผู้ขายในตลาดต้องเผชิญกับ การแขง่ ขนั จากผู้ขายรายอ่ืนที่ขายสินค้ากล่มุ เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน โดยผูข้ ายแตล่ ะรายพยายามแข่งขันกัน โดยมีเป้าหมายที่ลูกคา้ กลุ่มเดียวกนั อยา่ งไรกต็ ามการดาเนินการของผู้ขายแต่ละรายถงึ แม้จะสง่ ผลกระทบต่อ ผู้ขายรายอื่นบ้างแต่ก็ไม่มากนักเน่ืองจากมีผู้ขายจานวนมาก ขณะเดียวกันผู้ขายในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด จะมอี านาจการผูกขาดในระดับหนึ่ง แต่จะนอ้ ยกวา่ ผู้ขายในตลาดผูกขาด ซงึ่ อานาจการผูกขาดนเ้ี กิดจากการ ทผี่ ูข้ ายผลติ สนิ คา้ ทมี่ คี วามแตกตา่ งกันนน่ั เอง 2) สินค้าของผู้ขายมีความแตกต่างกัน ผู้ขายในตลาดน้ีจะผลิตสินค้าในกลุ่มเดียวกันท่ีมีความ แตกต่างกันแต่สามารถใช้แทนกันได้แม้ว่าจะทดแทนกันได้ไม่สมบูรณ์ ความแตกต่างของสินค้าทาให้ผู้ขายมี อานาจการผูกขาดในระดับหนึ่ง เน่ืองจากผู้ซ้ือเห็นว่าสินค้านั้นมีเอกลักษณ์เฉพาะที่ไม่เหมือนกับสินค้าของ ผู้ขายรายอื่น ท้ังน้ีไม่ว่าความแตกต่างนั้นจะมีอยู่จริงในตัวสินค้าหรือเป็นเพียงความรู้สึกว่าสินค้ามีความ แตกต่าง แต่จะมีผลต่อการตัดสินใจในการซ้ือมาบริโภค เช่น ความรู้สึกว่ายาแก้ปวดยี่ห้อหนึ่งให้ผลในการ รักษาบรรเทาอาการปวดได้ดีกว่าย่ีห้ออ่ืนทั้งที่เป็นยาแก้ปวดเหมือนกันมีส่วนผสมของตัวยาไม่แตกต่างกัน เป็นต้น ทาให้ผู้ขายในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดอยู่ในฐานะเป็นผู้กาหนดราคาเช่นเดียวกับผู้ขายในตลาด ผูกขาด ความแตกตา่ งของสนิ ค้าอาจพิจารณาไดห้ ลายประการ ดงั นี้ (1) ความแตกตา่ งทางกายภาพ เชน่ รูปลกั ษณ์ภายนอก รสชาติ คุณสมบัตขิ องสนิ คา้ เป็นต้น (2) ความแตกตา่ งด้านชือ่ เสยี ง เชน่ นาฬกิ า ปากกา กระเปา๋ ถือสภุ าพสตรี รถยนต์ เปน็ ตน้

10 (3) ความแตกต่างด้านสถานที่ เป็นปัจจัยสาคัญท่ีเกี่ยวข้องกับธุรกิจบางประเภท เช่น ร้านค้า ปลีก สถานบี รกิ ารนา้ มนั ภัตตาคาร รา้ นอาหาร เปน็ ต้น (4) ความแตกต่างด้านบริการ เช่น ความรวดเร็วในการให้บรกิ าร การบริการด้วยความเป็นมิตร การบรกิ ารรบั คนื สินคา้ ทม่ี ปี ญั หา เป็นต้น 3) ผู้ขายสามารถเข้าหรือออกจากตลาดได้โดยเสรี การเข้าสู่ตลาดของหน่วยธุรกิจมีกาไรเกินปกติ เป็นสิ่งจูงใจให้หน่วยธุรกิจที่มีความพรอ้ มเข้ามาแข่งขันกับหน่วยธุรกิจรายเดมิ การเข้ามาใหม่ของหนว่ ยธรุ กิจ รายใหมท่ าให้อุปทานของสินค้าในตลาดเพิ่มขึ้น สง่ ผลให้ราคาสินค้าค่อยๆ ลดลงจนเทา่ กับต้นทนุ เฉลี่ยในท่ีสุด ดังน้ันหน่วยธุรกิจหรือผู้ขายจะได้รับเพียงกาไรปกติเท่าน้ันซ่ึงจะไม่จูงใจให้หน่วยธุรกิจรายใหม่เข้ามาแข่งขัน ในทางตรงข้ามหน่วยธุรกิจท่ีประสบภาวะขาดทุนก็ออกจากตลาดทาให้อุปทานของสินค้าในตลาดลดลง จะ ส่งผลให้ราคาสินค้าค่อยๆ ปรับตัวเพ่ิมขึ้นจนเท่ากับต้นทุนเฉลย่ี หน่วยธุรกิจที่อยู่ในตลาดก็จะได้รับเพียงกาไร ปกติไม่ต้องออกจากตลาดเนื่องจากการขาดทนุ การวิเคราะห์ตลาดก่ึงแข่งขันกึ่งผูกขาดในการกาหนดราคาและปริมาณการผลิตเพื่อให้ได้กาไรสูงสุดมี หลักการเดียวกับการกาหนดราคาและปริมาณการผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์และตลาดผูกขาดท่ีเป็นการ พจิ ารณาจากระดบั ที่รายได้ส่วนเพิม่ เทา่ กับต้นทุนส่วนเพมิ่ (MR = MC) 5.4 ตลาดผู้ขายน้อยราย ตลาดผขู้ ายน้อยรายมลี ักษณะที่ค่อนข้างไปทางตลาดผูกขาดมากกวา่ ตลาดแขง่ ขนั สมบูรณ์ สนิ คา้ บาง ประเภทในตลาดผู้ขายน้อยรายอาจมีการผลิตโดยผู้ผลิตหลายราย ขณะท่ีสินค้าบางประเภทอาจผลิตโดย ผู้ผลิตรายใหญ่เพียงไม่กี่ราย พฤติกรรมของหน่วยธุรกิจในตลาดผู้ขายน้อยรายแตกต่างไปจากตลาดท่ีกล่าว มาแล้วทั้งสามตลาดเน่ืองจากมีความขึ้นแก่กันอย่างมากของหน่วยธุรกจิ ในตลาด ลกั ษณะของตลาดผู้ขายน้อย รายมดี งั นี้ (ปรัชญ์ ปราบปรปักษ,์ 2555,น 6-26 ถงึ 6-28) 1) มีหน่วยธุรกิจน้อยราย การที่มีหน่วยธรุ กิจจานวนน้อยรายทาให้หน่วยธรุ กิจในตลาดมีความขึ้นแก่ กันสูง หมายความว่าการท่ีหน่วยธุรกิจรายใดรายหนึ่งจะดาเนินนโยบายอย่างไรนั้นจาเป็นต้องคาดคะเน นโยบายของหน่วยธรุ กิจทเี่ ปน็ คู่แข่งขันอย่างมาก เน่ืองจากการดาเนินนโยบายของหน่วยธุรกจิ รายใดรายหนึ่ง ย่อมส่งผลกระทบต่อยอดขายของหน่วยธุรกิจรายอ่ืนด้วย เช่น หน่วยธุรกิจรายหน่ึงลดราคาหรอื เปลี่ยนแปลง ปริมาณการผลิตสินค้าก็ย่อมส่งผลกระทบต่อยอดขายของหน่วยธุรกิจรายอ่ืนอย่างมาก หน่วยธุรกิจในตลาด ผู้ขายน้อยรายจึงไม่อาจหลีกเลี่ยงการที่ต้องคานึงถึงการตอบโต้จากคู่แข่งขันก่อนท่ีจะพิจารณาดาเนินนโยบาย ของตน หน่วยธรุ กิจรายอื่นท่เี ปน็ ค่แู ขง่ ขันกจ็ ะมีการพจิ ารณาในลกั ษณะเดียวกัน สินค้าหลายประเภทไม่สามารถผลิตโดยเสียต้นทุนท้ังหมดเฉล่ียต่อหน่วยที่ต่าได้หากทาการผลิตโดย หน่วยธุรกิจรายเล็กๆ หลายราย การผลิตในปริมาณมากจะก่อให้เกิดการประหยัดเนื่องจากขนาดการผลิต และการประหยัดน้ีจะเกิดจากการผลิตของหน่วยธุรกิจรายใหญ่เพียงไม่ก่ีรายมากกว่าจะเกิดจากหน่วยธุร กิจ รายเล็กจานวนมาก สินค้าที่ต้องผลิตในปริมาณมากโดยหน่วยธุรกิจรายใหญ่ท่ีก่อให้เกิดการประหยัดจาก ขนาดการผลิต เชน่ รถยนต์ เป็นต้น

11 การพจิ ารณาอานาจผูกขาดของหน่วยธรุ กิจในตลาดผู้ขายน้อยรายวา่ มมี ากหรือน้อยเพยี งใด สามารถ ใช้วิธีการวัดการกระจุกตัวของอุตสาหกรรม (industrial concentration) ด้วยอัตราส่วนการกระจุกตัว (concentration ratio) ซึ่งเป็นค่าที่บอกให้ทราบสัดส่วนของสินค้าท้ังหมดที่หน่วยธุรกิจรายใหญ่ประมาณ 3-4 ราย ทาการผลิตรวมกันต่อความต้องการสินค้าทั้งหมดในตลาด ถ้าอัตราการกระจุกตัวมีค่าสูงแสดงว่า ส่วนแบ่งตลาดส่วนใหญ่เป็นของผู้ผลิตเพียงไม่ก่ีราย โดยทั่วไปจะมีอัตราส่วนการกระจุกตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 70-90 2) สินค้าของหน่วยธุรกิจมีลักษณะเหมือนกันหรือแตกต่างกันก็ได้ หน่วยธุรกิจอาจจะผลิตสินค้าทีม่ ี ลักษณะเหมือนกัน เช่น น้ามนั เหลก็ กล้า เปน็ ต้น หรอื อาจจะผลิตสินค้าทีม่ ีลกั ษณะแตกตา่ งกนั เช่น รถยนต์ บหุ รี่ สายการบิน เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ เปน็ ตน้ แมว้ า่ สนิ ค้าและบริการเหล่านี้มีความแตกต่างกันแต่ก็สามารถ ใชแ้ ทนกนั ได้ 3) มีอุปสรรคในการเข้าหรือออกจากตลาดของหน่วยธุรกิจ อุปสรรคที่สาคัญคือ ผลจากการ ประหยัดเน่ืองจากขยายขนาดการผลิต หน่วยธุรกิจรายใหม่ที่จะเข้ามาผลิตแข่งขันถ้าเป็นหน่วยธุรกิจขนาด เล็กจะไม่สามารถเข้ามาผลิตแข่งกับหน่วยธุรกิจรายใหญ่ได้ เพราะการผลิตในปริมาณน้อยจะทาให้ ต้นทุน ทั้งหมดเฉล่ียต่อหน่วยสูงมาก และถ้าหากหน่วยธุรกิจรายใหญ่ตั้งราคาขายให้ต่ากว่าต้นทุนทั้งหมดเฉลี่ยต่อ หนว่ ยของหน่วยธุรกิจรายเล็กแต่สูงกว่าต้นทุนทัง้ หมดเฉลี่ยต่อหน่วยของหน่วยธุรกิจรายใหญ่ หน่วยธรุ กิจราย ใหญ่มกี าไรแต่หน่วยธรุ กิจรายเล็กขาดทนุ ทาให้หนว่ ยธุรกจิ รายเล็กไม่สามารถเข้ามาแข่งขันได้ สว่ นกรณีการ ออกจากตลาดก็เป็นไปไดย้ ากเน่ืองจากหน่วยธรุ กิจในตลาดผู้ขายน้อยรายจะเปน็ หน่วยธุรกิจรายใหญ่ซึ่งต้องใช้ เงินลงทุนสูงมาก โดยเฉพาะต้นทุนคงท่ี เช่น อุตสาหกรรมรถยนต์ สายการบิน อุตสาหกรรมเหล็ก อตุ สาหกรรมน้ามนั อุตสาหกรรมปโิ ตรเคมี เป็นตน้ การทห่ี น่วยธุรกจิ จะเลิกผลิตและออกจากตลาดจึงเป็นไป ไดย้ าก ความแตกต่างของตลาดผู้ขายน้อยรายกับตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดอยู่ที่จานวนหน่วยธุรกิจในตลาด ในตลาดผู้ขายน้อยรายจานวนหน่วยธุรกิจในตลาดมีน้อยมาก จนกระท่ังการดาเนินงานของหน่วยธุรกิจแต่ละ รายมีผลกระทบซ่ึงกันและกันอย่างมาก ถ้าหน่วยธุรกิจรายใดรายหน่ึงดาเนินนโยบายอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น การลดราคาสินค้าจะส่งผลกระทบทาให้ยอดขายของหน่วยธุรกิจรายอ่ืนลดลงอย่างเห็นได้ชัด เพราะมีหน่วย ธรุ กิจเพยี งไม่กรี่ ายในตลาดและหนว่ ยธุรกจิ ท่ีได้รับผลกระทบจากการดาเนินนโยบายของหน่วยธรุ กิจรายแรกก็ จะต้องปรับเปลี่ยนนโยบายของตนเพื่อรับผลกระทบที่เกิดข้ึน ซ่ึงจะมีผลกระทบสะท้อนกลับไปยังหนว่ ยธุรกจิ รายแรกอย่างไม่มีปัญหา ผลดังกล่าวน้ีจะไม่ส่งผลปรากฎชัดเจนในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดที่มีหน่วยธุรกิจ จานวนมาก โดยผลกระทบจากการดาเนินนโยบายของหน่วยธุรกิจรายหนึ่งๆ จะถูกกระจายออกไปจนไม่เป็น ท่ีสังเกตเห็นได้ชัดเจนในหน่วยธรุ กิจรายอ่ืน การข้ึนอยู่ระหว่างกันและกันในตลาดก่ึงแข่งขันกึ่งผูกขาดมีน้อย มากจนไม่ต้องคานึงถึง แต่ในตลาดผู้ขายน้อยรายความขึ้นอยู่ระหว่างกันและกันจึงเป็นปัจจัยสาคัญที่สุดที่มา กาหนดนโยบายของหนว่ ยธรุ กิจในตลาด

12 พฤตกิ รรมของหน่วยธุรกิจในตลาดผู้ขายนอ้ ยราย ด้วยความข้ึนอยู่ระหว่างกันและกันเป็นอย่างมากของหน่วยธุรกิจแต่ละรายในตลาด เป็นผลทาให้ไม่ สามารถกาหนดแบบแผนท่ีแน่นอนของพฤติกรรมของหน่วยธุรกิจในตลาดนี้ได้ หน่วยธุรกิจแต่ละรายต่าง จาเป็นต้องปรับนโยบายของตนเพื่อรับกับผลกระทบจากนโยบายของคู่แข่งขันในตลาด ซ่ึงการปรับนโยบาย ของหน่วยธุรกิจรายหนึ่งๆ ก็จะส่งผลกระทบกลับไปยังหน่วยธรุ กิจรายอ่ืนรวมทั้งหน่วยธุรกิจที่กาหนดนโยบาย รายแรกด้วย ทาให้ต้องมีก่ีเปลี่ยนแปลงนโยบายใหม่อีก การวิเคราะห์พฤติกรรมของหน่วยธุรกิจในตลาด ผู้ขายน้อยรายจึงไม่อาจทาตามรูปแบบของการวิเคราะห์เหมือนตลาดประเภทอื่นๆ เพราะในขณะหนึ่งๆ นโยบายของหน่วยธุรกิจแต่ละรายจะแตกต่างกันไปไม่เป็นรูปแบบเดียวกัน พฤติกรรมโดยท่ัวไปที่ปรากฎใน ตลาดผู้ขายน้อยรายก็คือ การรวมตัวระหว่างหน่วยธุรกิจ การรักษาราคาสินค้าให้คงที่ การใช้นโยบายการ แข่งขันทไี่ ม่ใช่ราคา การเปน็ ผู้นาราคา การใชท้ ฤษฎเี กมส์ในการกาหนดนโยบาย (นราทิพย์ ชตุ ิวงศ์,2548, น 283-286) 1. การรวมตัวระหว่างหนว่ ยธรุ กิจ แนวโน้มลักษณะหนึง่ ท่ีมักเกิดขึ้นในตลาดผู้ขายน้อยรายก็คือ การรวมตัวกนั ระหว่างหนว่ ยธุรกิจต่างๆ ที่มีอยู่ในตลาดเพ่ือดาเนินนโยบายอันหนึ่งอันเดยี วกัน ท้ังนี้เพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบท่ีจะมีต่อกันและกัน การ รวมตัวดังกลา่ วอาจจะเป็นไปได้โดยเปิดเผยในรูปของคาร์เทล (cartel) เช่นการรวมตวั ของกลุ่มประเทศโอเปค (OPEC) ท่ีมีข้อตกลงร่วมกันในปริมาณการผลิต การกาหนดราคาเพ่ือให้กลุ่มได้กาไรสูงสุดและการแบ่งปันผล กาไรให้แก่แต่ละประเทศสมาชิกในกลุ่ม หรือการสมรู้ร่วมคิดกัน (collusion) ซ่ึงเป็นการที่หน่วยธุรกิจดาเนิน นโยบายร่วมกันโดยการจากัดการแข่งขันระหว่างกันเพื่อลดความไม่แน่นอน ในการดาเนินธุรกิจและให้กาไร ท้ังหมดของหน่วยธุรกิจเพิ่มข้ึนโดยเฉพาะการสมรู้ร่วมคิดกันข้ึนราคาทาให้ราคาสูงเกินความเป็นจริง (over price) ขณะที่ปริมาณการผลิตต่ากว่าที่เป็นจริง (under produced) ส่งผลให้สังคมสูญเสียสวัสดิการเพราะ ทาให้เกิดการผลิตและการจัดสรรทรัพยากรอย่างไม่มีประสทิ ธิภาพหรือ กรณีที่กฎหมายห้ามการรวมตัวหน่วย ธุรกิจอาจมีการตกลงรวมตัวอย่างลับๆ หรือโดยนัยทีจ่ ะดาเนินนโยบายเหมือนๆ กัน เมื่อหน่วยธุรกิจตา่ งๆ มา รวมตัวเขา้ ด้วยกันเช่นนีก้ ็เปรียบได้กบั การมีหนว่ ยธรุ กิจท่ีจะทาการตัดสินใจเพยี งหนว่ ยเดียว มีลกั ษณะเหมือน การผกู ขาด นโยบายทีก่ าหนดขึ้นนห้ี น่วยธุรกจิ ทกุ หนว่ ยต้องปฏบิ ัติตาม เปน็ ต้นวา่ การดาเนนิ การเพ่ือท่ีจะทา ให้ได้รับกาไรรวมสูงสุด หลังจากนั้นจึงจะนากาไรรวมมาจัดสรรให้กับหน่วยธุรกิจแต่ละรายตามข้อตกลงของ กลุ่ม ปัญหาที่มักเกิดขึ้นกับนโยบายการรวมตัวของหน่วยธุรกิจในลักษณะท่ีกล่าวถึงนี้จะเป็นเรื่องของการ จดั สรรโควตา ทั้งโควตาการผลิต การขาย กาไร ซึง่ เป็นการยากทก่ี ารจดั สรรจะเป็นไปในลกั ษณะท่ที าให้เกิด ความพอใจแก่ทุกหน่วยธุรกิจได้ ดังนั้น หน่วยธุรกิจท่ีอยู่ในตลาดผู้ขายนอ้ ยรายมีแนวโน้มท่ีจะรวมตัวกันเพื่อ หลีกเลยี่ งผลกระทบจากการดาเนินนโยบายโดยอิสระ โดยการรวมตวั ดาเนินนโยบายเดียวกนั แตก่ ม็ แี นวโน้ม ท่กี ารรวมตัวของหนว่ ยธุรกิจเหล่าน้ีจะแตกแยกออกจากกนั จากความไม่พงึ พอใจในนโยบายที่กาหนดใช้ร่วมกัน และต้องการความมีอิสระในการตัดสินใจของตนเอง และถ้าได้ดาเนินนโยบายโดยอิสระไประยะเวลาหนึ่งถ้า เกดิ ปญั หาผลกระทบกนั อย่างรุนแรงกอ็ าจเกิดแนวโนม้ ทีจ่ ะรวมตัวเข้าดว้ ยกนั ใหม่อีก

13 2. การรักษาราคาให้คงท่ี แนวโน้มอีกลักษณะหนึ่งที่เกิดข้ึนในตลาดผู้ขายน้อยราย คือ การตรึงราคาสินค้าไว้ที่ราคาใดราคา หน่ึงไม่เปลี่ยนแปลง การอธิบายพฤติกรรมในลักษณะนี้มีทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ท่ีใช้อธิบายคือ แบบจาลองเส้น อุปสงค์หักงอ ท่ีสามารถอธิบายโดยใช้หลักเหตุผลได้ว่าทาไมราคาสินค้าในตลาดผู้ขายน้อยรายจึงมีแนวโน้ม คงที่ (รายละเอียดสามารถศึกษาเพ่ิมเติมจากตาราเศรษฐศาสตรไ์ ด้) เน่อื งจากความขน้ึ ระหว่างกันของหน่วยธรุ กจิ ในตลาดผู้ขายน้อยรายมสี ูงมาก การดาเนนิ นโยบายของ หน่วยุรกิจรายหน่ึงๆ จะส่งผลกระทบไปยังหน่วยธุรกิจรายอื่นๆ จนทาให้หน่วยธุรกิจรายอ่ืนต้องเปล่ียนแปลง นโยบายของตนเพื่อรับกับผลกระทบที่เกิดข้ึน อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงนโยบายของหน่วยธุรกิจราย หลังๆ จะเกิดขึ้นก็ต่อเม่ือผลกระทบจากหน่วยธุรกิจรายแรกเป็นไปในทางท่ีทาให้หน่วยธุรกิจรายหลังๆ เสีย ประโยชน์ หน่วยธุรกิจรายหลังๆ คงไม่จาเป็นต้องเปลี่ยนแปลงนโยบายของตนแต่อย่างใดถ้าการเปล่ียนแปลง นโยบายของหน่วยธุรกิจรายแรกทาให้ตนได้รับประโยชน์สูงข้ึน ดังนั้นถ้าหน่วยธุรกิจในตลาดผู้ขายน้อยราย รายหน่ึงเพ่ิมราคาสินค้าของตนให้สูงขึ้น ผู้บริโภคท่ีเคยซ้ือสินค้าของหน่วยธุรกิจรายน้ีจานวนไม่น้อยจะ เปล่ียนไปซื้อสนิ คา้ จากหนว่ ยธรุ กิจรายอืน่ ซง่ึ มีราคาโดยเปรียบเทียบแล้วต่ากว่า ยอดขายของหนว่ ยธุรกิจอ่ืน ในตลาดกจ็ ะสงู ข้ึน การข้ึนราคาของหน่วยธุรกิจรายแรกจึงส่งผลในทางท่ดี ีต่อหน่วยธรุ กิจรายอื่นๆ และหน่วย ธรุ กจิ รายอ่นื ๆ กไ็ มจ่ าเปน็ ท่ีจะต้องขึน้ ราคาตาม เม่อื หน่วยธุรกิจรายอ่ืนไม่ขึ้นราคาตามการข้ึนราคาของหน่วย ธุรกิจรายแรก ราคาสินค้าของหน่วยธุรกิจรายแรกก็จะสูงกว่าหนว่ ยธุรกิจรายอ่ืนและยอดขายก็จะลดลงอยา่ ง มาก รายได้รวมจะลดลง ในทางตรงข้าม ถ้าหน่วยธุรกิรายแรกลดราคาสินค้าของตนลง ราคาสินค้าของหน่วยธุรกิจรายน้ีก็จะ ถูกหรือต่ากว่าหน่วยธุรกิจรายอื่น ผู้ที่เคยซื้อสินค้าจากหน่วยธุรกิจรายอ่ืนก็จะเปล่ียนมาซื้อจากห น่วยธุรกิจ รายนี้ ทาให้ยอดขายของหน่วยธุรกิจรายอื่นลดลงอย่างเห็นได้ชัด เม่ือเป็นเช่นนี้หน่วยธุรกิจอื่นก็อาจปรับ นโยบายของตนโดยการลดราคาลงมาบ้าง ดังนั้นผู้บริโภคท่ีจะเปลี่ยนไปซ้ือจากหน่วยธุรกิจรายแรกก็ไม่มีเหตุ จูงใจใดๆ ต่อไปอีก เพราะขณะนี้ราคาสินค้าของหน่วยธุรกิจทุกหน่วยโดยเปรยี บเทียบตา่ ลงพอๆ กัน การลด ราคาสินคา้ ของหน่วยธุรกิจรายแรกจงึ ไมม่ ีผลทาให้ปรมิ าณขายเพิ่มสงู ขึ้นเท่าใดนกั เม่ือหน่วยธุรกิจแต่ละหน่วยไม่ได้ประโยชน์ใดๆ จากการเพิ่มหรือลดราคาสินค้าของตน หน่วยธุรกิจ แตล่ ะหน่วยจึงมีแนวโน้มทจ่ี ะตรงึ ราคาไวท้ ี่ระดบั เดมิ ไมเ่ ปลี่ยนแปลง นอกจากจะมกี ารเปลีย่ นแปลงท้ังกลมุ่ 3. การแขง่ ขนั โดยไม่ใช้ราคา สิ่งที่เป็นผลเสียอย่างร้ายแรงสาหรับหน่วยธุรกิจในตลาดผู้ขายน้อยรายก็คือ การแข่งขันลดราคา สินค้า หรือเรียกว่า สงครามราคา (price war) ถ้าหน่วยธุรกิจรายใดรายหนึ่งเริ่มทาการลดราคาสินค้าของ ตน จะโดยความรูเ้ ท่าไม่ถงึ การณ์หรอื ดว้ ยเหตผุ ลอนื่ ใด แลว้ ทาให้เกดิ การแขง่ ขันการลดราคาก็จะเป็นการยาก ที่จะยุติลงได้ และในท้ายสุดก็จะนามาซ่ึงความเสียหายแก่หน่วยธุรกิจทุกหน่วยที่เข้ามาร่วมในสงครามราคา ด้วยกัน หน่วยธุรกิจในตลาดผู้ขายน้อยรายที่มีประสบการณ์มากพอ จึงพยายามหลีกเลี่ยงการใช้ราคาเป็น เคร่ืองมอื ของการแข่งขัน และเปล่ียนไปใช้วธิ กี ารอนื่ ทเ่ี ป็นการสง่ เสรมิ การขายทไ่ี ม่ใชร่ าคา เช่น การปรับปรงุ

14 เปลี่ยนแปลงรูปแบบตัวสินค้า การเปลี่ยนแปลงวิธีการขาย การแจกของแถม การจับสลากรางวัล เป็นต้น หน่วยธุรกิจรายใดท่ีเร่ิมใช้วิธีการส่งเสริมการขายที่เป็นที่นิยมของผู้บริโภคก็จะมียอดขายสูงขึ้น แต่อย่างไรก็ ตามผลกระทบซ่ึงกันและกันของการดาเนินนโยบายของหน่วยธุรกิจแต่ละราย จะพบว่าในระยะยาวแล้วส่วน แบ่งการตลาดของหน่วยธุรกิจแต่ละรายก็จะไม่แตกต่างไปจากเดิมมากนัก เพราะเม่ือหน่วยธุรกิจรายใด ประสบความสาเร็จในการดึงลูกคา้ หรอื ผู้บริโภคจากหน่วยธุรกิจรายอ่ืนได้ หนว่ ยธรุ กจิ ทถี่ กู กระทบกระเทือนก็ จะพยายามหานโยบายหรือวิธีการที่จะดึงผ้บู ริโภคของตนกลับคืนมาและอาจดึงผู้บริโภคบางส่วนของคู่แข่งขนั มาดว้ ย เพยี งแต่ว่าผรู้ เิ ร่ิมนโยบายขน้ึ ก่อนอาจมียอดขายเพ่ิมข้นึ ชว่ งหนึง่ ก่อนผู้อนื่ เท่านั้น 4. การเปน็ ผนู้ าราคา เน่ืองจากหน่วยธุรกิจในตลาดพยายามท่ีจะหลีกเลี่ยงการดาเนินนโยบายที่จะก่อให้เกิดผลกระทบ ในทางลบแก่ตนโดยเฉพาะการเกิดสงครามราคา ดังนั้น หน่วยธุรกิจจึงมักมีแนวโน้มท่ีจะเลือกให้หน่วยธรุ กิจ รายใดรายหนึง่ เป็นผ้นู าทางด้านราคา (price leader) ซ่ึงอาจจะเป็นหน่วยธุรกิจรายใหญ่ท่ีสดุ ในตลาด หรือ เป็นหน่วยธุรกิจที่มีต้นทุนเฉลี่ยต่อหน่วยต่าสุด หรืออาจเป็นหน่วยธุรกิจที่มีประสบการณ์สูงในตลาดนี้ก็ได้ การเปน็ ผนู้ าราคานเี้ ป็นแนวโนม้ อกี ลกั ษณะหน่ึงท่อี าจเกดิ ขึน้ ในตลาดผขู้ ายนอ้ ยราย 5. การใชท้ ฤษฎเี กมสใ์ นการดาเนนิ นโยบาย การใช้ทฤษฎีเกมส์ (Games theory) ในการกาหนดนโยบายในตลาดผู้ขายน้อยรายนี้ มาจากหลัก ท่ีว่า เม่ือหน่วยธุรกิจแต่ละรายในตลาดผู้ขายน้อยรายต่างมีความขึ้นแก่กัน การที่หน่วยธุรกิจหนึ่งๆ ดาเนิน นโยบายอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ แลว้ ได้ผลอย่างไรนัน้ ย่อมข้นึ อยู่กบั วา่ ผแู้ ขง่ ขันรายอืน่ ๆ ดาเนินนโยบายอยา่ งไรด้วย ดงั น้นั การจะเลือกดาเนนิ นโยบายใดของหนว่ ยธรุ กิจในตลาดนี้จึงต้องคาดคะเนนโยบายของคู่แข่งขันไปพร้อมๆ กันดว้ ย (รายละเอยี ดของทฤษฎีเกมสส์ ามารถศึกษาเพ่มิ เติมไดจ้ ากตาราเศรษฐศาสตร์) สรุปลกั ษณะของตลาดประเภทตา่ งๆ จากลักษณะของตลาดผขู้ ายประเภทต่างๆ ท่ีกลา่ วมาท้ัง 4 ประเภท สรุปลักษณะสาคญั ของแตล่ ะ ตลาดได้ตามตาราง ดังนี้

15 ตวั ชีว้ ัด แข่งขนั กงึ่ แข่งขนั ผูข้ าย ผูกขาด สมบรู ณ์ กง่ึ ผกู ขาด นอ้ ยราย หน่วยธุรกจิ มากมาย มาก น้อย รายเดยี ว การตดั สนิ ใจ ยอมรับราคา กาหนดราคา กาหนดราคา กาหนดราคา เร่อื งราคาสินค้า แตส่ นิ คา้ แตกต่างกัน แตห่ นว่ ยธรุ กิจ และมีหน่วยธรุ กิจ ขึ้นแก่กนั สงู รายเดยี ว ลักษณะสนิ ค้า เหมือนกนั แตกต่างกนั เหมอื นกนั ชนิดเดียวและ หรอื แตกต่างกัน ไม่มสี นิ ค้าทดแทน อปุ สรรคในการเข้า ไมม่ ี มนี ้อยหรอื ไม่มี มี มมี าก หรือออกจากตลาด นา้ มนั ไฟฟ้า รถยนต์ ประปา ตัวอยา่ งสินค้า ขา้ ว สบู่ ยาสฟี ัน ท่ีมา : ปรชั ญ์ ปราบปรปกั ษ์, 2555, น 5-5 สรปุ การเปรียบเทียบผลของตลาดผ้ขู ายแต่ละประเภท การเปรียบเทียบผลของตลาดผู้ขายประเภทต่างๆ ท่ีมีต่อปริมาณการผลิต ราคา การใช้ปัจจัยการ ผลิตในระบบเศรษฐกิจ โดยจะเปรียบเทียบจากตลาดที่อยู่ปลายสุดท้ังสองด้านคือ ตลาดแข่งขันสมบูรณ์กับ ตลาดผูกขาด แล้วพิจารณาตลาดท่ีอยู่ระหว่างตลาดท้ังสองด้านนี้คือ ตลาดก่ึงแข่งขันกึ่งผูกขาด และ ตลาด ผู้ขายน้อยราย ไปพร้อมกัน (นราทิพย์ ชุตวิ งศ์ ,2548, น 286) 1. ผลต่อปริมาณการผลิตและราคาในตลาดสนิ คา้ จากการวิเคราะห์โดยพิจารณาจากจุดที่เหมาะท่ีสุด หนว่ ยธรุ กจิ จะผลติ สนิ ค้า ณ จุดท่ี ตน้ ทุนสว่ นเพิ่ม เท่ากับ รายรับส่วนเพมิ่ หรือ MC = MR ซึง่ เสน้ รายรับส่วนเพ่ิม (MR) ในตลาดผูกขาดเปน็ เส้นที่ชนั มากท่ีสุด และเส้นรายรับส่วนเพิ่มในตลาดแข่งขันสมบูรณ์เป็นเส้นที่ชันน้อยที่สุดคือขนานกับแกนนอน ถ้าเปรียบเทียบ เส้นต้นทุนสว่ นเพิ่ม (MC) เดียวกันจะปรากฎวา่ เส้นต้นทุนสว่ นเพิ่มจะตัดเสน้ รายรับส่วนเพ่ิม ในตลาดผูกขาด เป็นอันดับแรก ถัดไปคือตลาดผู้ขายน้อยราย ตลาดกึ่งแข่งขันก่ึงผูกขาด และตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ดังนั้น ปรมิ าณการผลิตสนิ คา้ ในตลาดผูกขาด จะมีนอ้ ยที่สุดเมื่อเทียบกับทุกตลาด และราคาสนิ ค้าในตลาดผูกขาดจะ สูงสุด ถัดมาคือตลาดผู้ขายน้อยราย ตลาดกึ่งแข่งขันก่ึงผูกขาด และตลาดแข่งขันสมบูรณ์จะเป็นตลาดที่ ปริมาณการผลิตของหนว่ ยธรุ กจิ มีมากที่สุดและราคาสินค้าตา่ สุด 2. ผลกระทบต่อการจัดสรรทรพั ยากรในระบบเศรษฐกิจ แนวโน้มโดยทั่วไปของตลาดผูกขาดมักจะได้รับกาไรเกินปกติ จากการกาหนดปริมาณการผลิตให้ต่า กว่าและกาหนดราคาให้สูงกว่าตลาดแข่งขันสมบูรณ์และตลาดอื่นๆ การดาเนินการของผู้ผูกขาดในลักษณะน้ี

16 จะเปน็ ผลใหก้ ารจดั สรรทรัพยากรของระบบเศรษฐกิจเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ เพราะเมอ่ื ผู้ผูกขาดจากัด ปริมาณการผลติ ของตนให้น้อยลง ทาใหป้ ัจจัยการผลิตในส่วนท่คี วรจะใช้เพ่มิ ขึ้นถ้าผ้ผู ูกขาดขยายปรมิ าณการ ผลิตออกไปแต่กลับไม่มีการใช้หรือมีการใช้น้อยกว่าทค่ี วรจะเป็น ปจั จยั การผลิตสว่ นนจ้ี ึงถูกนาไปใช้ในทางอื่น ท่ีมีประสิทธิภาพต่ากว่า ผลดังกล่าวนี้จะมีความรุนแรงน้อยลงในตลาดผู้ขายน้อยราย ตลาดกึ่งแข่งขันก่ึง ผูกขาด และไมป่ รากฎเลยในตลาดแขง่ ขนั สมบรู ณ์ซ่ึงถือวา่ มีประสทิ ธิภาพในการจัดสรรปัจจัยการผลิต 3. ผลกระทบต่อการใช้ทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจ ในตลาดผูกขาดการเข้ามาผลิตแข่งขันของหนว่ ยธรุ กิจรายอื่นนอกตลาดไม่สามารถทาได้ ผู้ผูกขาดจะ ทาการผลติ ในระยะยาวดว้ ยขนาดโรงงานทที่ าให้ MC = MR โดยทีโ่ รงงานท่ีใช้ไมจ่ าเป็นต้องเป็นขนาดโรงงาน ท่ีมีต้นทุนการผลิตต่าสุด แต่ถ้าเป็นตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ในระยะส้ันถ้าหน่วยธุรกิจมีกาไรเกินปกติ หรือ ขาดทุน ก็จะเกิดความเคล่ือนไหวเข้าหรือออกจากอุตสาหกรรม จนท้ายสุดหน่วยธุรกิจทุกหน่วยได้รับเพียง กาไรปกติและหนว่ ยธุรกิจทุกหน่วยจะทาการผลิตด้วยขนาดโรงงานที่มตี ้นทนุ ตา่ สุด เทา่ กับว่าการใช้ทรัพยากร ของระบบเศรษฐกิจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ และน้อยท่ีสุดในตลาดผูกขาด โดยมีตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดมีประสิทธิภาพรองลงมาจากตลาดแข่งขันสมบูรณ์ และถัดมาเป็นตลาดผู้ขาย น้อยราย โดยรวมแล้ว ตลาดแขง่ ขนั สมบรู ณ์จะได้ชื่อว่าเป็นตลาดทกี่ ่อให้เกิดประสทิ ธิภาพในทกุ ๆ ดา้ นและเป็น ขอ้ สนับสนุนตอ่ การกระตุน้ ให้ตลาดเป็นไปโดยเสรี อยา่ งไรกต็ ามการกลา่ วเชน่ น้ีเป็นไปตามหลักทฤษฎี การที่ จะวิเคราะหถ์ งึ ผลกระทบของตลาดอยา่ งชัดเจนจาเป็นทจ่ี ะต้องมีการศึกษาในรายละเอยี ดที่มากกว่าน้ี 6. ตลาดปัจจัยการผลิต ปัจจัยการผลิตในความหมายทางเศรษฐศาสตร์แบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ ท่ีดิน แรงงาน ทุน และผู้ประกอบการ โดยท่ีดินและแรงงานเป็นปัจจัยการผลิตพื้นฐานท่ีจาเป็นต้องใช้ในการผลิตสินค้าและ บริการ สาหรับทุนในความหมายของปัจจัยการผลิตนนั้ หมายถึง เครื่องมือ เคร่ืองจักร โรงงาน ที่ใช้ในการ ผลิตสินค้าและบริการ และผู้ประกอบการ หมายถึงผู้ที่ทาหน้าท่ีในการรวบรวมปัจจัยการผลิตประเภทต่างๆ มาเพ่ือใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ ซ่ึงผู้ประกอบการนี้มีความสาคัญมากในการดาเนินธุรกิจในปัจจุบัน ผู้ประกอบการอาจเป็นเจ้าของกิจการท่ีทาหน้าที่ในการบริหารงานพร้อมกันไปด้วย หรือว่าจ้างผู้บริหารมา บริหารจัดการธุรกิจของตนก็ได้ ในท่ีนี้จะกาหนดให้ ผู้บริหาร เจ้าของกิจการเป็นบคุ คลเดียวกันเรียกรวมกนั วา่ ผปู้ ระกอบการหรอื ผผู้ ลิต 6.1 ความหมายของตลาดปัจจัยการผลติ ตลาดปัจจัยการผลิต หมายถึง ตลาดท่ีมีการซื้อขายปัจจัยการผลิตเพ่ือทาการผลิตสินค้าและบริการ โดยให้ความสาคัญทางด้านผู้ซื้อว่า ผู้ซื้อปัจจัยการผลิตจะตัดสินใจซ้ือปัจจัยการผลิตในราคาเท่าใด ปริมาณ มากหรือน้อยเท่าใดจึงจะทาใหไ้ ด้รบั กาไรสงู สดุ จากการซื้อปัจจัยการผลติ นั้นๆ (ปรัชญ์ ปราบปรปกั ษ์ , 2555, น 7-6)

17 การตัดสินใจซ้ือปัจจัยการผลิตเพ่ือนามาใช้ในการผลิตสินค้าและบริการน้ันเกิดจากการที่ผู้บริโภคมี ความต้องการ หรืออุปสงค์ต่อสินค้าและบริการท่ีต้องใช้ปัจจัยการผลิตเหล่านั้น จึงทาให้ต้องมีการซ้ือปัจจัย การผลิตน้นั มาผลติ สินค้าและบรกิ ารเพื่อสนองตอบความต้องการของผู้บรโิ ภค ดงั น้ันอุปสงค์ต่อปัจจัยการผลิต จึงขึ้นอยู่กับอุปสงค์ต่อสินค้าและบริการของผู้บริโภค จึงเรียกอุปสงค์ต่อปัจจัยการผลิตว่า อุปสงค์สืบเน่ือง (derived demand) เชน่ ธรุ กจิ บรกิ ารรถแท็กซ่ีเป็นท่นี ยิ มใช้บริการผู้โดยสาร ผู้ประกอบการกจิ การรถแท็กซแ่ี ห่งหน่ึงมีรถ ใหบ้ ริการไมเ่ พียงพอจงึ ต้องการทจี่ ะซื้อรถแท็กซีเ่ พิ่มเติมและจ้างคนขับรถแท็กซี่เพื่อตอบสนองความตอ้ งการใช้ บริการรถโดยสารแท็กซ่ี ดังนั้นความต้องการซ้ือรถแท็กซี่ ของผู้ประกอบการซ่ึงรถแท็กซ่ีในความหมายทาง เศรษฐศาสตร์ก็คือปัจจัยทุน และการจ้างคนขับรถแท็กซี่ก็คือปัจจัยแรงงาน จึงเป็นอุปสงค์ท่ีสืบเน่ืองมาจาก การทีม่ ีความต้องการใชบ้ รกิ ารรถโดยสารแทก็ ซ่ี นอกจากน้ี ในการผลิตสินค้าและบริการ ผู้ผลิตไม่สามารถใช้ปัจจัยการผลิตเพียงชนิดเดียว แต่ต้อง ใช้ปัจจัยการผลิตหลายชนิดร่วมกันในการผลิต เช่นการให้บริการรถแท็กซ่ีตามที่กล่าวมาน้ัน ต้องใช้ทั้งรถ แท็กซี่และคนขับรถร่วมกันจึงจะให้บริการได้จะใช้เพียงอย่างเดียวไม่ได้ เป็นต้น การที่ผู้ผลิตต้องใช้ปัจจัยการ ผลิตหลายๆ ชนิดร่วมกันเพื่อผลิตสินค้าและบริการนั้นจึงเรียกว่า อุปสงค์ร่วมท่ีข้ึนแก่กัน (jointly interdependent demand) 6.2 ประเภทของตลาดปจั จัยการผลติ ตลาดปัจจัยการผลิตหรือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า ตลาดผู้ซื้อเพราะเป็นการพิจารณาจากจานวนผู้ซ้ือและ ลักษณะของปัจจัยการผลิต แต่เพ่ือไม่ให้เกิดความสับสนระหว่างตลาดสินค้าและตลาดปัจจัยการผลิตในการ แบ่งประเภทของตลาดปัจจัยการผลิต โดยใช้หลักเกณฑ์จานวนผู้ซื้อซึ่ง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือตลาด ปัจจัยการผลิตแข่งขันสมบูรณ์ และตลาดปัจจัยการผลิตแข่งขันไม่สมบูรณ์ (ปรัชญ์ ปราบปรปักษ์, 2555, น 7-7 ถึง7-9) รายละเอียดมดี งั น้ี 1) ตลาดปจั จยั การผลติ แข่งขนั สมบรู ณ์ ตลาดปัจจัยการผลิตแข่งขันสมบูรณ์เป็นตลาดที่มีผู้ซื้อและผู้ขายจานวนมากในตลาด ผู้ซ้ือแต่ละราย จะมีอุปสงค์ต่อปัจจัยการผลิตน้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับอุปสงค์ต่อปัจจัยการผลิตทั้งตลาด และผู้ขายแต่ละ รายจะมีอปุ ทานของปจั จยั การผลิตน้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับอุปทานของปัจจยั การผลติ ทั้งตลาด ส่งผลใหผ้ ู้ ซือ้ และผูข้ ายแต่ละรายไม่มีอิทธิพลในการกาหนดราคาปัจจยั การผลิตที่ซ้อื ขายกันในตลาด โดยราคาปัจจัยการ ผลิตที่ซ้ือขายในตลาดถูกกาหนดจากอุปสงค์ปัจจัยการผลิตของตลาดและอุปทานปัจจัยการผลิตของตลาด ผู้ซ้ือปจั จัยการผลติ แตล่ ะรายตอ้ งซ้ือตามราคาตลาดไม่ว่าจะซ้ือในปริมาณเท่าใด เช่นเดยี วกัน ผ้ขู ายแต่ละราย จะตอ้ งขายในราคาตลาดไม่วา่ จะขายในปรมิ าณเทา่ ใด 2) ตลาดปัจจัยการผลิตแข่งขนั ไม่สมบูรณ์ ตลาดปัจจัยการผลิตแข่งขันไม่สมบูรณ์เป็นตลาดที่มีผู้ซื้อปัจจัยการผลิตไม่มากเท่าตลาดแข่งขัน สมบูรณ์อาจจะมีเพียงรายเดียว น้อยราย หรือจานวนมากก็ได้ขึ้นอยู่กับความไม่สมบูรณ์ของตลาดมากหรื อ

18 น้อย ทาให้ผู้ซื้อสามารถกาหนดราคาและปริมาณการซ้ือปัจจัยการผลิตได้แตกต่างกัน ตลาดปัจจัยการผลิต แข่งขนั ไม่สมบูรณ์นีแ้ บ่งออกเปน็ 3 ประเภทคือ (1) ตลาดปัจจัยการผลิตผูกขาด เป็นตลาดปัจจัยการผลติ ที่มีผู้ซ้ือเพียงรายเดียว ส่งผลให้ผซู้ ื้อ มีอานาจในการกาหนดราคาซ้ือขายมากกว่าตลาดปัจจัยการผลิตไม่สมบูรณ์ประเภทอ่ืนๆ แม้ว่าผู้ซ้ือปัจจัย การผลิตจะเป็นผู้ผูกขาดในการซื้อปัจจัยการผลิต แต่ถ้าหากผู้ซ้ือผูกขาดต้องการซ้ือปัจจัยการผลิตเพ่ิมขึ้นก็ ตอ้ งซ้ือในราคาทสี่ งู ขนึ้ (2) ตลาดปัจจัยการผลิตผู้ซ้ือน้อยราย เป็นตลาดปัจจัยการผลิตท่ีมผี ู้ซ้ือเพียง สองหรือสามราย โดยผู้ซ้ือแต่ละรายจะซ้ือปัจจัยการผลิตในปริมาณมากเมื่อเปรียบเทียบกับอุปสงค์ปัจจัยการผลิตของตลาด ทาให้ผู้ซ้ือแต่ละรายมีอานาจในการกาหนดราคาซ้ือขายปัจจัยการผลิต แต่อานาจในการกาหนดราคาจะน้อย กว่าผู้ซื้อปัจจัยการผลิตในตลาดปัจจัยการผลิตผูกขาด และถ้าผู้ซ้ือแต่ละรายต้องการซื้อปัจจจัยการผลิตมาก ข้ึนกต็ อ้ งซอ้ื ในราคาท่สี ูงขึน้ (3) ตลาดปัจจัยการผลิตกึ่งแข่งขันก่ึงผูกขาด เป็นตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อปัจจัยการผลิต จานวนมากราย โดยผู้ซื้อแต่ละรายต้องการซื้อปัจจัยการผลิตท่ีมีลักษณะแตกต่างกัน ทาให้ผู้ซื้อแต่ละรายมี อานาจในการกาหนดราคาซ้ือขายได้บ้าง แต่อานาจในการกาหนดราคาจะน้อยกว่าตลาดปัจจัยการผลิตผู้ซ้ือ น้อยรายและตลาดปัจจัยการผลิตผูกขาด ตามลาดับ และถ้าผู้ซื้อปัจจัยการผลิตแต่ละรายต้องการซ้ือปัจจัย การผลติ มากขึน้ ก็ตอ้ งซอ้ื ในราคาทสี่ งู ข้ึน ตลาดปัจจัยการผลิตแข่งขันไม่สมบูรณ์ทั้งสามตลาดข้างต้นท่ีกล่าวมาน้ัน สิ่งท่ีเหมือนกันของทั้งสาม ตลาดกค็ อื ถ้าหากผูซ้ ้อื ปจั จยั การผลติ แต่ละรายต้องการซื้อปัจจยั การผลิตเพ่ิมข้นึ ก็ต้องซื้อในราคาท่สี ูงข้นึ ทา ให้ผู้ซื้อแต่ละรายต้องเผชิญกับเส้นอุปทานปัจจัยการผลิตท่ีมีความชันเป็นบวกหรือลาดขึ้นจากล่างซ้ายไปบน ขวา แสดงว่าถ้าต้องการซื้อปัจจัยการผลิตจานวนมากข้ึนต้องซื้อในราคาท่ีสูงข้ึนและต้องจ่ายเพิ่มขึ้นให้กับ ปจั จยั การผลติ หน่วยก่อนหนา้ น้ันด้วย เช่นในการจ้างแรงงาน เส้นอุปทานแรงงานเปน็ เส้นทล่ี าดขึ้นหมายความ ว่า จานวนแรงงานและอัตราค่าจ้างแรงงานเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน สมมติว่าการจ้างแรงงาน 10 คน อัตราค่าจ้างคนละ 10,000 บาทต่อเดือน ถ้าจ้างแรงงาน 15 คน อัตราค่าจ้างคนละ 12,000 บาทต่อเดือน ถา้ เดมิ ผ้ผู ลิตจ้างแรงงาน 10 คน คา่ จา้ งคนละ 10,000 บาทตอ่ เดือน แต่ตอ้ งการจ้างแรงงานเพิ่มขน้ึ เป็น 15 คน ต้องจ่ายค่าจ้างคนละ 12,000 บาทต่อเดือน แรงงาน 10 คนแรกท่ีเคยได้รับค่าจ้างคนละ 10,000 บาท ตอ่ เดือนก็จะได้ค่าจ้างเพิม่ ข้นึ เป็นคนละ 12,000 บาทตอ่ เดือนดว้ ย 7. ความล้มเหลวของตลาด ตลาดเกิดขนึ้ เม่ือผู้ผลติ และผู้บรโิ ภคมีการแลกเปล่ียนซื้อขายสินค้าระหวา่ งกนั ภาคธุรกิจกจ็ ะทาหน้าท่ี เปน็ ผ้ผู ลติ โดยรวบรวมปจั จยั การผลติ มาผลติ สินค้าและบริการเพื่อจาหนา่ ยใหผ้ ู้บริโภค ขณะทภ่ี าคครัวเรือนก็ จะเป็นผู้บริโภคสินค้าและบริการเหล่าน้ัน โดยมีราคาเป็นตัวท่ีบอกให้ผู้ผลิตทราบว่าผลิตสินค้าอะไร เป็น จานวนเท่าใด จะใช้เงินทุน แรงงานเท่าไรจึงจะเหมาะสมคุ้มค่าที่สุด และจะจาหน่ายไปให้กับใคร นอกจากน้ี ราคายังเปน็ ตวั ที่บอกใหผ้ ู้บริโภคทราบว่าควรจะบรโิ ภคอะไร และจานวนเทา่ ใดท่เี ต็มใจจะซ้ือ ซึ่งดูเหมือนว่าถ้า

19 เป็นเช่นน้ีกิจกรรมทางเศรษฐกิจก็คงจะดาเนินการไปได้ด้วยดี โดยมีกลไกราคาทาหน้าที่ในการจัดสรร ทรพั ยากรอยา่ งเหมาะสม (ธนาคารแหง่ ประเทศไทย, 2555, น.80-83) แต่ถา้ เกดิ มปี ัญหาเหล่าน้ี เช่น  สินค้าที่จาเปน็ ต่อการบริโภค แตผ่ ูผ้ ลติ ไมอ่ ยากผลติ เพราะถ้าผลติ แล้วจะไม่สามารถเก็บเงินจาก ผู้บรโิ ภคได้ เช่น การป้องกันประเทศ  สินคา้ ทผี่ ลติ แล้วก่อใหเ้ กดิ มลภาวะด้านสิ่งแวดล้อม สร้างความเดือดร้อนแกผ่ ู้อนื่ เช่น การปล่อยนา้ เสยี จากโรงงาน การปลอ่ ยฝ่นุ ละอองจากโรงงานถ่านหนิ การใช้ยาฆ่าแมลงในสวนผลไม้ เสียงท่ดี ัง รบกวนจากเครื่องบนิ ที่ขน้ึ ลง เปน็ ตน้  ธุรกิจทตี่ ้องใชเ้ งนิ ลงทุนมาก ใชเ้ ทคโนโลยีทนั สมัย ผ้ผู ลิตรายอ่นื ไมส่ ามารถเขา้ มาแขง่ ขนั ได้ ทาให้ ธุรกิจขายสนิ ค้าในราคาแพงส่งผลใหค้ นจานวนมากไม่สามารถซื้อสนิ คา้ นั้นมาบรโิ ภคได้  สินค้าทโี่ ฆษณาเกนิ จริงทาใหผ้ ู้บรโิ ภคหลงเชอ่ื ซื้อสนิ ค้านัน้ มาบริโภค เชน่ ยาลดความอว้ น จะเห็นได้ว่าในบางคร้ังกลไกราคาก็ไมส่ ามารถแกป้ ัญหาเหล่านไี้ ด้ ซ่งึ เรยี กวา่ ความล้มเหลวของตลาด (Market Failure) เมื่อกลไกราคาไม่สามารถทาหน้าที่ในการจัดสรรทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้มีการผลิต และการบริโภคสินค้าเกินกว่าระดับที่เหมาะสม เช่น มีการผลิตมากจนเกินไป ทาให้เกิดความส้ินเปลือง ทรัพยากรของประเทศหรือมีการผลิตและการบริโภคสินค้าน้อยกว่าระดับท่ีเหมาะสมจากปัญหาการผูกขาด ตลาด ทาให้สินค้ามีราคาแพงและมีปริมาณไม่เพียงพอกับความต้องการของประชาชนแม้จะเป็นสินค้าจาเป็น หรือการที่ตลาดละเลยการผลิตและการบริโภคสินค้าที่เป็นโทษต่อคนอื่นๆ และสังคม เช่น เหล้า บุหรี่ เป็นต้น ดังน้ัน รัฐบาลจึงต้องเข้ามาแก้ไขความล้มเหลวของตลาด เพื่อช่วยให้การจัดสรรทรัพยากรมีประสิทธิภาพดี ยง่ิ ขึน้ แตก่ ลไกราคาหรือตลาดมีประสทิ ธิภาพดีอยู่แลว้ การท่ีรฐั บาลเขา้ มาแทรกแซงจะทาใหเ้ กิดการปิดเบือน ตลาด ราคาอาจจะถูกเกนิ จริงทาใหก้ ลไกการปรับตัวของผ้บู รโิ ภคบดิ เบือนหรือใชม้ ากกว่าท่ีควรจะเป็น เกิดการ สิ้นเปลืองทรัพยากร อีกทั้งยังสร้างภาระให้กับรัฐบาล ซ่ึงก็คือเงินภาษีประชาชน จึงเป็นไปได้ว่านโยบาย เศรษฐกิจท่ีเป็นความหวงั ดขี องรฐั บาลอาจจะสร้างผลเสยี ใหแ้ ก่ประเทศได้ 7.1 สนิ ค้าทีก่ ่อใหเ้ กดิ ความล้มเหลวของตลาด แบง่ ไดเ้ ป็น 4 ประเภท คอื 1) สินคา้ สาธารณะ (Public Goods) เปน็ สินคา้ ท่ีจาเป็นต่อการบริโภคแตภ่ าคเอกชนไม่อยากผลิต เนอื่ งจากผลิตแลว้ ไมส่ ามารถเกบ็ เงินจากผู้บริโภคไดเ้ พราะมีแต่คนอยากใช้แต่ไม่อยากจ่าย หรอื ผูบ้ รโิ ภคทุกคน พยายามท่จี ะทาตนเป็น Free Rider (ใชฟ้ รี) ภาครัฐบาลจึงต้องเข้ามาผลติ สินคา้ และให้บรกิ ารตา่ งๆ เหล่านี้เอง แกป่ ระชาชน เชน่ การป้องกันประเทศ การดูแลความสงบเรยี บร้อยของตารวจ 2) สินค้าที่มีผลกระทบภายนอก (Externalities) คาว่าผลกระทบภายนอกนี้ หมายถึง ผลกระทบ ต่อคนอื่นและสังคมที่ไม่มีส่วนในการผลิตหรือการบริโภคซ่ึงผลกระทบน้ีอาจเป็นไปได้ท้ังทางลบ (เป็นโทษ) และผลกระทบทางบวก (เป็นประโยชน์) เช่น กรณีของโรงงานผลิตไฟฟ้าท่ีปล่อยฝุ่นควันสู่อากาศเป็นผลกระ ทบทางลบต่อสังคม ภาครัฐบาลจึงต้องเข้ามาเรียกเก็บภาษีจากผู้ที่ก่อมลพิษ หรือเป็นที่รู้จักกันว่า “ภาษี

20 สิ่งแวดล้อม” เพื่อจ่ายชดเชยให้กับผู้ท่ีได้รับความเดือดร้อนและใช้ในการฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม สาหรับกรณีของ ผลกระทบทางบวกนัน้ ได้แก่ การฉดี วคั ซนี ปอ้ งกันโรคติดต่อ เพราะการฉดี วคั ซีนปอ้ งกันโรคตดิ ต่อนอกจากเป็น การป้องกันโรคติดต่อของผู้ฉีดเอง แล้วยังป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อไปยังบุคคลอ่ืน ดังนั้น ภาครัฐบาลต้องเข้ามาส่งเสริมกิจกรรมเหล่านี้ โดยสามารถทาได้หลายรูปแบบ เช่น ให้เงินอุดหนุน ลดภาษี จัดหาแหล่งเงินทุนในการผลติ ผลิตสนิ ค้าและบริการนน้ั ๆ เอง เปน็ ตน้ 3) สินค้าท่ีมีลักษณะเป็นการผูกขาดโดยธรรมชาติ (Natural Monopoly) การผูกขาดโดย ธรรมชาตนิ ี้ หมายถึง การทม่ี ีผู้ผลติ เพียงรายเดียวท่ีสามารถผลิตสนิ ค้าน้ันได้ เพราะต้องใช้เงินลงทุนมาก อาศัย เทคโนโลยที ันสมยั ซึง่ ตอ้ งใชเ้ วลาในการคืนทุนนาน จงึ เสมือนเปน็ การกีดกันไมใ่ ห้คนอ่นื เข้ามาผลิตแขง่ ขันด้วย ท้ังๆ ท่ีไม่มีข้อห้ามในการผลิตแข่งขัน ในเมื่อเป็นผู้ผลิตเพียงรายเดียวในการผลิตสินค้านี้สามารถกาหนดราคา สูงๆ ทาใหป้ ระชาชนไม่สามารถเข้าถึงสนิ ค้านั้นได้ โดยเฉพาะสนิ ค้าที่จาเป็นต่อผู้บริโภค เชน่ ไฟฟา้ และประปา จึงเป็นหน้าท่ีของรัฐบาลในการเข้ามาผลิตหรือให้บริการแทนภาคเอกชนเพ่ือให้ราคาอยู่ในระดับท่ีเหมาะสม (Fair Price) พอที่ประชาชนทั่วไปสามารถเขา้ ถงึ ได้ 4) สินค้าท่ีผู้ผลิตและผู้บริโภคมีข้อมูลไม่เท่ากัน (Asymmetric Information) ส่วนใหญ่จะเป็น ผบู้ รโิ ภคทไี่ ดร้ บั ข้อมลู ไมเ่ พยี งพอต่อการตัดสินใจบรโิ ภคทาให้บริโภคมากเกินไป เชน่ การโฆษณาคณุ สมบัติของ ยาลดความอ้วนและเครื่องด่ืมชูกาลังที่เกินจริง รัฐบาลจึงต้องเข้ามาจัดการโดยให้ผู้ผลิตเปิดเผยข้อมูล ขอ้ เทจ็ จริงแก่สาธารณะ และก็มีการจัดต้ังหนว่ ยงานคุ้มครองผู้บรโิ ภคอีกหลายหน่วยงานด้วย 7.2 การแทรกแซงของรัฐเม่ือเกดิ ผลกระทบภายนอก ในระบบตลาด การแข่งขันจะทาให้เกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจได้ก็ต่อเมื่อแต่ละคนรู้ต้นทุนค่าเสีย โอกาสท่ีแท้จริงจากการกระทาของพวกเขา แต่ในบางสถานการณ์ ราคาที่บางคนจ่ายสาหรับทรัพยากร สินค้า และบริการอาจจะสูงกว่าหรือต่ากว่าต้นทุนค่าเสียโอกาสท่ีสังคมจ่ายสาหรับทรัพยากร สินค้า และบริการ เดียวกันก็เป็นไปได้ เช่น โรงงานเหล็กท่ีใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงทาการผลิตเหล็กและจ่ายตนทุนสาหรับปัจจัย การผลิตต่างๆ เช่น ท่ีดิน แรงงาน ค่าเชื้อเพลิง เงินทุน และท่ีเหลือเป็นกาไรของผู้ประกอบกิจการ ราคาของ เหล็กทขี่ ายก็จะสะท้อนต้นทุนที่เกิดขึ้นภายในโรงงานนัน้ ๆ อยา่ งไรก็ตาม โรงงานได้มกี ารนาอากาศบรสิ ุทธ์ิหรือ ภูมิทัศน์โดยรอบบริเวณโรงงานมาใช้เป็นปัจจัยการผลิตด้วย การผลิตเหล็กทาให้เกิดควันจากเตาหลอมโลหะ และฝุ่นละอองจากถ่านหนิ ซ่ึงโรงงานไม่ไดจ้ ่ายต้นทุนสาหรับการใช้อากาศหรือภูมิทศั น์โดยรอบบรเิ วณโรงงาน เหล่าน้ัน แต่เป็นคนในชุมชนท่ีจะต้องจ่ายต้นทุนเหล่าน้ีแทนในรูปแบบของโรคทางเดินหายใจ การมีเสื้อผ้า รถยนต์ และบา้ นเรือนท่สี กปรกขน้ึ หรือภมู ทิ ัศน์โดยรอบบรเิ วณโรงงานเสยี หายไม่สามารถเป็นแหล่งท่องเท่ียว ได้อีกต่อไปเกิดผลกระทบภายนอกขึ้น ซ่ึงทาให้ต้นทุนผลิตเหล็กเกิดขึ้นกับบุคคลที่สามท่ีไม่ใช่ผู้ซื้อและผู้ผลิต เหลก็ ผลก็คือต้นทุนการผลิตเหล็กท่ีเกิดขึ้นกับผู้ผลิตเรียกว่าเป็นต้นทุนส่วนบุคคล (private cost) มีน้อย กว่าที่ควรจะเป็นเพราะไม่ได้คิดผลภายนอกท่ีเกิดข้ึน เช่น การติดโรคทางเดินหายใจ การมีเสื้อผ้า รถยนต์และ บ้านเรือนท่ีสกปรกที่เกิดจากการผลิตเหล็กโดยไม่มีมาตรการป้องกัน ในขณะท่ีผู้ซื้อหรือผู้ใช้เหล็กก็จ่ายราคา

21 เหล็กที่ซ้ือมาในราคาที่ต่ากว่าท่ีควรจะเป็นเพราะไม่ได้คิดต้นทุนท่ีเกิดขึ้นกับบุคคลท่ีสามนี้เช่นเดียวกัน ดังน้ัน หากจะคิดคานวณตน้ ทุนในการผลิตเหล็กทั้งหมดให้ถูกต้องครบถ้วนกจ็ าเป็นจะต้องคดิ รวมเอาต้นทนุ ที่เกิดจาก มาตรการป้องกันมิให้เกิดผลภายนอกดังกล่าวไปรวมกับต้นทุนส่วนบุค คลในการผลิตเหล็กซ่ึงจะเป็นต้นทุน ทั้งหมดที่เกิดกับสังคมในการผลิตเหล็กหรือต้นทุนทางสังคม (social cost) จึงอาจกล่าวได้ว่าหากต้นทุนส่วน บุคคลในการผลิตสินค้าใดสินค้าหนึ่งไม่เท่ากับต้นทุนทางสังคม ส่วนท่ีทาให้เกิดความแตกต่างก็คือต้นทุนจาก ผลกระทบภายนอกนั่นเอง ผลกระทบภายนอกดา้ นลบ ในกรณีท่ีเกิดผลกระทบภายนอกด้านลบ (ต้นทุน) ท่ีอาจมีต่อบุคคลที่สาม รัฐอาจมีวิธีการแก้ไขอย่าง นอ้ ย 2 วิธี คือ 1. ภาษี เช่น กรณีโรงงานเหล็กปล่อยมลพิษท่ีเกิดจากกระบวนการผลิตสู่อากาศเป็นปัญหา ผลกระทบภายนอกด้านลบที่ผู้ผลิตไม่ได้เสยี ค่าใช้จา่ ยซ่ึงเป็นต้นทุนที่โรงงานจะต้องรับผิดชอบแก้ไขปัญหา แต่ สังคมเป็นผู้จ่ายต้นทุนแทน ดังน้ันรัฐอาจบังคับให้โรงงานเหล็กเสียภาษีสาหรับการทาให้เกิดมลภาวะทาง อากาศเพื่อชดเชยให้กบั บุคคลทีส่ ามท่ไี ด้รับผลกระทบจากมลภาวะทางอากาศท่ีเกดิ ขึน้ ตามความเหมาะสมโดย จะเป็นภาษีสิ่งแวดล้อม ซ่ึงจะส่งผลทาให้อุปทานเหล็กลดลงและราคาเหล็กสูงขึ้น การกาหนดราคาสินค้าให้ เท่ากับต้นทุนการผลิตทั้งหมดของสังคมจึงเป็นแนวความคิดในอุดมคติในการแก้ไขความล้มเหลวของตลาดท่ี เกิดข้นึ ทางหนึง่ 2. กฎข้อบังคับ เช่น กรณีโรงงานเหล็กท่ีก่อให้เกิดผลกระทบด้านลบจากการผลิตเหล็ก รัฐอาจต้อง กาหนดข้อบังคับเก่ียวกับมลภาวะระดับสูงสุดท่ีสามารถยอมรับได้ของสังคมข้ึนมา ทาให้โรงงานเหล็กต้อง ดาเนินการติดตงั้ อุปกรณ์ลดมลภาวะเพ่ือให้สอดคลอ้ งกับข้อบังคับมิเชน่ น้นั ก็ไม่สามารถดาเนนิ กิจการได้ ซ่ึงจะ ส่งผลให้การผลิตเหลก็ ลดลง นอกจากน้ีรัฐยงั ตอ้ งทาหนา้ ที่ตรวจสอบเพื่อบงั คบั ใช้กฎหมายอีกทางหนึ่งดว้ ย ผลกระทบภายนอกดา้ นบวก กรณีที่เกิดผลกระทบภายนอกด้านบวก (ประโยชน์) ต่อบุคคลท่ีสาม รัฐอาจมีวิธีการหรือนโยบาย มากมายทสี่ ามารถเลือกได้ เชน่ การจดั หาแหลง่ เงินทุนในการผลติ รัฐเลือกทาการผลิตสินค้าน้นั เอง การให้เงิน ช่วยเหลือ (negative taxes) และการกาหนดกฎขอ้ บังคบั เพอ่ื จัดการผลภายนอกดา้ นบวก 1. การจัดหาเงินทุนและการผลิตของรัฐบาล ถ้าผลกระทบด้านบวกมีมาก รัฐอาจจะต้องจัดหา เงินทุนเพื่ออานวยความสะดวกในการผลิตเพื่อท่ีจะได้ดาเนินการผลิตสินค้าให้ได้ในปริมาณท่ีเหมาะสมไม่ขาด แคลน เช่น กรณีการฉดี วคั ซีนโรคติดต่อ รัฐสามารถจดั ตั้งโครงการหาเงินทนุ เพ่ือฉีดวัคซีนให้แกป่ ระชาชน หรือ อาจดาเนนิ การผลิตเสยี เองนอกเหนอื จากเป็นศนู ย์กลางในการฉีดวัคซนี โรคตดิ ต่อท่ีไมค่ ดิ คา่ บรกิ ารได้อีกดว้ ย 2. การให้เงินช่วยเหลือ หรือเรียกว่าเป็นภาษีทางลบเป็นการให้เงินช่วยเหลือแก่บริษัทผู้ผลิตหรือ ผู้บริโภคที่ซ้ือหรือผลิตสินค้าและบริการน้ันๆ ในกรณีของการฉีดวัคซีนโรคติดต่อ รัฐสามารถช่วยเหลือให้ ประชาชนได้รบั การฉีดวัคซนี โดยการจา่ ยเงินให้แก่บริษัทท่ีให้บรกิ ารฉดี วัคซนี แทน หรือในกรณีการศกึ ษา ผเู้ สีย

22 ภาษีจะเป็นผู้ที่จ่ายค่าใช้จ่ายในการศึกษาให้แก่ผู้เรียนที่อาจได้รับการช่วยเหลือมากถึง 80 เปอร์เซ็นต์ของ ต้นทุนท้งั หมด โดยเฉพาะ ในกรณกี ารศึกษาระดบั อุดมศึกษาในบางสาขา เชน่ สาขาแพทย์ในประเทศไทย เงิน ช่วยเหลือนี้จะช่วยให้ราคาในส่วนของผู้บริโภคหรือผู้เรียนที่ต้องจ่ายลดน้อยลง ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดความ ตอ้ งการปริมาณสนิ คา้ และบรกิ ารทม่ี ากข้ึน 3. กฎขอ้ บังคับ ในบางกรณีท่เี กยี่ วข้องกบั ผลกระทบภายนอกดา้ นบวก รัฐสามารถใช้กฎหมายบังคับ การกระทาของบุคคลในสังคม เช่น การใช้กฎหมายบังคับให้เด็กทุกคนได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรค โปลิโอ หรือมะเร็งปากมดลูกเป็นต้น หรือการใช้กฎหมายบังคับให้เด็กทุกคนท่ีอยู่ในวัยเรียนต้องเข้ารับการศึกษาภาค บังคบั ไม่ว่าจะเป็นสถาบนั การศึกษาของรัฐหรอื เอกชนก็ตามโดยรัฐเปน็ ผู้ออกค่าใชจ้ ่าย %%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%

23 บรรณานุกรม ชวินทร์ ลนี ะบรรจง. (2554). เศรษฐศาสตร์ติดดนิ . กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์ ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2555). เศรษฐศาสตรเ์ ลม่ เดียวอย.ู่ กรุงเทพฯ : บรษิ ทั พลัสเพรส จากัด. ปรัชญ์ ปราบปรปักษ.์ (2555) . หนว่ ยที่ 5 ตลาดแขง่ ขนั สมบรู ณ์และตลาดผูกขาด. ในเอกสารการสอนชุดวิชา หลักเศรษฐศาสตรเ์ บื้องต้น หน่วยที่ 1-8. (ฉบับปรับปรุงคร้ังท่ี 2). พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี:สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช. ----------- (2555) . หน่วยท่ี 7 ตลาดปจั จยั การผลิตและผลตอบแทนปัจจัยการผลิต. ในเอกสารการสอนชุดวิชา หลักเศรษฐศาสตร์เบ้ืองต้น หน่วยที่ 1-8 (ฉบับปรับปรุงคร้ังที่ 2) . พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี:สานักพิมพ์ มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช. นราทิพย์ ชุติวงศ์. (2548) . หน่วยที่ 7 ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์. ในเอกสารการสอนชดุ วชิ าหลักเศรษฐศาสตร์ เบ้ืองต้น หน่วยที่ 1-8. (ฉบับปรับปรุงคร้ังท่ี 1) . นนทบุรี : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัย- ธรรมาธริ าช. ----------- (2542) . ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาค (ฉบับปรับปรุง) . พิมพ์คร้ังที่ 4. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . อรรฆยค์ ณา แยม้ นวล. (2552). หนว่ ยท่ี4 ตลาดสนิ ค้าและการกาหนดราคาสนิ คา้ .ในเอกสารการสอนชดุ วชิ า เศรษฐศาสตร์เพ่ือการบรหิ ารรฐั กิจ.หน่วยที่ 1-8. นนทบุรี : สานักพมิ พ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook