Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระพุทธศาสนา ม.4-6 หน่วยที่ 5

พระพุทธศาสนา ม.4-6 หน่วยที่ 5

Published by pim, 2021-05-08 03:13:54

Description: พระพุทธศาสนา ม.4-6 หน่วยที่ 5

Search

Read the Text Version

พระพุทธศาสนา ม.๔-๖ หน่วยที่ ๕ พระพทุ ธศาสนากบั การศกึ ษาท่สี มบูรณ์ การเมอื งและสันติภาพ

พระพุทธศาสนากบั การศกึ ษาทส่ี มบูรณ์ การเมอื งและสันตภิ าพ ๑. ความสาคญั ของพระพุทธศาสนากับการศึกษาที่สมบรู ณ์ ๑.๑ มนษุ ยเ์ ป็นสตั ว์ประเสริฐด้วยการศึกษา สมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต) กลา่ วว่า มนษุ ยต์ ่างจาก สัตวอ์ นื่ ในข้อทวี่ ่าเป็นสัตว์ท่ตี อ้ งฝกึ ต้องศึกษา และฝึกได้ ศกึ ษาได้ มีหลักการทคี่ วรสังเกตสาคัญในเร่อื งน้ี ๒ อย่าง คือ ๑) มนุษย์เป็นสัตว์ที่ตอ้ งฝึก ๒) มนษุ ยเ์ ป็นสตั ว์ท่ฝี กึ ได้

พระพุทธศาสนากบั การศึกษาท่ีสมบูรณ์ การเมืองและสันตภิ าพ ๑.๒ หลักธรรมพนื้ ฐานของพระพทุ ธศาสนากับการศึกษาท่สี มบูรณ์ หลกั พทุ ธธรรมทจ่ี ะนามาเป็นหลกั ในการประยุกตใ์ ชก้ บั การจัดการศกึ ษา แบ่งออกเปน็ ๒ กลุ่ม คอื ๑) หลักพทุ ธธรรมทเ่ี ป็นเกณฑใ์ นการพิจารณาปัญหา หลักพุทธธรรมน้ีจะใช้เป็นเคร่ืองมือตรวจสอบและแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้น การศึกษาท่ีดาเนินไปในทุกขนั้ ตอน คอื อรยิ สัจ ๔ คอื ทกุ ข์ สมทุ ยั นิโรธ มรรค และปฏจิ จสมปุ บาท

พระพุทธศาสนากบั การศึกษาทสี่ มบรู ณ์ การเมอื งและสันตภิ าพ ๒) หลกั พุทธธรรมเชิงปฏิบตั กิ ารเสรมิ ในรายละเอียด เม่อื ตรวจสอบพบจุดบกพรอ่ งของกระบวนการศึกษา หรอื กระบวนการเรยี น การสอนนั้น การนาหลักพทุ ธธรรมนีไ้ ปใช้ทาได้ ๒ อย่าง คือ ในฐานะทบทวนแผน (Re-planning) ตามความเป็นจรงิ ทป่ี รากฏออกมาจากการตรวจสอบดว้ ยหลักอรยิ สจั ๔ และปฏิจจสมุปบาท หลกั สาคัญทจี่ ะตอ้ งตระหนักไว้เสมอกค็ อื การใช้หลักอรยิ สัจ ๔ และปฏิจจสมุปบาท มาเป็นหลักในการแกป้ ญั หา หรอื ดาเนินการในเรอื่ งราวใด ๆ น้นั ตอ้ งตรวจสอบเรอื่ งนน้ั ๆ ท้ังระบบ เพือ่ ใหพ้ บความจรงิ ไมม่ องเฉพาะจุดใดจดุ หนึ่ง แตต่ รวจสอบเพอื่ ค้นหาความจริงแลว้ แกป้ ญั หาตามเหตปุ จั จยั ที่ปรากฏ บางเรื่องอาจแกท้ ้งั หมด บางเร่ืองอาจจะแกเ้ พียงจดุ ใดจดุ หนึ่งกเ็ พียงพอ

พระพทุ ธศาสนากบั การศึกษาทสี่ มบูรณ์ การเมืองและสันตภิ าพ คณุ ธรรมในการเรียนการสอน ปญั ญา ปัญญาและกระบวนการอันนาไปสู่การเกิดปัญญา คือ ความรอบรู้ทั้งตนเอง วชิ าการต่าง ๆ ส่งิ แวดลอ้ ม สังคม และความเปน็ ไปของโลกอย่างชัดเจน ในทางพระพุทธศาสนา ได้แบ่งปัญญาออกเป็น ๓ ประเภท คือ สหชาติปัญญา นิปากปญั ญา และวปิ ัสสนาปัญญา

พระพทุ ธศาสนากบั การศึกษาท่สี มบรู ณ์ การเมอื งและสันตภิ าพ อริยมรรคมีองค์ ๘ อริยมรรคมีองค์ ๘ อรยิ มรรคอยทู่ ่ีสมั มา คือ ความถูกตอ้ งชอบธรรมในลีลา ชวี ติ ของมนุษยท์ ุกชาติทุกเผ่าพนั ธ์ุ ลว้ นดาเนนิ ไปในกรอบแหง่ อรยิ มรรคท้งั สิ้น หากลีลาเหลา่ นนั้ ดาเนินไปผิดทาง ชวี ิตกต็ ้องรับผลแหง่ ความผิดน้นั ถ้าได้ใช้ลีลาชวี ิตให้ถูกต้องในทุกข้ันตอน ผลออกมาเป็นความไร้ทุกข์อย่างยุติธรรม ไม่มีใคร จะมาเปลี่ยนแปลงผลแห่งความถกู ตอ้ งเหลา่ น้นั ได้

พระพทุ ธศาสนากับการศกึ ษาที่สมบรู ณ์ การเมืองและสนั ตภิ าพ การนาสมั มาทฏิ ฐเิ ป็นแนวทางการจดั กระบวนการศึกษา “สมั มาทฏิ ฐิ ความเหน็ ชอบ” คอื ปัญญาข้นั สูงทเ่ี กิดจากการส่ังสอน อบรม ในด้านจิตใจ จนเหน็ สัจจะทงั้ ปวงว่าอะไรควรขอ้ งแวะ อะไรควรละอย่างชัดเจน การจัดการศึกษาจนได้ปัญญาประเภทสัมมาทิฏฐิ คือ การวางรากฐานความ ถูกต้องให้แก่วิชาการทั้งปวง ความรู้ท่ีต้ังอยู่บนสัมมาทิฏฐิล้วนเป็นความรู้ท่ีไม่เป็นพิษ เปน็ ภัยแก่ใคร ๆ แต่จะสรา้ งสรรค์ประโยชน์ฝา่ ยเดยี ว

พระพทุ ธศาสนากับการศกึ ษาที่สมบรู ณ์ การเมอื งและสันตภิ าพ การเกิดสมั มาทิฏฐมิ าจากเหตุ ๒ อย่าง ๑. ปรโตโฆสะ (ปะ-ระ-โต-โค-สะ) คือ ปัจจัยกระตุ้นการเรียนรู้จากภายนอก เชน่ การแนะนา การถ่ายทอด การโฆษณา คาบอกเล่า ๒. โยนิโสมนสิการ (โย-นิ-โส-มะ-นะ-สิ-กาน) คือ ปัจจัยกระตุ้นการเรียนรู้จาก ภายใน หมายถึง การคดิ อยา่ งแยบคาย หรอื ความร้จู กั คดิ คิดอย่างมรี ะบบ

พระพทุ ธศาสนากับการศึกษาที่สมบรู ณ์ การเมืองและสันติภาพ ๒. ความสาคญั ของพระพุทธศาสนากับการเมอื ง การเมืองในโลกเป็นเรื่องของการแบ่งสรรผลประโยชน์และอานาจ จึงจาเป็นต้อง สะสมผู้คน พวกพ้อง เงินทอง แม้กระทั่งอาวุธยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ เพราะหากตกลงกันด้วยดี ไม่ได้ ก็ต้องข่มขู่ดว้ ยวิธกี ารทร่ี นุ แรงไปตามลาดบั จนกระท่งั เกดิ การสู้รบทัว่ โลก พระพุทธศาสนามีแนวคิดตรงข้ามกับการแสวงหาอานาจท่ีมากกว่าผู้อื่น แต่มุ่งใน การอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ตสิ ขุ ซงึ่ การอยู่รว่ มกันอย่างสนั ตสิ ุข สมาชิกของสงั คมจะต้องพงึ รหู้ ลักปฏบิ ตั ิ ดังน้ี

พระพุทธศาสนากบั การศึกษาท่สี มบูรณ์ การเมอื งและสนั ตภิ าพ ก. ร้หู ลกั อธิปไตย คือ รูห้ ลกั ความเปน็ ใหญท่ เี่ รยี กว่า อธปิ ไตย ๓ ประการ ดงั น้ี หลักอธปิ ไตย อตั ตาธปิ ไตย โลกาธปิ ไตย ธรรมาธปิ ไตย

พระพุทธศาสนากบั การศกึ ษาที่สมบูรณ์ การเมืองและสันติภาพ ข. มีสว่ นในการปกครอง หลักการรว่ มรบั ผิดชอบที่จะชว่ ยป้องกนั ความเสอ่ื ม นาไปสคู่ วามเจริญรงุ่ เรอื ง เรยี กวา่ อปริหานยิ ธรรม ๗ (อะ-ปะ-ริ-หา-นิ-ยะ-ทา) เปน็ หลักธรรมสาหรับใช้ในการปกครอง เพื่อป้องกนั ไม่ใหก้ ารบริหารหมคู่ ณะเส่อื มถอย ดังน้ี ๑. หมัน่ ประชมุ กันเนืองนิตย์ ๒. พร้อมเพรยี งกันประชุม ๓. ไมบ่ ญั ญัติ หรอื ล้มเลิกขอ้ บัญญตั ติ ่าง ๆ ๔. ใหค้ วามเคารพและรบั ฟังความคดิ เห็น ๕. ไมก่ ดขข่ี ม่ เหงสตรี ๖. เคารพบูชาเจดีย์ ๗. ให้การอารกั ขาพระภิกษสุ งฆ์หรอื ผูท้ รงศีล

พระพุทธศาสนากบั การศึกษาท่สี มบรู ณ์ การเมืองและสันตภิ าพ ๓. ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับสนั ติภาพ ๓.๑ หลักสาราณียธรรม สาราณยี ธรรม หมายถงึ ธรรมที่เปน็ ท่ตี ง้ั แหง่ ความให้ระลกึ ถงึ มคี วามปรารถนาดี เอือ้ เฟ้ือเกอ้ื กูลกัน ๑) เมตตากายกรรม ๖) มีความเห็นรว่ มกนั ไม่วิวาท ๒) เมตตาวจกี รรม เพราะมคี วามเห็นไมต่ รงกนั ๕) รกั ษาความประพฤติ หลกั สาราณยี ธรรม (ศลี ) เสมอกัน ๓) เมตตามโนธรรม ๔) แบง่ ปนั ผลประโยชน์ที่ไดม้ า

พระพุทธศาสนากับการศึกษาทสี่ มบูรณ์ การเมอื งและสนั ตภิ าพ ๓.๒ หลกั สงั คหวตั ถุ ๔ สังคหวตั ถุ แปลว่า เคร่อื งยึดเหนีย่ ว เครอ่ื งยึดเหนี่ยวนา้ ใจของผอู้ ่นื ๑) ทาน แปลวา่ การให้ ๒) ปิยวาจา แปลว่า เจรจาออ่ นหวาน หลัก สงั คหวัตถุ ๔ ๔) สมานัตตตา แปลว่า ๓) อตั ถจรยิ า แปลวา่ ความเป็นคนมีตนสมา่ เสมอ ประพฤตปิ ระโยชน์

พระพุทธศาสนากบั การศึกษาทสี่ มบูรณ์ การเมอื งและสนั ตภิ าพ ๓.๓ หลกั พรหมวหิ าร ๔ พรหมวหิ าร หมายถึง หลกั ความประพฤติทป่ี ระเสรฐิ ปฏบิ ตั ติ นต่อมวล มนษุ ยชาติ และสรรพสตั ว์ทงั้ หลายโดยชอบธรรม มี ๔ ประการ คือ ๑) เมตตา คือ ความรักใคร่ ปรารถนาดี ๔) อเุ บกขา คอื ความวางใจ หลกั ๒) กรุณา คือ ความสงสาร เป็นกลาง มีจิตใจเที่ยงตรง พรหมวิหาร ๔ คดิ ชว่ ยใหพ้ ้นทกุ ข์ ไม่เอนเอยี ง ๓) มุทติ า คือ ความยินดี เม่อื ผ้อู น่ื อย่ดู ีมสี ขุ

พระพุทธศาสนากับการศกึ ษาท่สี มบูรณ์ การเมืองและสนั ติภาพ ๓.๔ หลกั ทศพิธราชธรรม ทศพิธราชธรรม คอื คุณธรรมของผูป้ กครอง หรือธรรมของพระราชา ๑๐ ประการ ดังนี้ ๑) ทาน หมายถึง การใหแ้ ละแบง่ ปันให้มวลประชา ๒) ศลี หมายถึง มีความประพฤตดิ ีงาม สารวมกาย วาจา และใจ ๓) ปริจจาคะ หมายถงึ การบริจาค ๔) อาชวะ หมายถึง มีความซอื่ ตรง ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ โดยสุจริต ๕) มทั ทวะ หมายถึง มคี วามออ่ นโยน ไมเ่ ยอ่ หยิง่

พระพุทธศาสนากบั การศกึ ษาทส่ี มบูรณ์ การเมอื งและสันตภิ าพ ๖) ตบะ หมายถึง ความทรงเดช คือ แผดเผากเิ ลสตณั หา ๗) อักโกธะ หมายถึง ความไม่โกรธ ไม่เกร้ียวกราด ๘) อวิหงิ สา หมายถงึ ความไมเ่ บยี ดเบยี น ไมห่ ลงอานาจ ไมบ่ ีบคั้นกดข่ี ๙) ขันติ หมายถึง ความอดทน ๑๐) อวโิ รธนะ หมายถงึ ความไม่คลาดธรรม การประพฤติอย่ใู นธรรม

พระพทุ ธศาสนากับการศึกษาทส่ี มบรู ณ์ การเมืองและสันติภาพ ๓.๕ หลกั จักรวรรดวิ ัตร จักรวรรดวิ ตั ร หมายถึง ธรรมเนยี มการทรงบาเพ็ญพระราชกรณยี กจิ ของ พระเจา้ จักรพรรดิ หรอื หนา้ ทข่ี องนักปกครองผยู้ ิ่งใหญ่ ได้แก่ ๑) ธรรมาธปิ ไตย การยึดถอื หลกั ธรรมเปน็ ใหญ่ในการปกครอง ๒) ธรรมิการกั ขา พระราชาจะตอ้ งจดั การรักษาป้องกนั และคุม้ ครองบคุ คล ภายใต้การปกครอง ดังน้ี (๑) แก่ชนภายใน (พระมเหสี โอรส ธิดา) (๒) แก่กองทพั (ทหาร) (๓) แก่กษัตริย์ทง้ั หลายผูอ้ ย่ใู นพระบรมเดชานุภาพ (นกั บรหิ ารผ้ใู หญ่) (๔) แกผ่ ูต้ ามเสด็จ (ขา้ ราชบริพาร) (๕) แก่ครอู าจารย์ นกั วิชาการ (๖) แก่ราษฎรท้งั หลาย (๗) แก่พระสงฆแ์ ละบรรพชิตผทู้ รงศลี (๘) แก่สตั วอ์ นั ควรสงวนทั้งหลาย

พระพุทธศาสนากบั การศึกษาท่ีสมบรู ณ์ การเมืองและสนั ตภิ าพ ๓) อธรรมการนิเสธนา (อะ-ทา-มะ-กา-ระ-นิ-เส-ทะ-นา) ห้ามมิให้มีสิ่ง ไม่ชอบธรรมเกิดขึน้ ในพระราชอาณาเขต ๔) ธนานปุ ระทาน แบง่ ปนั ทรัพยส์ นิ เฉล่ียให้แก่คนยากจนผยู้ ากไร้ ๕) ปริปจุ ฉา (ปะ-ริ-ปุด-ฉา) ปรกึ ษาสอบถามปัญหากบั สมณพราหมณ์

พระพุทธศาสนากับการศึกษาทส่ี มบูรณ์ การเมืองและสนั ตภิ าพ ๓.๖ ราชสงั คหวตั ถุ ๔ ราชสังคหวัตถุ หมายถงึ หลกั การสงเคราะห์ประชาชนของพระราชา หรอื นักปกครองบา้ นเมือง ประกอบดว้ ย ราชสังคหวัตถุ ๔ ๑) สสั สเมธะ หมายถึง ความฉลาดในการบารงุ พชื พนั ธุ์ ธัญญาหาร สง่ เสริมการเกษตร ๒) ปรุ ิสเมธะ หมายถงึ ความฉลาดในการบารงุ ข้าราชการ ๓) สมั มาปาสะ หมายถงึ ความรู้จกั ผกู ประสานประชาชนด้วยสง่ เสริมอาชพี ๔) วาชเปยะ หรือ วาจาเปยยะ หมายถงึ มวี าจาอันดดู ดมื่ นา้ ใจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook