ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย ลกั ษณะ และความสาคญั ของกฎหมายได้ อธิบายระบบ ประเภท และลาดบั ช้ันของกฎหมายได้ อธิบายขอบเขตการบังคบั ใช้กฎหมาย การตีความกฎหมาย และการอดุ ช่องว่างของกฎหมายได้
ความหมายของกฎหมาย กฎหมาย คอื ข้อกาหนดความประพฤตขิ องบุคคลท่ีต้องปฏบิ ัตติ าม โดยไม่มที างเลอื ก ซ่ึงมลี กั ษณะเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรหรือจารีตประเพณกี ็ ได้ 1. กฎหมายเป็ นข้อบงั คบั ของรัฐ 2. กฎหมายมอี านาจควบคุมรัฐได้ 3. การทรี่ ัฐมอี านาจออกกฎหมายน้ัน เพราะมรี ัฐธรรมนูญให้อานาจแก่รัฐ 4. รัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ 5. ความไม่รู้กฎหมาย ไม่เป็ นข้อแก้ตวั 6. กฎหมายดกี ว่าจารีตประเพณี 7. กฎหมายแตกต่างจากกฎอน่ื ๆ เพราะมสี ภาพบังคบั เนื่องจาก ต้องปฏบิ ตั ิตามโดยไม่มีข้อแม้ สปุ รีดา อนันตเ์ วชานุวฒั น์
พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอพระองคเ์ จ้ารพีพฒั นศกั ด์ิ กรมหลวงราชบรุ ีดิเรกฤทธ์ิ สปุ รีดา อนันตเ์ วชานุวฒั น์ พระบิดาแห่งกฎหมายไทย
ลกั ษณะสาคญั ของกฎหมาย 1. ต้องเป็ นข้อบงั คบั 2. ต้องออกโดยรัฎฐาธิปัตย์ 3. ใช้ได้ท่ัวไป 4. ใช้ได้เสมอไป 5. มสี ภาพบงั คบั สปุ รีดา อนันตเ์ วชานุวฒั น์
ความหมายของกฎหมาย “กฎหมาย” ต้องพจิ ารณาว่าเป็ น “กฎหมายตามพธิ ี” หรือ “กฎหมายตามเนือ้ ความ” “กฎหมายตามเนือ้ ความ” กฎเกณฑ์ข้อบงั คบั ออกโดยรัฐหรือผู้มี อานาจในองค์กร เพอ่ื ควบคุมความประพฤติของบุคคลหากฝ่ าฝื น ย่อมมี ความผดิ อาจได้รับโทษ หรือเสียผลประโยชน์บางประการ แสงทอง ธีระทองคา, 2556; หยุด แสงอทุ ัย, 2548
ลกั ษณะ/ องค์ประกอบของกฎหมาย ต้องเป็ นคาส่ังหรือข้อบงั คบั ออกโดยรัฐ รัฐฐาธิปัตย์ หรือผู้มอี านาจในองค์กร บังคบั พฤติกรรมของมนุษย์ มสี ภาพบงั คบั / โทษ (sanction) แสงทอง ธีระทองคา, 2556; หยุด แสงอทุ ัย, 2548
ปุจฉา คณะรักษาความสงบแห่งชาตหิ ้ามประชาชนชุมนุมทางการเมือง มฉิ ะน้ันมีความผดิ ตามกฎอยั การศึก ผู้มีอานาจ -> ……….. คาส่ัง -> .................. สั่งใคร -> ………….. สภาพบังคบั ->.........
ปุจฉา สภาการพยาบาลห้ามบุคคลภายนอกประกอบวชิ าชีพการพยาบาล มิฉะน้ันต้องได้รับโทษจาคุกหรือปรับ ผู้มีอานาจ -> ……….. ใช่ กฎหมายหรอื เปล่านะ! คาสั่ง -> .................. ส่ังใคร -> ………….. สภาพบังคบั ->.........
ปุจฉา ข้อใดไม่ใช่กฎหมาย ก. พระราชบัญญตั หิ ลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ ข. ประกาศสภาพยาบาลเชิญชวนสมาชิกเดินเทดิ พระเกยี รติ ค. ข้อบงั คบั สภาพยาบาลว่าด้วยการสะสมหน่วยกติ การศึกษา ง. ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการป้ องกนั เชื้อไข้หวดั นก
ความสาคญั ของกฎหมาย ควบคุมและกาหนดบทบาทและพฤติกรรมของบุคคลในสังคม สร้างความเป็ นระเบยี บ เรียบร้อย และความสงบในสังคม ก่อให้เกดิ ความเป็ นธรรมในสังคม รู้สิทธิหน้าทข่ี องตน และระวงั การกระทาความผดิ จากการไม่รู้กฎหมาย แสงทอง ธีระทองคา, 2556; หยุด แสงอทุ ยั , 2548
ระบบของกฎหมาย กฎหมายจารีตประเพณี / กฎหมายไม่เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร (common law system) กาเนิดจากชนเผ่าพนื้ เมอื งของประเทศองั กฤษ อาศัยบรรทดั ฐานจากคดีทคี่ ล้ายคลงึ กนั คาตัดสินของผู้พพิ ากษา (judge made law) -> กฎหมาย พจิ ารณาคดเี ฉพาะเรื่อง ไปสู่เรื่องทว่ั ไป (induction) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลยี นิวซีแลนด์ และอนิ เดยี กฎหมายลายลกั ษณ์อกั ษร/ ประมวลกฎหมาย (civil law system) แสงทอง ธีระทองคา, 2556; หยุด แสงอุทยั , 2548
ระบบ Civil Law เป็ น \"กฎหมายลายลกั ษณ์อกั ษร\" หรือ \"กฎหมายประมวล\" 1) ววิ ฒั นาการมาจากกฎหมายโรมนั 2) ตัดสินคดีโดยยดึ กฎหมายลายลกั ษณ์อกั ษร ทบี่ ญั ญตั ิเป็ นมาตรา 3) คาพพิ ากษาเป็ นเพยี งตวั อย่างของการใช้กฎหมาย ไม่ใช่ที่มาของกฎหมาย 4) ศาลเป็ นผู้ใช้กฎหมายทอี่ อกโดยรัฐสภา 5) ประเทศที่ใช้ เช่น ไทย ญปี่ ่ ุน ฝร่ังเศล เยอรมนี อติ าลี สเปน สวติ เซอร์แลนด์ สปุ รีดา อนันตเ์ วชานุวฒั น์
ระบบของกฎหมาย กฎหมายลายลกั ษณ์อกั ษร/ ประมวลกฎหมาย (civil law system) กาเนิดจากชาวโรมัน คาพพิ ากษาของศาล และการตีความของนักปราชญ์ทางกฎหมาย อธิบายการใช้กฎหมาย เพอื่ ปรับเข้ากบั คดี การตคี วามต้องพจิ ารณาตามตัวบทกฎหมาย และใช้หลกั เหตุผล พจิ ารณาคดจี ากหลกั เกณฑ์ทวั่ ไปสู่เฉพาะรื่อง (deduction) รัฐสภาเป็ นผู้ออกกฎหมาย ฝร่ังเศส เบลเยย่ี ม อติ าลี เยอรมัน เดนมาร์ค ออสเตรีย สเปน โปรตุเกส สวสิ เซอร์แลนด์ ญปี่ ่ ุน ไทย จีน แสงทอง ธีระทองคา, 2556; หยุด แสงอุทัย, 2548
ระบบ Common Law เป็ น \"กฎหมายไม่เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร\" หรือ \"กฎหมายจารีตประเพณ\"ี 1) มตี ้นกาเนิดมาจากประเทศองั กฤษ 2) ถือว่าคาพพิ ากษาของศาลและจารีตประเพณี เป็ นทีม่ าของกฎหมาย 3) ตัดสินคาพพิ ากษาของศาลในคดกี ่อน มาเป็ นหลกั ในการพพิ ากษา 4) จารีตประเพณกี บั คาพพิ ากษาของศาลแตกต่างกนั ตรงที่ จารีตประเพณนี ้ันต้องปฏบิ ัติสืบเนื่องกนั มานาน 5) ประเทศที่ใช้ระบบนีก้ ม็ กี ารตรากฎหมายเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร 6) เช่น อเมริกา องั กฤษ ออสเตรเลยี นิวซีแลนด์ สปุ รีดา อนันตเ์ วชานุวฒั น์
ระบบ กฎหมายสังคมนิยม 1) เป็ นระบบทีใ่ ห้ความสาคญั แก่รัฐมากกว่าเสรีภาพของบุคคล 2) กฎหมายที่ออกโดยรัฐสภา 3) เช่น จีน รัสเซีย ยูเครน บอสเนีย ระบบ กฎหมายศาสนา 1) เป็ นระบบท่ใี ห้ความสาคญั แก่หลกั คาสอนในทางศาสนา 2) ให้ใช้กฎหมายอสิ ลามเฉพาะคดคี รอบครัวและมรดก 3) ดะโต๊ะยุตธิ รรม คอื ข้าราชการตุลาการ มอี านาจในการ วนิ ิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอสิ ลาม สปุ รีดา อนันตเ์ วชานุวฒั น์
ประเภทของกฎหมาย: ความสัมพนั ธ์ กฎหมายมหาชน -> รัฐเหนือเอกชน มุ่งสาธารณะประโยชน์ รัฐธรรมนูญ กฎหมายอาญา กฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา กฎหมาย ปกครอง ธรรมนูญศาลยุติธรรม กฎหมายเอกชน -> คู่กรณเี ท่าเทยี มกนั ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ กฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความแพ่ง พระราชบัญญตั ลิ ขิ สิทธ์ิ กฎหมายระหว่างประเทศ -> กาเนิดจากประเพณี สนธิสัญญาระหว่างประเทศ แผนกคดเี มือง -> ความสัมพนั ธ์ของรัฐเกย่ี วกบั สิทธิและหน้าท่ีมหาชน แผนกคดบี ุคคล -> ความสัมพนั ธ์ของบุคคลต่างรัฐในทางแพ่ง สิทธิหน้าท่ี แผนกคดีอาญา -> ความสัมพนั ธ์ในคดอี าญาของบุคคล ทก่ี ระทาผดิ ต่อเน่ืองในหลายประเทศ แสงทอง ธีระทองคา, 2556; หยุด แสงอทุ ยั , 2548
ประเภทของกฎหมาย โดยท่ัวไปมกี ารแบ่งกฎหมายออกเป็ น 5 ประเภท ดังนี้ 1. กฎหมายระหว่างประเทศ 2. กฎหมายเอกชน 3. กฎหมายมหาชน 4. กฎหมายสารบัญญัติ 5. กฎหมายวธิ ีสบญั ญตั ิ สปุ รีดา อนันตเ์ วชานุวฒั น์
1. กฎหมายระหว่างประเทศ 1) คู่กรณรี ะหว่ารัฐกบั รัฐ 2) เช่น การส่งผู้ร้ายข้ามแดน การประกาศสงคราม การรักษาสันติภาพ เรื่องอาณาเขต 2. กฎหมายเอกชน 1) คู่กรณีระหวา่ งบุคคลกบั บุคคล หรือ บุคคลกบั นิติบุคคล แบ่งเป็น 1.1) กฎหมายแพง่ (เกี่ยวกบั สิทธิหนาที่ของเอกชน) 1.2) กฎหมายพาณิชย์ (เกี่ยวกบั การคาและธุรกิจ) 1.3) กฎหมายพจิ ารณาความแพง่ (ขอบงั คบั การดาเนินคดีทางแพง่ )
3. กฎหมายมหาชน 1) คู่กรณรี ะหว่างรัฐกบั เอกชน แบ่งเป็ น 1.1 รัฐธรรมนูญ 1.2 กฎหมายปกครอง 1.3 กฎหมายอาญา 1.4 กฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญาและความแพ่ง 1.5 พระธรรมนูญศาลยุตธิ รรม
4. กฎหมายสารบัญญตั ิ 1) กาหนดเรื่องสิทธิ หน้าท่ขี องบุคคล 2) เช่น กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย กฎหมายอาญา 5. กฎหมายวธิ ีสบัญญตั ิ 1) เป็ นส่วนของกระบวนการท่ีจะบงั คบั ให้เป็ นไปตาม กฎหมายสารบญั ญัติ 2) เช่น กฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความแพ่ง กฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา เป็ นต้น สปุ รีดา อนันตเ์ วชานุวฒั น์
การจัดทากฎหมาย หน่วยงานท่ีจัดทากฎหมาย 1. องค์กรพเิ ศษ 1.1 ส.ส.ร.จดั ทารัฐธรรมนูญ 2. ฝ่ ายนิตบิ ัญญตั ิ 2.1 กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชบญั ญตั ิ ประมวลกฎหมาย 3. ฝ่ ายบริหาร 3.1 พระราชกาหนด พระราชฎกี า กฎกระทรวง 4. องค์การท้องถ่ิน สปุ รีดา อนันตเ์ วชานุวฒั น์
ประเภทของกฎหมาย: พนื้ ฐานกฎหมาย กฎหมายวธิ ีสารบญั ญตั ิ (Substantive law) -> ลกั ษณะความผดิ และโทษ ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ กฎหมายวธิ ีสบญั ญตั ิ (Adjective law หรือ Procedural Law) -> วธิ ีการ ดาเนินอรรถคดีต้งั แต่แรกเริ่มจนเสร็จสิ้น กฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา และกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง แสงทอง ธีระทองคา, 2556; หยุด แสงอทุ ัย, 2548
ปุจฉา ข้อใดเป็ นกฎหมายวธิ ีสบญั ญตั ิและเอกชน ก. รัฐธรรมนูญ ข. ประมวลกฎหมายอาญา ค. ประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความแพ่ง ง. พระราชบัญญตั ิวชิ าชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2540
ลาดบั ช้ันของกฎหมายลายลกั ษณ์อกั ษร รัฐธรรมนูญ กฎหมายแม่บท พระราช พระราช ประมวล ออกโดยฝ่ ายนิตบิ ัญญัติ กาหนด บญั ญตั ิ กฎหมาย หรือฝ่ ายบริหาร พระราชกฤษฎีกา ออกโดยฝ่ ายบริหาร กฎกระทรวง ออกโดยรัฐมนตรี ระเบียบ ข้อบังคบั ประกาศ หรือคาส่ัง ออกโดยหน่วยงาน/ องค์กร แสวง บุญเฉลมิ วภิ าส, 2555; แสงทอง ธีระทองคา, 2556
ลาดบั ช้ันของกฎหมาย (Hierarchy of law) รัฐธรรมนูญ กฎหมายสูงสุด กฎหมายอน่ื ขัดแย้งไม่ได้ กฎหมายแม่บทของกฎหมายปกครองประเทศ วางระเบยี บอานาจสูงสุดของรัฐหรืออานาจอธิปไตย หากต้องการเปลยี่ นแปลง แก้ไข หรือยกเลกิ รัฐธรรมนูญ ต้องปฏิบัติตาม วธิ ีการท่ีได้บัญญตั ิไว้ พระราชบญั ญตั ิ เสนอร่างโดย คณะรัฐมนตรี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ออกโดยฝ่ ายนิตบิ ญั ญตั หิ รือรัฐสภา นายกรัฐมนตรีจะนาขนึ้ ทูลเกล้าฯ เพอ่ื ให้พระมหากษตั ริย์ทรงลงพระ ปรมาภไิ ธย และประกาศในราชกจิ จานุเบกษา แสงทอง ธีระทองคา, 2556; หยุด แสงอทุ ยั , 2548
ลาดบั ช้ันของกฎหมาย ประมวลกฎหมาย รวมบทบญั ญตั ขิ องกฎหมายลายลกั ษณ์อกั ษรเรื่องเดยี วกนั อย่างเป็ นระบบ ง่ายต่อการศึกษา ค้นคว้า นาไปประยุกต์ ปรับปรุง หรือแก้ไขกฎหมาย พระราชกาหนด ออกโดยฝ่ ายบริหาร กรณฉี ุกเฉิน / กรณจี าเป็ น เพอื่ การรักษาความปลอดภัยของประเทศ หรือความม่นั คงทาง เศรษฐกจิ เสนอพระราชกาหนดต่อรัฐสภา ถ้าได้รับอนุมตั ิ จะมีผลบังคบั ใช้เป็ นพระราชบัญญตั ิ ถ้าไม่อนุมตั ิ ยกเลกิ แต่ไม่มีผลกระทบต่อกจิ กรรมทไ่ี ด้กระทาไป แสงทอง ธีระทองคา, 2556; หยุด แสงอทุ ัย, 2548
ลาดบั ช้ันของกฎหมาย พระราชกฤษฎกี า ออกโดยฝ่ ายบริหาร โดยอาศัยอานาจตามรัฐธรรมนูญ หรือพระราชบญั ญัติ ไม่ต้องผ่านความเห็นชอบจากฝ่ ายนิตบิ ัญญตั ิ มีอานาจบังคบั ใช้ แต่ไม่สามารถมีบทกาหนดโทษ กฎกระทรวง ออกโดยรัฐมนตรีประจากระทรวง อาศัยอานาจตามพระราชบญั ญตั ิ ไม่ต้องผ่านรัฐสภา แต่ต้องผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา แสงทอง ธีระทองคา, 2556; หยุด แสงอทุ ยั , 2548
ลาดบั ช้ันของกฎหมาย กฎหมายทีอ่ อกโดยองค์กรปกครองตนเอง ได้แก่ ข้อบัญญตั ิ กรุงเทพมหานคร/ เมืองพทั ยา ข้อบัญญตั ิจังหวดั เทศบัญญตั ิ และ ข้อบังคบั สุขาภิบาล แนวทางในการปฏบิ ัตงิ านในหน่วยงาน Tip กฎหมายทมี่ ศี ักด์ติ า่ กว่า จะออกตามฎหมายทมี่ ศี ักด์สิ ูงกว่า และมเี นือ้ หาไม่เกนิ ขอบเขต อานาจ กฎหมายทม่ี ศี ักด์ติ า่ กว่าจะลบล้าง หรือยกเลกิ กฎหมายทม่ี ีลาดบั ช้ันสูงกว่าไม่ได้ แสงทอง ธีระทองคา, 2556; หยุด แสงอุทยั , 2548
ปุจฉา สภาการพยาบาลต้องการออกกฎหมาย เพอ่ื ให้พยาบาลต้องต่อ ใบอนุญาตฯ ต้องออกเป็ นกฎหมายใด ก. ประมวลกฎหมาย ข. ข้อบังคบั สภา ค. กฎกระทรวง ง. พระราชกฤษฎกี า
ปุจฉา พระราชบญั ญตั ทิ ผ่ี ่านการเห็นชอบจากรัฐสภาแล้ว จะมีผลบังคับใช้เม่อื ใด ก. นับแต่วนั ทรี่ ัฐสภาเห็นชอบ ข. ตามวนั เวลาทรี่ ะบุไว้ในราชกจิ จานุเบกษา ค. ตามวนั เวลาท่รี ัฐมนตรีเจ้ากระทรวงกาหนด ง. นับแต่วนั ทน่ี ายกรัฐมนตรีทูลเกล้าเพอื่ ลงพระปรมาภิไธย
ปุจฉา พระราชกาหนดประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในกรุงเทพฯ ของรัฐบาล ไม่ผ่าน ความเห็นชอบจากรัฐสภา ผลทเ่ี กดิ ขึน้ คอื อะไร ก. ยกเลกิ ทาให้กจิ การต่างๆ กลบั คนื ฐานะเดิม ข. ยกเลกิ กจิ การต่างๆ ท่ีทาไปแล้ว ไม่เกดิ ผลกระทบ ค. รอ ๓๐ วนั แล้ว รัฐสามารถประกาศเป็ น พรบ. ง. เสนอศาลรัฐธรรมนูญเพอ่ื พจิ ารณา
การบงั คบั ใช้กฎหมาย ใช้บงั คบั กบั ประชาชนชาวไทยทุกคน และคนต่างชาตทิ อ่ี ยู่ในอาณาเขต ยกเว้น พระมหากษัตริย์ ประมุขของรัฐต่างประเทศ และข้าราชบริพารทเี่ ยย่ี มเยยี น ทางการฑูต สมาชิกในสถานฑูต ครอบครัว และบริวาร ในกรณปี กตจิ ะมีผลบงั คบั ใช้ ตามวนั ทรี่ ะบุในกฎหมาย หากไม่ระบุ ให้ถอื วนั ถดั ไปจากวนั ทป่ี ระกาศในราชกจิ จานุเบกษา ในกรณเี ร่งด่วน จะมีผลบังคบั ใช้ทนั ที ห้ามออกกฎหมายลงโทษ หรือเพม่ิ โทษแก่บุคคลเป็ นการย้อนหลงั ยกเว้น กรณที ย่ี ้อนหลงั เป็ นคุณ เพอื่ เป็ นมาตรการป้ องกนั ภยนั ตราย แสงทอง ธีระทองคา, 2556; หยุด แสงอุทัย, 2548
การยกเลกิ กฎหมาย โดยชัดแจ้ง ระบุวนั ทยี่ กเลกิ กฎหมาย กฎหมายฉบบั ใหม่ทมี่ ีศักด์เิ ท่าทยี มหรือสูงกว่า รัฐสภาไม่อนุมัตพิ ระราชกาหนด โดยปริยาย กฎหมายเรื่องเดียวกนั 2 ฉบับ มีข้อความขดั แย้ง ไม่ระบุวนั ถ้าศักด์ิเท่ากนั ฉบับเก่าจะถูกยกเลกิ ถ้าศักด์ิต่างกนั กฎหมายทมี่ ีศักด์ติ ่ากว่าจะถูกยกเลกิ แสงทอง ธีระทองคา, 2556; หยุด แสงอทุ ัย, 2548
การตคี วามกฎหมาย ใคร? -> บุคคลทจ่ี ะตีความกฎหมาย ได้แก่ ประชาชน และเจ้าหน้าที่ เมอ่ื ไร? -> เม่ือเกดิ ความสงสัยเกยี่ วกบั ความหมายของบทบัญญตั ิ อะไร? -> การตคี วามของกฎหมาย การตีความตามอกั ษร -> การถอดความหมายของถ้อยคาหรือคาศัพท์ การตคี วามตามเจตนารมณ์ -> การพจิ ารณาถงึ เหตุผลหรือความมุ่งหมาย ของกฎหมาย แสงทอง ธีระทองคา, 2556; หยุด แสงอุทัย, 2548
การอดุ ช่องว่างของกฎหมาย ช่องว่างของกฎหมาย -> ปัญหาของกฎหมายลายลกั ษณ์อกั ษร สภาพแวดล้อม เทคโนโลยี เศรษฐกจิ และสังคมทเ่ี ปลยี่ นแปลง ผู้บัญญตั ิกฎหมายต้งั ใจให้มีช่องว่าง -> อาจเกดิ ผลร้ายต่อผู้ถูกกล่าวหา แสงทอง ธีระทองคา, 2556; หยุด แสงอุทัย, 2548
การอดุ ช่องว่างของกฎหมาย: กฎหมายอาญา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 39 วรรค 1 ระบุว่า \"บุคคลไม่ต้องรับโทษอาญา เว้นแต่ได้กระทาการ อันกฎหมายทใี่ ช้อย่ใู นเวลา ท่ีกระทาน้ัน บัญญตั ิเป็ นความผดิ และกาหนดโทษไว้ และโทษท่ีจะลงแก่ บุคคลน้ัน จะหนักกว่าโทษทก่ี าหนดไว้ ในกฎหมายทใ่ี ช้อย่ใู นเวลาทกี่ ระทา ความผิดมิได้\" ภาษิตกฎหมาย “ไม่มโี ทษ ถ้าไม่มกี ฎหมาย (no penalty without a law)” ในทางอาญา: กฎหมายต้องบัญญตั วิ ่า การกระทาของบุคคลน้ันเป็ นความผดิ อนั มีโทษ ไม่มีกฎหมาย ไม่มผี ดิ และโทษ แสงทอง ธีระทองคา, 2556; หยุด แสงอุทยั , 2548
การอดุ ช่องว่างของกฎหมาย: กฎหมายแพ่ง กฎหมายแพ่ง -> เมอ่ื รับฟ้ องคดี ศาลต้องตัดสิน แม้ไม่มบี ทบัญญัติ การอุดช่องว่างของกฎหมายแพ่ง จารีตประเพณแี ห่งท้องถิน่ บทกฎหมายท่ีใกล้เคยี ง หลกั กฎหมายท่ัวไป (ปพพ. มาตรา 4 วรรค 2 ) ปพพ. มาตรา 134 ระบุว่า \"ไม่ว่าในกรณใี ดๆ ห้ามมใิ ห้ศาลทรี่ ับฟ้ องคดไี ว้ ปฏิเสธไม่ยอม พพิ ากษา หรือมีคาสั่งช้ีขาดคดี โดยอ้างว่าไม่มบี ทบัญญตั ิแห่งกฎหมาย ทจ่ี ะใช้บังคบั แก่ คดี หรือว่าบทบัญญตั แิ ห่งกฎหมายทจี่ ะใช้บงั คบั นั้น เคลอื บคลมุ หรือไม่บริบูรณ์“ แสงทอง ธีระทองคา, 2556; หยุด แสงอุทยั , 2548
ปจุ ฉา ข้อใดถูกต้องเกยี่ วกบั การบังคบั ใช้กฎหมาย ก. กฎหมายอาญาเพม่ิ โทษ ย้อนหลงั ได้ ข. กฎหมายอาญาต้องมรี ะบุความผดิ จงึ มีโทษ ค. เมอ่ื ศาลรับฟ้ อง หากไม่มกี ฎหมายแพ่งระบุ ยกประโยชน์ให้จาเลย ง. กฎหมายไทยบงั คบั ใช้กบั ทุกคนในประเทศไทย เว้นเด็ก
ปุจฉา หากไม่มกี ฎหมายแพ่งระบุว่าการกระทามีความผดิ ศาลทร่ี ับฟ้ องต้องใช้ หลกั กฎหมายใดอนั ดบั แรก ก. จารีตประเพณี ข. กฎหมายท่วั ไป ค. กฎหมายใกล้เคียง ง. รัฐธรรมนูญ
รายการอ้างองิ แสงทอง ธีระทองคา และ ไสว นรสาร. (2556). กฎหมายสาหรับพยาบาล. สมุทรปราการ: Offset Plus, หยุด แสงอทุ ยั . (2548). ความรู้เบอื้ งต้นเกย่ี วกบั กฎหมายทวั่ ไป (พมิ พ์คร้ังที่ 16). กรุงเทพฯ: สานักพมิ พ์ประกายพรึก.
วตั ถุประสงค์ อธิบายความหมาย ลกั ษณะ และความสาคญั ของกฎหมายได้ อธิบายระบบ ประเภท และลาดับช้ันของกฎหมายได้ อธิบายขอบเขตการบังคบั ใช้กฎหมาย การตีความกฎหมาย และการอุด ช่องว่างของกฎหมายได้
Search
Read the Text Version
- 1 - 43
Pages: