ค่มู ือ การนิเทศ ตดิ ตามโรงเรยี นคณุ ธรรม ศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ โดยการสนับสนุนของสำ�นักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
คมู่ อื การนิเทศติดตามโรงเรียนคณุ ธรรม พิมพ์ครั้งที่ 1 พฤษภาคม 2558 จำ�นวน 3,000 เล่ม พิมพ์ครั้งที่ 2 กุมภาพันธ์ 2560 จำ�นวน 3,000 เล่ม เจา้ ของ ศนู ย์โรงเรียนคุณธรรม มลู นิธิยุวสถิรคุณ โดยการสนับสนุนของสำ�นักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ทป่ี รกึ ษา ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นพ.เกษม วัฒนชัย องคมนตรี และประธานกรรมการมลู นิธิยุวสถิรคุณ นายปราโมทย์ โชติมงคล ผู้อำ�นวยการศนู ย์โรงเรียนคุณธรรม มลู นิธิยุวสถิรคุณ คณะผู้จัดทำ� รศ.ปภัสวดี วีรกิตติ รองผู้อำ�นวยการศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ นายนพพร สุวรรณรุจิ ที่ปรึกษาศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มลู นิธิยุวสถิรคุณ นางสาวจงกล ทรัพย์สมบรู ณ์ ที่ปรึกษาศนู ย์โรงเรียนคุณธรรม มลู นิธิยุวสถิรคุณ นายอุบล เล่นวารี คณะทำ�งานขยายผลการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม นางวาสนา เลิศศิลป์ คณะทำ�งานขยายผลการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม ผศ.ดร.จตุพล ยงศร คณะทำ�งานขยายผลการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม นางสาวณิชา มนู จินดา นักวิชาการศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ นางสาวชลธิชา หงษ์เวียงจันทร์ นักวิชาการศนู ย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ ภาพประกอบ รศ.เกริก ยุ้นพันธ์ รูปเลม่ นายวัฒนสินธุ์ สุวรัตนานนท์ พมิ พ์ท่ี บริษัท สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสชิ่ง จำ�กัด
คำ�นิยม ครูนเิ ทศอาสา คือ ผู้มีจติ ใจงดงาม เห็นแก่ประโยชน์ของบ้านเมอื ง อาสาสมคั รมาเป็น “ผู้ใหญ่ ใจดี” ในโครงการโรงเรยี นคณุ ธรรมของมลู นธิ ยิ วุ สถิรคณุ ท่านต้องการเสยี สละและน�ำความรู้อันมากมายของท่าน มายังประโยชน์ให้แก่ผู้บรหิ าร ครอู าจารย์ และนักเรียนในโรงเรียนอีกหลายๆ แห่งท่ัวประเทศไทย เพ่ือให้โรงเรียนเหล่าน้ันได้พัฒนาตนเอง จนกลาย เป็นโรงเรยี นคณุ ธรรม ประโยชน์ทางตรงจะเกิดแก่นักเรียน และครูอาจารย์ ประโยชน์ทางอ้อมจะเกิดแก่โรงเรียน และ ผู้บรหิ ารโรงเรยี น ครูนิเทศอาสาฯ จะได้ความปิติ ความสุขใจทม่ี สี ่วนท�ำให้สง่ิ ดงี ามงอกเงยต่อๆ ไปในบ้าน เมืองของเรา ขอแสดงความคารวะต่อน�้ำใจอนั งดงามของครูนเิ ทศอาสาฯ ทุกท่าน หนังสือเล่มน้ี จักเป็นผู้ช่วยท่ี ซือ่ สตั ย์ของครนู เิ ทศอาสาฯ ครบั ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ณุ นายแพทย์เกษม วฒั นชยั องคมนตรี ประธานกรรมการมูลนธิ ิยุวสถริ คณุ
ค�ำ น�ำ “ช่วยกันสร้างคนดีให้บ้านเมือง” พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล- อดลุ ยเดช ทที่ รงพระราชทานใหก้ บั คณะองคมนตรี ถกู น�ำมาถา่ ยทอดบอกกลา่ วโดย ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี และประธานกรรมการมูลนิธิยุวสถิรคุณ เพ่ือเป็นแนวทางในการ ขบั เคลอ่ื นการด�ำเนนิ งานโครงการพฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรม และเปน็ หลกั ในการขยายผลการพฒั นาโรงเรยี น คณุ ธรรมของศนู ยโ์ รงเรยี นคณุ ธรรม มลู นธิ ยิ วุ สถริ คณุ ในการสรา้ งสรรคพ์ ฒั นากระบวนการสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรมแก่บุคลากรทางการศึกษา รวมถึง การนิเทศติดตามประเมินผล ซ่ึงเป็นกลไกส�ำคัญในการเสริม หนนุ ใหก้ �ำลงั ใจแกผ่ ปู้ ฏบิ ตั งิ านการพฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรม ใหส้ ามารถบรรลเุ ปา้ หมาย อนั น�ำไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ จนเป็นวถิ อี ย่างย่ังยนื คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรมเล่มนี้ เป็นการสังเคราะห์องค์ความรู้ จากการสรุปผล การด�ำเนินงานโครงการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม และน�ำมาสร้างเป็นเครื่องมือส�ำหรับการนิเทศติดตาม โรงเรียนคุณธรรม โดยนิเทศอาสาที่ผ่านการอบรมหลักสูตร “นิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม” ของ ศูนย์โรงเรยี นคณุ ธรรม มูลนธิ ยิ วุ สถริ คณุ แล้ว ศูนย์โรงเรียนคุณธรรม ขอขอบคุณผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่าน ท่ีมีส่วนร่วมให้การด�ำเนินงานครั้งน้ี ส�ำเร็จได้ด้วยดี และขอขอบคณุ อาจารย์นพพร สุวรรณรุจิ ผศ.ดร.จตพุ ล ยงศร และคณะท�ำงานนเิ ทศอาสา ทุกท่าน ในฐานะผู้ด�ำเนนิ งานสงั เคราะห์องค์ความรู้ ออกแบบ เรียบเรยี งและจดั ท�ำ โดยหวงั เป็นอย่างยิง่ ว่า คู่มือฯ เล่มน้จี ะเป็นประโยชน์แก่ผู้นเิ ทศทุกท่าน รวมถึงผู้ท่ดี �ำเนินงานพฒั นาโรงเรียนคณุ ธรรม องค์กร และ หน่วยงานต่างๆ ที่สนใจน�ำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเป็นองค์กรคุณธรรม เพ่ือร่วมกันสร้างคนดีให้ บ้านเมอื ง สบื ต่อไป นายปราโมทย์ โชตมิ งคล ผู้อ�ำนวยการศนู ย์โรงเรยี นคุณธรรม 4 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
สารบญั 6 8 ความสำ�คัญของการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม 11 กระบวนการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมของมูลนิธิยุวสถิรคุณ 14 ขั้นตอนการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม 15 ตัวชี้วัดโรงเรียนคุณธรรม 19 การนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม 33 แบบนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม 41 แนวทางการพิจารณาคุณภาพโรงเรียนคุณธรรม ภาคผนวก
ความสำ�คญั ของการพัฒนา โรงเรียนคณุ ธรรม แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) เป็นแผนท่ยี ดึ กรอบวสิ ัยทศั น์ และเป้าหมายอนาคตประเทศไทยในปี 2579 ซ่ึงก�ำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี จึงมุ่งเตรียม ความพร้อมและวางรากฐานในการยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วัตถุประสงค์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จึง ก�ำหนดไว้ ดงั น้ี 1. เพอ่ื วางรากฐานให้คนไทยเปน็ คนทส่ี มบรู ณ์มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มรี ะเบยี บวนิ ยั คา่ นยิ มทด่ี ี มจี ติ สาธารณะ และมคี วามสุข โดยมีสขุ ภาวะและสขุ ภาพท่ดี ี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจน เป็นคนเก่งทีม่ ที กั ษะ ความรู้ความสามารถและพฒั นาตนเองได้ต่อเน่อื งตลอดชวี ติ 2. เพอื่ ใหค้ นไทยมคี วามมนั่ คงทางเศรษฐกจิ และสงั คม ไดร้ บั ความเปน็ ธรรมในการเขา้ ถงึ ทรพั ยากร และบรกิ ารทางสงั คมทมี่ คี ณุ ภาพ ผดู้ อ้ ยโอกาสไดร้ บั การพฒั นาศกั ยภาพ รวมทงั้ ชมุ ชนมี ความเขม้ แขง็ พงึ่ พา ตนเองได้ 3. เพื่อให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง แข่งขันได้ มีเสถียรภาพ และมีความยั่งยืน สร้างความเข้มแข็งของ ฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหม่โดยการใช้นวัตกรรมที่เข้มข้นมากขึ้น สร้างความเข้มแข็ง ของเศรษฐกจิ ฐานรากและสร้างความมน่ั คงทางพลงั งาน อาหาร และน�้ำ 4. เพื่อรักษาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สามารถสนับสนุนการเติบโต ท่เี ป็นมิตรกบั ส่งิ แวดล้อมและการมคี ุณภาพชีวติ ท่ดี ขี องประชาชน 5. เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ทันสมัย และมีการท�ำงาน โดยมี เป้าหมายการพฒั นา ดงั น้ี 1. คนไทยส่วนใหญ่มที ศั นคตแิ ละพฤติกรรมตามบรรทดั ฐานท่ดี ขี องสงั คมเพิ่มขน้ึ 2. คนในสงั คมไทยทกุ ช่วงวยั มีทักษะ ความรู้ และความสามารถเพม่ิ ข้นึ 3 คนไทยไดร้ บั การศกึ ษาทมี่ คี ณุ ภาพสงู ตามมาตรฐานสากล และสามารถเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองอยา่ ง ต่อเน่อื ง 6 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
4. คนไทยมสี ุขภาวะทดี่ ีขน้ึ 5. สถาบันทางสงั คมมคี วามเข้มแขง็ และมสี ่วนร่วมในการพฒั นาประเทศเพ่มิ ขึ้น นอกจากน้ี ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยังก�ำหนดตัวช้ีวัดของเป้าหมายเร่ือง คนไทยส่วนใหญ่มี ทัศนคตแิ ละพฤตกิ รรมตามบรรทดั ฐานที่ดีของสงั คม เช่น ประชากรอายุ 13 ปีขน้ึ ไป มีกจิ กรรมการปฏบิ ตั ิ ตนที่สะท้อนการมีคุณธรรม จริยธรรมเพ่ิมข้ึน เป็นต้น โดยก�ำหนดแนวทางการพัฒนาในการปรับเปลี่ยน ค่านยิ มคนไทยให้มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีวนิ ยั จิตสาธารณะ และพฤตกิ รรมท่พี ึงประสงค์ ดงั น้ี 1. ส่งเสริมการเล้ียงดูในครอบครัวท่ีเน้นการฝึกเด็กให้รู้จักการพ่ึงพาตัวเอง มีความซ่ือสัตย์ มีวินัย มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบ ในรูปแบบของกิจกรรมท่ีเป็นกิจวัตรประจ�ำวัน และให้ พ่อแม่หรอื ผู้ปกครองเป็นแบบอย่างท่ดี ีให้เด็กสามารถเรยี นรู้และยดึ ถอื เป็นต้นแบบในการด�ำเนินชวี ติ 2. ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความมีวินัย จิตสาธารณะ รวมทั้งเร่งสร้างสภาพแวดล้อมภายในและโดยรอบสถานศึกษาให้ปลอดจาก อบายมุขอย่างจรงิ จงั 3. ปรบั วธิ กี ารเผยแผห่ ลกั ศาสนาใหม้ งุ่ ชแ้ี นะแนวทางการด�ำรงชวี ติ ตามหลกั ธรรมค�ำสอนทเี่ ขา้ ใจงา่ ย สามารถน�ำไปปฏบิ ัติได้จรงิ น�ำไปสู่การปลกู ฝังค่านยิ มทด่ี งี าม 4. เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการมีส่วนร่วมจัดกิจกรรมสาธารณประโยชน์ จัดระเบียบ ทางสังคม และก�ำหนดบทลงโทษแก่ผู้ละเว้นการปฏบิ ัติตามบรรทดั ฐานในสงั คม 5. จดั สรรเวลาและพนื้ ทอ่ี อกอากาศใหแ้ กส่ อ่ื สรา้ งสรรคท์ สี่ ง่ เสรมิ การปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ คา่ นยิ มอนั ดโี ดยเฉพาะในชว่ งเวลาทม่ี ผี ้ชู มมากทสี่ ดุ และส่งเสรมิ การใช้เครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ สร้างความ รู้ความเข้าใจในบทบาท สทิ ธิ และหน้าทก่ี ารเป็นพลเมืองทด่ี ี 6. ผลกั ดนั ใหม้ กี ารน�ำวฒั นธรรมการท�ำงานทพ่ี งึ ประสงคไ์ ปใชป้ ฏบิ ตั จิ นใหเ้ ปน็ คณุ ลกั ษณะทสี่ �ำคญั ของคนในสังคมไทย อาทิ การตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ ความมีระเบียบวินัย การท�ำงานเป็นทีม การเคารพในความคดิ เหน็ ที่แตกต่าง การท�ำงานอย่างกระตอื รือร้น จะเหน็ วา่ ความคาดหวงั ของแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 ทมี่ งุ่ ใหค้ นไทยสว่ นใหญม่ ที ศั นคตแิ ละพฤตกิ รรม ตามบรรทัดฐานท่ีดีของสังคมเพิ่มขึ้น จ�ำเป็นต้องมีกลยุทธ์ระดับปฏิบัติการที่สอดคล้องและเหมาะสมกับ บรบิ ทในการด�ำเนนิ งานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย ซง่ึ กระบวนการพฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรมของศนู ยโ์ รงเรยี นคณุ ธรรม มูลนิธิยุวสถริ คุณ จะเป็นเครอ่ื งมอื ท่สี ามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม | 7
กระบวนการพฒั นา โรงเรยี นคุณธรรมของมลู นธิ ิยวุ สถิรคุณ ศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ ได้วิเคราะห์สังเคราะห์งานพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมใน โครงการกองทนุ การศกึ ษา ซงึ่ ไดด้ �ำเนนิ การตงั้ แตป่ ี 2555 และพฒั นาเปน็ กระบวนการพฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรม ของมลู นธิ ิฯ ประกอบด้วยกจิ กรรม ดงั น้ี 1. โรงเรียนจัดให้มีการประชุมร่วมกันระหว่างผู้บริหาร ครู-อาจารย์ นักเรียน ผู้มีส่วนได้เสียและ ผู้เกย่ี วข้องอน่ื ๆ เพ่อื สรา้ งความตระหนัก และ ความเขา้ ใจเรอื่ งโรงเรียนคณุ ธรรม และสมคั รใจร่วมกนั ด�ำเนินงานพฒั นาโรงเรยี นคุณธรรมให้ประสบความส�ำเร็จ 2. โรงเรียนคัดเลือกครูเพื่อเข้าอบรมเชิงปฏิบัติการกับศูนย์โรงเรียนคุณธรรม เพื่อให้ท�ำหน้าที่เป็น ครูวิทยากร เป็นแกนน�ำของโรงเรียน เพ่ือจัดอบรมเพ่ือนครู และนักเรียนแกนน�ำ ให้สามารถร่วมกัน ด�ำเนนิ งานตามกระบวนการพฒั นาโรงเรยี นคุณธรรมให้ส�ำเรจ็ 3. ก�ำหนดเป้าหมายและแผนการพฒั นาโรงเรยี นคุณธรรมตามข้นั ตอน ดงั น้ี 3.1 ระดมสมองเพื่อค้นหา “พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก” โดยพิจารณาจากปัญหาส�ำคัญของ โรงเรียนทต่ี ้องการแก้ไข หรือ พจิ ารณาจากพฤตกิ รรมบ่งชเ้ี ชิงบวกท่ตี ้องการส่งเสรมิ ให้เกดิ ขึ้นในโรงเรียน และก�ำหนด “คุณธรรมเป้าหมาย” เช่น ความซ่ือสัตย์ ความมีวินัย ความรบั ผดิ ชอบ เป็นต้น คุณธรรมเป้าหมายทม่ี กี ารระบพุ ฤตกิ รรมบ่งชเ้ี ชงิ บวกไว้ด้วย จะ เรยี กรวมวา่ “คณุ ธรรมอตั ลกั ษณ”์ โรงเรยี นอาจก�ำหนดคณุ ธรรมเปา้ หมายไว้ 3 ดา้ น/รอบ ปี เพ่ือความกระชบั ในการปฏบิ ัติ และ ประเมนิ ผลส�ำเร็จได้ง่าย 3.2 จัดท�ำ “ตารางคุณธรรมอัตลักษณ์” ซึ่งหมายถึง การระบุพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวกของ คุณธรรมเป้าหมายแต่ละด้านท่ีโรงเรียนได้คัดเลือกไว้แล้ว โดยจ�ำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย เช่น กลุ่มผู้บรหิ ารโรงเรยี น กลุ่มครู และกลุ่มนกั เรยี น เพือ่ ให้แต่ละกลุ่มทราบว่าต้องปฏบิ ัติ ตนอย่างไรบ้างในแต่ละด้าน เช่น ความซือ่ สัตย์ของครตู ้องเข้าสอนตรงเวลา ความซ่อื สัตย์ ของนกั เรียนต้องไม่ลอกการบ้าน เป็นต้น 8 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
3.3 โรงเรยี นรว่ มกนั ก�ำหนดวธิ กี ารปฏบิ ตั งิ านใหบ้ รรลคุ ณุ ธรรมเปา้ หมาย และพฤตกิ รรมบง่ ชเี้ ชงิ บวก โดยใช้ “โครงงานคณุ ธรรม” เปน็ เครอื่ งมอื ในการปฏบิ ตั งิ าน เรยี นรกู้ ารสรา้ งคณุ ธรรม ความดี ประการส�ำคัญ คอื ต้องเป็นโครงงานท่เี ด็กคดิ เด็กเลอื ก เดก็ ท�ำ ใหท้ ุกคนมี สว่ นรว่ มลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ อยา่ งเตม็ ที่ โดยอาจด�ำเนนิ การเปน็ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ภายใต้แผนงานหลกั ของโรงเรยี น ตามความต้องการและบรบิ ทของโรงเรียน 4. ในการปฏิบัติงานด้านพัฒนาคุณธรรมมุ่งเน้นให้ครู นักเรียน และผู้บริหาร สร้างแบบอย่าง พฤติกรรมด้านคุณธรรม เพื่อเป็นต้นแบบ และร่วมกันเสริมสร้างพลังความร่วมมือในการสร้างสรรค์ คุณธรรมความดใี ห้เป็นท่ยี อมรบั กนั 5. บูรณาการการสร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรมไว้ในการเรียนการสอน และในกิจกรรมพัฒนา ผู้เรยี น 6. ร่วมกันพัฒนาสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เอ้ือต่อการพัฒนาคุณธรรม เพื่อให้โรงเรียนมี บรรยากาศของการเรยี นรู้ ซง่ึ จะเกิดประโยชน์ ท้งั ด้านวชิ าการ และการสร้างสรรค์พฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม 7. โรงเรียนอาจจัดให้มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ในกลุ่มย่อยๆ และเข้าร่วมการประชุมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ท่ศี นู ย์โรงเรยี นคณุ ธรรมจัดข้นึ ปีละอย่างน้อย 2 ครง้ั คือ รอบ 6 เดือน และรอบ 12เดอื น 8. โรงเรียนจัดให้มีการถอดบทเรียนความส�ำเร็จของโครงงานคุณธรรม และ/หรือ กระบวนการ พัฒนาโรงเรียนคุณธรรมท่ีเด่น สามารถใช้เป็นแบบอย่างที่ดีได้ เพื่อน�ำไปขยายผลให้เครือข่ายโรงเรียน คณุ ธรรม เป็นการสร้างองค์ความรู้และนวตั กรรมด้านพฒั นาคุณธรรมให้แพร่หลาย 9. โรงเรียนควรแต่งตั้งหรือมอบหมายคณะท�ำงาน เพ่ือเป็นกลไกขับเคลื่อนการด�ำเนินงานพัฒนา โรงเรยี นคณุ ธรรมตามแผนงานท่กี �ำหนดไว้ โดยกระจายความมสี ่วนร่วมไปยงั ทุกภาคส่วนของโรงเรยี น 10. จัดให้มีการนิเทศติดตามภายใน เพื่อสนับสนุนให้มีการให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำ ช่วยเหลือกัน อย่างกัลยาณมติ ร แลกเปล่ียนเรยี นรู้ และเป็นก�ำลงั ใจให้กันและกนั ซง่ึ จะช่วยให้เกดิ ความสามคั คี เกดิ การสร้างทมี งาน อนั จะน�ำไปสู่ความส�ำเรจ็ และความยง่ั ยนื ต่อไปในอนาคต 11. ผู้บริหารควรสง่ เสรมิ สนับสนนุ การท�ำกิจกรรม/โครงงานต่างๆอย่างสม่ำ� เสมอ และให้ความ ส�ำคญั กับการเสริมแรง เสรมิ ก�ำลังใจให้แก่ครู นกั เรียน บุคลากร และผู้ปกครองทร่ี ่วมงาน 12. โรงเรียนควรขยายการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณธรรมท้ังภายในและภายนอก เน้นการ พฒั นาการมสี ว่ นรว่ มของผปู้ กครอง ครอบครวั ชมุ ชมุ ทอ้ งถน่ิ และประชาสมั พนั ธผ์ ลงานการพฒั นาโรงเรยี น คุณธรรมให้กว้างขวาง เพ่อื เป็นแบบอย่างให้แก่สงั คม คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม | 9
13. โรงเรียนสามารถประเมินผลการด�ำเนินงานเป็นระยะๆตามความต้องการ มีการจดบันทึก ผลการปฏิบัติงาน ร่วมปรึกษาหารือ ปรับปรุงข้ันตอนและวิธีการให้เหมาะสม ตลอดจนประเมินผลส�ำเร็จ ของการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม ตัวช้ีวัดท่ีส�ำคัญคือ พฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ในโรงเรียนลดลง และ พฤตกิ รรมท่พี งึ ประสงค์ในโรงเรยี นเพมิ่ ขึน้ ซึง่ เป็นการ “ช่วยกนั สร้างคนดีให้บ้านเมือง” อีกทางหนง่ึ ชวยกันสรางคนดีใหบานเมือง สรางความตระหนัก เขาใจ และยอมรับ เขาใจและสนับสนุน สถานศึกษา กำหนดคุณธรรมอัตลักษณเปนเปาหมาย ดำเนินงานโครงงานคุณธรรมเพื่อบรรลุเปาหมาย พัฒนาสภาพแวดลอมใหเอื้อตอการพัฒนาคุณธรรม åบทบาทโรงเรียน (ครู นักเรียน ผูบริหาร) åบทบาทครอบครัว ชุมชน มีสวนรวมทั้งโรงเรียน กระบวนการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ 35 aw_new.indd 35 12/13/16 10:25 AM 10 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
ขัน้ ตอนการพัฒนา โรงเรยี นคณุ ธรรม การพฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรมจะด�ำเนนิ การในรอบ 1 ปี เมอื่ ประเมนิ ผลแล้ว ให้น�ำผลส�ำเรจ็ ปัญหา อุปสรรค มาพจิ ารณาแล้วน�ำไปปรบั ปรุงแผนงานพฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรมในรอบปีต่อไป โดยมีขัน้ ตอนการพฒั นา ดงั นี้ กจิ กรรม ระยะเวลา ผลท่ีคาดวา่ จะได้รบั 1. การชแี้ จงสรา้ งความเข้าใจและพัฒนาศกั ยภาพครูวทิ ยากร และศกึ ษาดูงาน 1.1 ประชมุ ช้แี จงสร้างความรู้ความเข้าใจตระหนกั ใน 1 วัน ผู้บริหาร ครู และผู้เกย่ี วข้อง รบั ทราบ คุณค่าของคณุ ธรรม และทราบข้นั ตอนและวธิ ี (เดอื นท่ี 1) และเข้าใจกระบวนการพฒั นาโรงเรยี น การพัฒนาโรงเรยี นคุณธรรม คณุ ธรรม 1.2 อบรมพัฒนาศกั ยภาพครวู ทิ ยากร เพ่อื ท�ำหน้าท่ี 2 วัน โรงเรยี นมคี รูวทิ ยากรของงานพฒั นา วทิ ยากรในการประชมุ ระดมความคดิ และเป็นท่ี (เดือนที่ 1) โรงเรยี นคณุ ธรรม ปรึกษาในการท�ำกิจกรรมต่างๆ 1.3 จัดประชมุ อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการพฒั นาศกั ยภาพครู 1 วนั โรงเรียนได้รบั ความรู้เก่ยี วกบั ความ แกนน�ำ และ นกั เรียนแกนน�ำ โดยครวู ทิ ยากรท่ี (เดอื นท่ี 1) แตกต่างของคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ค้นหา ได้รับการอบรมจาก มยส.เป็นวทิ ยากรบรรยายน�ำ คณุ ธรรมอตั ลกั ษณ์ และเข้าใจวธิ ีการ และ/หรอื เป็นวทิ ยากรประจ�ำกลุ่มตามท่ไี ด้รบั ออกแบบโครงงานคณุ ธรรม ซ่งึ โรงเรยี น มอบหมาย และ ใช้สอ่ื การเรียนรู้ เช่น สอ่ื วดี ิทศั น์ สามารถเร่มิ งานพัฒนาโรงเรยี นคุณธรรม และใบงานของ มยส. ได้ 1.4 โรงเรยี นไปศึกษาดูงานแหล่งเรยี นรู้ด้านพฒั นา เดือนที่ 1-3 โรงเรยี นได้เหน็ รปู แบบ และวธิ ปี ฏิบตั จิ ริง คุณธรรม ของการขบั เคล่อื นโรงเรยี นคณุ ธรรม เพื่อน�ำไปประยกุ ต์ใช้ให้เหมาะสมตาม บรบิ ทของโรงเรยี น 2. การลงมือปฏิบตั ทิ ้ังโรงเรยี น 2.1 จดั ท�ำคุณธรรมอัตลักษณ์ และประกาศตาราง เดือนที่ 2-3 โรงเรยี นประกาศเจตนารมณ์ในการ คุณธรรมอัตลกั ษณ์ของโรงเรยี นให้รู้ท่ัวกนั ร่วมมือกันพฒั นาโรงเรียนคณุ ธรรม คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม | 11
กจิ กรรม ระยะเวลา ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ 2.2 วางแผนสร้างการมสี ่วนร่วมจากทกุ ฝ่าย โดยใช้ เดือนท่ี 2-3 เกดิ ความร่วมมอื กันในโรงเรยี น แผนพัฒนาโรงเรยี นเป็นเครือ่ งมอื ก�ำกบั การ ปฏบิ ตั ิ เดือนที่ มีการสอดแทรกคณุ ธรรมจรยิ ธรรมไว้ 2.3 จัดท�ำโครงงานคณุ ธรรม บรู ณาการการสร้าง 2-12 ในชั้นเรยี น สภาพแวดล้อมโรงเรยี น เสริมคณุ ธรรมจรยิ ธรรมไว้ในช้นั เรียน/กิจกรรม พฒั นาผู้เรยี น ประพฤตติ นเป็นแบบอย่างทด่ี ี สะอาดน่าอยู่ และคนในโรงเรยี นมี แก่กนั และกนั และพฒั นาสภาพแวดล้อมให้ สัมพนั ธภาพท่ดี ีต่อกนั เอือ้ ต่อการพฒั นาคณุ ธรรม 2.4 สร้างกลไกการขบั เคล่อื นสู่เป้าหมาย เดอื นท่ี การพฒั นาโรงเรยี นคุณธรรมมเี ครอื่ งมอื 4-12 ช่วยบรรลเุ ป้าหมาย 3. การนิเทศตดิ ตามโรงเรยี นคุณธรรม 3.1 นิเทศคร้งั ที่ 1 มีจดุ ประสงค์ เพอ่ื เยยี่ มชม 1 วัน เกดิ การกระตุ้นการมสี ่วนร่วมท้งั โรงเรยี น (เดอื นที่ โรงเรียนได้รบั ค�ำปรึกษาแนะน�ำเกย่ี วกับ การด�ำเนนิ งาน กระตุ้นการมสี ่วนร่วม และให้ 3-6) โครงงานคณุ ธรรมและสรุปบทเรยี น ค�ำปรกึ ษาแนะน�ำ 1 วัน ความส�ำเร็จได้ 3.2 นิเทศครง้ั ท่ี 2 มจี ุดประสงค์เพอ่ื เยยี่ มชมความ (เดอื นที่ ก้าวหน้า ให้ค�ำปรกึ ษาแนะน�ำ และร่วมถอด 8-10) บทเรยี นความส�ำเรจ็ ในการงานพฒั นาโรงเรยี น คุณธรรม 1 วัน โรงเรียนได้แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และได้ 4. จัดเวทีแลกเปลย่ี นเรียนรู้ (เดอื นที่ 6) ข้อมูลความก้าวหน้าในการด�ำเนินงาน 4.1 เข้าร่วมเวทแี ลกเปล่ียนเรยี นรู้ (รอบ 6 เดือน) พฒั นาโรงเรยี นคุณธรรม รวมทง้ั ปัญหา 4.2 เข้าร่วมเวทแี ลกเปลี่ยนเรยี นรู้ และน�ำเสนอ และแนวทางแก้ไข ผลส�ำเรจ็ /ผลการประเมนิ ตามตวั ช้วี ัด 1 วนั โรงเรยี นน�ำเสนอผลงานความส�ำเร็จของ (รอบ 12 เดือน) (เดอื นท่ี 12) การพัฒนาโรงเรยี นคณุ ธรรม ท้งั โครงงาน คณุ ธรรม กระบวนการพฒั นาโรงเรยี น 5. การประเมนิ ผล และบทเรียนทไ่ี ด้รับ 5.1 สรุปผลงานการพฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรม เดือนท่ี 12 โรงเรยี นทราบผลงานความส�ำเร็จ ปัญหา โดยถอดบทเรยี นผลงานความส�ำเรจ็ โครงงาน อุปสรรค และปัจจยั ความส�ำเรจ็ คุณธรรม ปัญหาและอปุ สรรคทเ่ี กดิ ข้ึน 5.2 ประเมินผลการพฒั นาโรงเรียนคณุ ธรรม เดือนท่ี 12 - เกดิ โรงเรยี นคณุ ธรรม โดยมรี ่องรอย โดยรวบรวมตวั ช้ีวัดของโครงงานคณุ ธรรม หลกั ฐานการเป็นโรงเรยี นคณุ ธรรม และตัวชี้วดั ในกระบวนการท�ำงาน เพ่อื ใช้ ในการประเมนิ ผลภาพรวม - น�ำผลประเมนิ ไปปรบั ปรุงแผนรอบ ต่อไป 12 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
กจิ กรรม ระยะเวลา ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ 6. ประชาสมั พันธ์ผลงาน เดือนท่ี โรงเรียนเป็นทร่ี ู้จัก 6.1 ประชาสมั พนั ธ์และเผยแพร่ผลงาน ท้งั สื่อ 1-12 โรงเรยี นได้รบั การยอมรับเป็นแหล่งเรยี นรู้ เดือนท่ี 12 ด้านพัฒนาคณุ ธรรม ส่ิงพมิ พ์และสอ่ื อีเล็กทรอนกิ ส์ (Social Media) 6.2 เตรียมความพร้อมเป็นแหล่งเรยี นรู้ด้านพฒั นา คุณธรรม ตัวอย่างตารางคุณธรรมอัตลักษณ์ คุณธรรม พฤตกิ รรมบ่งชเ้ี ชงิ บวก (จ�ำแนกตามกลมุ่ ) เป้าหมาย ผ้บู รหิ าร ครู นกั เรียน ความซ่อื สตั ย์ - จัดซ้อื จดั จ้างอย่างโปร่งใส - เข้าสอนตรงเวลา - ไม่ลอกการบ้าน - พจิ ารณาความดคี วาม - ไม่เอาเวลาราชการไป - พดู ความจรงิ ไม่โกหก ชอบอย่างถกู ต้องเป็นธรรม ท�ำประโยชน์ส่วนตวั ความรบั ผดิ ชอบ - ประพฤติตนเป็นแบบอย่าง - สอนให้นกั เรียนรู้จักคิด - ช่วยผู้ปกครองท�ำงานบ้านทกุ วัน ทด่ี แี ก่ผู้ใต้บงั คบั บัญชา วิเคราะห์ รู้จกั การแก้ - แต่งกายถูกระเบยี บของโรงเรยี น ปัญหาด้วยตนเอง ความพอเพยี ง - มีแผนงานแผนเงนิ ที่ - ใช้จ่ายสมฐานะ - ใช้จ่ายอย่างประหยดั สอดคล้องกนั - ใช้สอื่ การสอนร่วมกนั - อดทน เสยี สละเพอ่ื ส่วนรวม อย่างคุ้มค่า - ใช้จ่ายตามแผนงาน คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม | 13
ตัวชี้วดั โรงเรยี นคุณธรรม การประเมนิ ผลภาพรวมของการพฒั นาเข้าสู่โรงเรยี นคุณธรรมจะมตี ัวช้วี ดั ได้แก่ ตวั ชวี้ ดั หลกั ฐาน / ร่องรอย / ลกั ษณะทพี่ บ 1. มีกระบวนการพฒั นาคุณธรรมจรยิ ธรรม 1. ครู นกั เรยี นและบคุ ลากรทราบแผนการพฒั นาคุณธรรม ท้ังโรงเรยี น จริยธรรมของโรงเรยี น 2. มภี าพความสมั พันธ์ท่ดี รี ะหว่างครู นกั เรียนผู้บริหาร กรรมการสถานศกึ ษา และ ผู้ปกครอง 3. ครแู ละนกั เรยี นมคี วามสุข ยม้ิ แย้ม แจ่มใส ทกั ทาย โต้ตอบอย่างมสี มั มาคารวะ 4. สภาพแวดล้อมของโรงเรยี นสะอาด ร่มร่นื น่าเรยี น 2. มีกลไกคณะท�ำงานและใช้โครงงาน 5. ครู นกั เรยี น ผู้บรหิ าร แบ่งงานรบั ผดิ ชอบพัฒนาโรงเรยี น คณุ ธรรมเป็นเคร่อื งมอื ทีท่ ุกคนมสี ่วนร่วม คุณธรรม ในการลงมอื ปฏบิ ตั เิ พ่อื พฒั นาโรงเรยี น คุณธรรม 6. มโี ครงงานคณุ ธรรม/กิจกรรมคณุ ธรรมท่แี ต่ละคนมสี ่วนร่วม ลงมอื ปฏิบตั ิ 3. พฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงค์ในโรงเรยี นเพ่ิมข้นึ 7. ครู นกั เรียน ผู้บรหิ าร มวี นิ ยั ในการปฏบิ ัตติ ามหน้าท่ี รับผิดชอบ 8. ครู นักเรียน ผู้บรหิ าร มีพฤตกิ รรมที่พึงประสงค์ตามท่ี ก�ำหนดไว้ในคณุ ธรรมเป้าหมายของโรงเรยี น 4. พฤติกรรมทไ่ี ม่พงึ ประสงค์ในโรงเรยี น 9. ครู นักเรยี น ผู้บรหิ าร ลดพฤตกิ รรมทไ่ี ม่พึงประสงค์ลง ลดลง 5. เกดิ กระบวนการมสี ่วนร่วมในการพฒั นา 10. บรรยากาศในโรงเรยี นทกุ ภาคส่วนร่วมมอื กันปฏบิ ัตงิ าน คณุ ธรรมจรยิ ธรรมในโรงเรยี นจาก ครู นกั เรียน ผู้บรหิ าร ร่วมกนั ปฏบิ ัตงิ าน เพ่อื บรรลุ ทกุ ภาค ส่วนท่เี กยี่ วข้อง เช่น ผู้บรหิ าร พฤตกิ รรมท่พี งึ ประสงค์ตามท่กี �ำหนดไว้ในคณุ ธรรม โรงเรยี น ครู บคุ ลากร นกั เรยี น ผู้ปกครอง เป้าหมายของโรงเรยี น ชุมชน 6. มอี งค์ความรู้/นวตั กรรมการสร้างเสรมิ 11. มอี งค์ความรู้/นวตั กรรมการสร้างเสรมิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมท่ี คุณธรรมจรยิ ธรรม และมกี ารบรู ณาการ เผยแพร่ได้ และ/หรอื มีแผนการเรยี นรู้การสร้างเสรมิ กับการจัดการเรยี นรู้ในชน้ั เรยี น คณุ ธรรมจรยิ ธรรมในชน้ั เรยี น 7. เป็นแหล่งเรยี นรู้ด้านพฒั นาคณุ ธรรม 12. โรงเรยี นมคี วามพร้อมในการเป็นแหล่งศกึ ษาดูงาน ด้านพัฒนาคณุ ธรรม 14 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
การนิเทศติดตาม โรงเรยี นคณุ ธรรม ปจั จยั ความส�ำเรจ็ ทสี่ �ำคญั มากทส่ี ดุ ในการพฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรม ไดแ้ ก่ การนเิ ทศตดิ ตามโรงเรยี น ศนู ยโ์ รงเรยี นคณุ ธรรม มยส. ไดจ้ ดั ใหม้ ี “นเิ ทศอาสา” ท�ำหนา้ ทเ่ี ปน็ อาสาสมคั รในการนเิ ทศตดิ ตามโรงเรยี น คุณธรรม โดยพิจารณาใช้ประโยชน์ในฐานะผู้ทรงคุณวุฒิผู้มีความรอบรู้และประสบการณ์การท�ำงาน ตลอดช่วงชีวิตของการประกอบอาชีพ ท้ังความรอบรู้ทางวิชาการ และประสบการณ์ในการบริหารจัดการ เพอื่ ท�ำหนา้ ท่ี ชว่ ยเหลอื ใหค้ �ำปรกึ ษา ค�ำแนะน�ำ ใหก้ �ำลงั ใจ เพอ่ื ใหโ้ รงเรยี นประสบความส�ำเรจ็ ในการพฒั นา เป็นโรงเรียนคุณธรรม และร่วมวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลจากการนิเทศโรงเรียนคุณธรรม เพื่อประโยชน์ใน การปรบั ปรุงกระบวนการท�ำงาน เพ่อื ขยายผลการพฒั นาโรงเรียนคณุ ธรรมให้ทัว่ ถงึ ทกุ ภูมิภาค การนิเทศแบบกัลยาณมิตร หลักการส�ำคัญของนิเทศอาสาของมูลนิธิฯ ต้องท�ำการนิเทศแบบกัลยาณมิตร ซึ่งจะช่วยท�ำให้ กระบวนการนเิ ทศประสบผลส�ำเรจ็ ได้จรงิ ผู้นเิ ทศที่มลี กั ษณะความเป็นกัลยาณมิตร คือ มีความเป็นมติ ร ชวนให้เข้าไปหารอื ไต่ถาม ขอค�ำปรึกษา น่าเคารพ ท�ำให้ผู้รบั การนิเทศเกิดความรู้สกึ อบอุ่นใจ เป็นทพ่ี ง่ึ ได้ น่ายกย่อง ในฐานะเป็นผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีความรู้และภมู ิปัญญาแท้จริง รู้จักพูดให้ได้ผล รู้จักช้ีแจงให้เข้าใจ ง่าย อดทนต่อถอ้ ยค�ำ พร้อมทจี่ ะรบั ฟังค�ำปรกึ ษา ค�ำเสนอแนะ และค�ำวพิ ากษ์วจิ ารณ์ สามารถอธบิ ายเรอื่ ง ท่ียุ่งยากและซับซ้อนให้เข้าใจได้ และให้เรียนรู้เร่ืองราวท่ีลึกซึ้งย่ิงข้ึนไปได้ การนิเทศแบบกัลยาณมิตร จงึ เป็นการชแ้ี นะ และให้ความช่วยเหลอื จุดประสงค์ของการนเิ ทศแบบกลั ยาณมติ รนี้ ประกอบด้วย การเปิดใจ การให้ใจ การร่วมใจ ตั้งใจ สร้างสรรค์คณุ ภาพ และ เงือ่ นไขท่ไี ม่เน้นปริมาณงาน แต่เน้นคณุ ภาพ รูปแบบการนเิ ทศจะมลี กั ษณะของ ความสมั พนั ธ์ทางใจเข้ามาเกย่ี วข้อง โดยจะเป็นการให้ก�ำลงั ใจ ช่วยเหลอื กนั อย่างจรงิ ใจ เพอ่ื ให้งานด�ำเนนิ ไปในทศิ ทางทถ่ี กู ต้องตามความต้องการของผู้นเิ ทศและผู้ได้รบั การนิเทศร่วมกนั คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม | 15
หลักการนเิ ทศ 1. เยยี่ มชม กระตุ้นส่งเสรมิ เสรมิ แรงให้ก�ำลังใจโรงเรยี น ให้สามารถด�ำเนนิ การได้ตามเป้าหมาย 2. ตดิ ตาม ให้ค�ำแนะน�ำปรึกษาอย่างกลั ยาณมิตร 3. ให้ค�ำปรกึ ษาหารอื ด้านวชิ าการตามทโ่ี รงเรียนต้องการ 4. ไม่สร้างภาระงานเพม่ิ เตมิ ให้โรงเรยี น เช่น การขอข้อมูลท่โี รงเรยี นจะต้องจดั เก็บใหม่ บทบาทของนิเทศอาสา 1. สร้างความตระหนกั และกระตุ้นให้เหน็ ความส�ำคญั ของการพฒั นาคณุ ธรรม 2. กระตนุ้ ใหเ้ กดิ แรงบนั ดาลใจ และทศั นะเชงิ บวก (success attitude) ตอ่ การพฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรม 3. สร้างความเข้าใจเกย่ี วกบั กระบวนการพฒั นาโรงเรียนคุณธรรม และตวั ช้ีวดั โรงเรียนคุณธรรม 4. สร้างขวญั ก�ำลงั ใจในการพฒั นาไปสู่โรงเรยี นคณุ ธรรม 5. สนบั สนนุ โรงเรยี นใหส้ ามารถเรมิ่ ตน้ กจิ กรรมพฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรม ภายใตบ้ รรยากาศของความ ร่วมมือทั่วทั้งโรงเรียน โดยผู้บริหาร ครู และนักเรียนร่วมกันก�ำหนดเป้าหมายท่ีต้องการไปให้ถึง ซ่ึงได้แก่ พฤตกิ รรมบ่งชเ้ี ชงิ บวก และคณุ ธรรมเป้าหมาย (คณุ ธรรมอัตลกั ษณ์) 6. ให้ค�ำปรกึ ษาแนะน�ำในประเดน็ ต่างๆ อาทิ 6.1 แนวทางการขบั เคลื่อนไปสู่โรงเรยี นคณุ ธรรม 6.2 การก�ำหนดแผนงานคณุ ธรรมและแผนปฏบิ ตั กิ ารของโรงเรยี นทสี่ ง่ เสรมิ การพฒั นาคณุ ธรรม อย่างเหมาะสม 6.3 การสร้างเคร่อื งมือและกลไกในการพฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรม 6.4 การสร้างบรรยากาศท่เี อื้อต่อการพฒั นาโรงเรยี นคุณธรรม 6.5 การสร้างการมสี ่วนร่วม และการสร้างเครอื ข่ายความร่วมมอื 6.6 การนเิ ทศภายใน 6.7 การแก้ไขปัญหาท่เี ป็นอปุ สรรคต่อการพัฒนาโรงเรยี นคณุ ธรรม 6.8 การประเมินผลระหว่างด�ำเนินการ และประเมินผลเมื่อครบรอบปี รวมท้ังการน�ำผลการ ประเมินไปใช้ประโยชน์ 6.9 การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ 6.10 การถอดบทเรยี น 6.11 การรายงานผลการด�ำเนนิ งาน 6.12 การเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์ 6.13 การรายงานความก้าวหน้า คร้งั ท่ี 1 และครั้งที่ 2 16 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
6.14 การยกระดบั ความส�ำเรจ็ และการขยายผลออกไปในวงกว้าง 6.15 การพัฒนาศกั ยภาพของโรงเรยี นให้สามารถเป็นแหล่งเรยี นรู้ด้านพฒั นาคณุ ธรรม เป้าหมายการนิเทศ 1. เพอ่ื ขับเคลื่อนการพฒั นาโรงเรยี นคุณธรรมทง้ั โรงเรยี นให้บรรลุผลส�ำเรจ็ ตามที่มลู นธิ ิฯ ก�ำหนด 2. ครไู ดร้ บั การพฒั นาศกั ยภาพในการออกแบบและจดั การเรยี นรเู้ ชงิ บรู ณาการความรคู้ คู่ วามดี และ เป็นต้นแบบทด่ี ีงามของนกั เรยี น 3. นักเรียนแสดงออกถงึ พฤติกรรมพงึ ประสงค์ทชี่ ัดเจนเป็นรปู ธรรมสม�่ำเสมอ 4. ผู้บริหารและครูเป็นผู้น�ำในการเปล่ยี นแปลงและเป็นแบบอย่างทด่ี ดี ้านคุณธรรม 5. พฤตกิ รรมทพ่ี ึงประสงค์ตามคณุ ธรรมเป้าหมายของนกั เรยี นในภาพรวมเพม่ิ ขน้ึ 6. เกิดกระบวนการมสี ่วนร่วมในการพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมจากทกุ ภาคส่วน 7. มอี งค์ความรู้/นวตั กรรมทใ่ี ช้ในการพฒั นาศกั ยภาพของครูเกย่ี วกับการจดั การเรยี นรู้ในการสร้าง เสริมคณุ ธรรมจรยิ ธรรม วิธีด�ำเนินการนเิ ทศ 1. ศึกษาบริบทของโรงเรยี นท่จี ะรบั การนิเทศ วางแผนการนเิ ทศ และจดั ท�ำปฏิทินการนเิ ทศ พร้อม กบั ส่งปฏทิ นิ การนิเทศให้มูลนธิ ิฯ ก่อนลงพ้ืนท่ี 2. นิเทศอาสาต้องประสานกับโรงเรียน และหน่วยงานต้นสังกัดของโรงเรียนก่อนการลงพื้นที่เพ่ือ นเิ ทศ 3. ลงพืน้ ทต่ี ดิ ตามโรงเรยี นคณุ ธรรม ทมี ละ 2 คน จ�ำนวน 2 ครง้ั ต่อปี/โรงเรยี น ตามแผนการนเิ ทศ ท่ีได้รบั ความเหน็ ชอบ 4. การลงพื้นท่ีเพื่อเก็บข้อมูล ควรมีการเก็บข้อมูลจากบุคคลและหน่วยงานใกล้เคียงจากภายนอก โรงเรียนด้วย เพอ่ื ให้ได้ข้อมลู ท่หี ลากหลายรอบด้าน 5. บนั ทึกข้อมลู ลงในแบบนเิ ทศตดิ ตามฯ ทกุ ครงั้ พร้อมจดั ส่งให้มลู นธิ ิฯ ตามเวลาทก่ี �ำหนด 6. ให้ข้อเสนอแนะ ตลอดจนให้ค�ำปรึกษาต่างๆ เพ่อื เป็นแนวทางการพฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรม 7. นอกจากการลงพน้ื ท่ีเพ่อื นเิ ทศแล้ว นเิ ทศอาสา สามารถนเิ ทศ ผ่านช่องทางอ่นื ๆ ได้ด้วย เช่น Facebook E-mail Line และทางโทรศพั ท์ 8. จดั ท�ำรายงานการนเิ ทศตดิ ตาม จ�ำนวน 2 ครงั้ พรอ้ มสรปุ และจดั สง่ ใหม้ ลู นธิ ฯิ ตามเวลาทก่ี �ำหนด หลงั จากเข้าประชมุ สมั มนาผลการนเิ ทศตดิ ตาม คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม | 17
9. ช่วยกระตุ้นสร้างความพร้อมให้แก่โรงเรียนในการร่วมกิจกรรมรายงานความก้าวหน้า และแลก เปลยี่ นเรียนรู้ 10. เข้าร่วมประชมุ การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ จ�ำนวน 2 ครง้ั ต่อปี 11. ด�ำเนนิ การอื่นๆ ตามทม่ี ลู นิธิฯ ขอความร่วมมอื วธิ ีการสง่ แบบนิเทศตดิ ตาม เม่ือด�ำเนินการบันทึกข้อมูลลงในแบบนิเทศติดตามฯ เสร็จแล้ว ให้จัดส่ง File บันทึกข้อมูลให้กับ หน่วยงานในช่องทางท่ไี ด้ก�ำหนด เครือขา่ ยการนิเทศ มูลนิธิฯ สนบั สนนุ ให้นิเทศอาสาสร้างเครอื ข่ายการนเิ ทศเพ่อื เป็นพลงั หนนุ เสรมิ โรงเรยี นให้สามารถ ขับเคลือ่ นไปสู่โรงเรยี นคุณธรรมอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เครอื ข่ายการนเิ ทศอย่างน้อย ควรประกอบด้วย 1. ผู้นเิ ทศตดิ ตามภายในของโรงเรยี น 2. ศกึ ษานเิ ทศก์ของหน่วยงานต้นสงั กดั ของโรงเรียน 3. นเิ ทศอาสาของมูลนธิ ิฯ เคร่อื งมือการนิเทศ เคร่อื งมอื การนเิ ทศ ได้แก่ แบบนเิ ทศติดตามโรงเรียนคณุ ธรรม แบบนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรมจะมีการพัฒนาอย่างน้อยปีละคร้ังเพ่ือให้สอดคล้องกับจุดเน้น ของมลู นิธฯิ ในแต่ละปี เครือ่ งมือประเมินตนเองของโรงเรียนคุณธรรม โรงเรยี นสามารถใชเ้ อกสาร “แนวทางการพจิ ารณาคณุ ภาพโรงเรยี นคณุ ธรรม” ในการประเมนิ ตนเอง โดยอาจปรกึ ษาหารอื แนวทางปรบั ปรงุ โรงเรยี นกับนเิ ทศอาสาได้เสมอ 18 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
แบบนิเทศติดตาม โรงเรียนคณุ ธรรม
ค�ำ ชี้แจง แบบนิเทศติดตามโรงเรยี นคุณธรรม แบบนเิ ทศตดิ ตามประกอบด้วยข้อมลู 3 ตอน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไป กรอกข้อมลู ชอ่ื โรงเรยี น และช่อื นเิ ทศอาสา ตอนท่ี 2 ข้อมูลดา้ นบรบิ ทเบอ้ื งตน้ 1. สภาพแวดลอ้ ม บรรยากาศของโรงเรียน และสภาพชุมชนใกลเ้ คียง ข้อมลู บริบททว่ั ไปด้านสภาพแวดล้อม บรรยากาศของโรงเรยี น และสภาพชมุ ชนใกล้เคยี ง บรรยากาศของโรงเรยี น กรอกข้อมูลการด�ำเนินงานด้านคณุ ธรรมของโรงเรยี น ได้แก่ สภาพการด�ำเนินงานด้านคณุ ธรรม ของโรงเรียน และสถานการณ์เสย่ี ง/ปัญหาด้านคณุ ธรรมของโรงเรยี น สภาพชมุ ชนใกล้เคยี ง กรอกข้อมูลสภาพชมุ ชนใกล้เคยี งบรเิ วณโรงเรยี น สถานการณเ์ สีย่ ง/ปญั หาดา้ นคุณธรรมของโรงเรยี น กรอกข้อมลู สถานการณ์เส่ยี ง หรอื ปัญหาด้านคณุ ธรรมของโรงเรยี นทเ่ี กดิ ขึ้น ตอนท่ี 3 การด�ำเนนิ งานโรงเรยี นคณุ ธรรม 1. การก�ำหนดเป้าหมายการพฒั นาโรงเรียนคุณธรรม (คุณธรรมอัตลักษณ)์ กรอกข้อมูลตารางคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน ประกอบด้วย คุณธรรมเป้าหมาย และ พฤตกิ รรมบ่งช้เี ชิงบวก และวธิ ีก�ำหนดคณุ ธรรมอตั ลักษณ์ 2. การก�ำหนดวิธกี ารบรรลเุ ปา้ หมาย กรอกข้อมูลของโรงเรยี นเกยี่ วกบั การวางแผน การปฏบิ ัติตามแผน การเป็นแบบอย่างทด่ี ี การ พฒั นาสงิ่ แวดลอ้ มใหเ้ ออ้ื ตอ่ การพฒั นาคณุ ธรรม และการบรู ณาการคณุ ธรรมในการเรยี นการสอน และกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน 3. โครงงานคณุ ธรรม ระบโุ ครงงานคณุ ธรรมทโ่ี รงเรยี นด�ำเนนิ การ ตามคณุ ธรรมเปา้ หมายแตล่ ะชอ่ ง และระบผุ รู้ บั ผดิ ชอบ โครงงานคณุ ธรรมให้ชดั เจน 20 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
4. เครอื่ งมือส�ำคัญในการขบั เคล่ือนสเู่ ปา้ หมาย ระบุลักษณะกลไกท่ีโรงเรียนใช้ในการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม ได้แก่ คณะท�ำงาน/ผู้รับผิดชอบ กระบวนการการเสรมิ แรง การสร้างแรงจงู ใจ และการกระตุ้นเพ่อื ให้เกดิ การท�ำงาน 5. ผลการด�ำเนนิ งาน (ท้งั ผลโดยตรงและผลพลอยได)้ ระบขุ อ้ มลู ผลทเ่ี กดิ จากการเปลย่ี นแปลงทดี่ ขี น้ึ ของนกั เรยี น ครู ผบู้ รหิ าร โรงเรยี น ครอบครวั และ ชมุ ชน รวมทง้ั การเกิดองค์ความรู้ นวตั กรรม และบทเรียนท่ไี ด้จากการด�ำเนินการ 6. ปจั จยั ท่ีส่งผลต่อความส�ำเรจ็ ระบปุ ัจจัยทส่ี ่งผลให้โรงเรยี นประสบความส�ำเรจ็ ในการพัฒนาเป็นโรงเรยี นคุณธรรม 7. ปญั หาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ ระบปุ ญั หาอปุ สรรคของการด�ำเนนิ งานทเ่ี กดิ ขนึ้ และขอ้ เสนอแนะเพอื่ การพฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรม ของนิเทศอาสาท่ีได้ให้ไว้กับโรงเรียน (ข้อเสนอแนะต่อผู้บริหาร ครู นักเรียน และผู้ปกครอง/ ชมุ ชน/ภาคเี ครือข่าย) 8. การด�ำเนนิ การของโรงเรยี นตามข้อเสนอแนะ ระบุข้อมูลในตารางการด�ำเนินการของโรงเรียนตามข้อเสนอแนะของนิเทศอาสา โดยระบุส่ิงท่ี โรงเรียนได้ด�ำเนินงานตามข้อเสนอแนะ และผลที่เกิดข้ึน เพ่ือน�ำไปใช้ในการพัฒนาโรงเรียน คณุ ธรรมต่อไป 9. ความก้าวหน้าทเ่ี กดิ ข้ึน ระบขุ ้อมลู ความก้าวหน้าทเ่ี กิดข้ึนในโรงเรยี นเกย่ี วกับการพฒั นาโรงเรียนคณุ ธรรม คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม | 21
แบบนเิ ทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม แบบนิเทศตดิ ตามโรงเรยี นคณุ ธรรม ประจ�ำปีการศกึ ษา....................................... ครัง้ ที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1/……… คร้งั ที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 2/……… วัน/เดือน/ปีทน่ี ิเทศ ............................................................................................................................... ตอนท่ี 1 ข้อมลู ท่วั ไป ชอ่ื โรงเรยี น.......................................................................................จงั หวดั ........................................................ ช่อื นเิ ทศอาสา 1.) .........................................................................2.)................................................................. ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู ดา้ นบริบทเบอื้ งตน้ (ระบุข้อมลู ใหม่ท่ยี ังไม่เคยรายงานมาก่อน) 1. สภาพแวดล้อม บรรยากาศของโรงเรยี น และสภาพชุมชนใกลเ้ คียง สภาพแวดลอ้ ม .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. บรรยากาศของโรงเรียน .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. สภาพชุมชนใกลเ้ คียง .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 22 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
สถานการณเ์ สี่ยง/ปญั หาด้านคณุ ธรรมของโรงเรยี น .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ตอนท่ี 3 การดำ� เนนิ งานโรงเรียนคุณธรรม 1. การก�ำหนดเป้าหมายการพฒั นาโรงเรยี นคุณธรรม (ตารางคณุ ธรรมอัตลกั ษณ)์ คณุ ธรรมอัตลักษณ์ คณุ ธรรม พฤตกิ รรมบ่งช้ีเชิงบวก (จ�ำแนกตามกลุ่ม) เป้าหมาย ผู้บริหาร ครู นักเรยี น ส�ำหรับโรงเรียนที่ยังไม่ได้ก�ำหนดพฤติกรรมบง่ ชเ้ี ชิงบวก และ คุณธรรมเป้าหมาย เน่อื งจาก (กรณุ าระบุ) .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม | 23
วธิ ีการก�ำหนดคณุ ธรรมอตั ลักษณ์ (1) การสอ่ื สารสร้างความเข้าใจ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (2) การสร้างแกนน�ำ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (3) ประชมุ ระดมสมอง - การก�ำหนดพฤตกิ รรมบ่งช้เี ชงิ บวก .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - การก�ำหนดคณุ ธรรมเป้าหมาย .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (4) การจดั ท�ำตารางคณุ ธรรมอัตลักษณ์ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 24 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
2. การก�ำหนดวิธีการบรรลุเป้าหมาย 2.1 การวางแผน / การจดั ท�ำโครงงานคณุ ธรรม - การจดั ท�ำแผนพัฒนาคณุ ธรรมโรงเรียน หรอื แผนปฏบิ ตั กิ ารประจ�ำปี .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2.2 การเป็นแบบอย่างทด่ี ี .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2.3 การพัฒนาสภาพแวดล้อมให้เอ้อื ต่อการพัฒนาคณุ ธรรม .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2.4 การบรู ณาการคณุ ธรรมในการเรยี นการสอน / ในชน้ั เรยี น .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2.5 การบรู ณาการคณุ ธรรมในกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม | 25
3. โครงงานคณุ ธรรม โครงงาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ คุณธรรมเป้าหมาย โครงงาน........................... โครงงาน........................... คณุ ธรรมท่ี 1 ....................... โครงงาน........................... โครงงาน........................... คุณธรรมท่ี 2 ....................... โครงงาน........................... โครงงาน........................... คุณธรรมท่ี 3 ....................... โครงงาน........................... โครงงาน........................... โครงงาน........................... โครงงาน........................... โครงงาน........................... โครงงาน........................... 4. เคร่ืองมือส�ำคัญในการขับเคลอ่ื นสูเ่ ปา้ หมาย - การสอื่ สารสร้างความเข้าใจท้งั โรงเรยี น เพ่ือให้ทราบเป้าหมายและทศิ ทางการด�ำเนนิ งาน .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 26 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
- การสร้างแกนน�ำ(ครู-นกั เรยี น)เพ่อื เป็นหวั ขบวนในการขบั เคลอ่ื นไปสู่เป้าหมาย .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - การนิเทศตดิ ตามภายใน และการนเิ ทศตดิ ตามโดยนิเทศอาสาของ มยส. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - การส่งเสรมิ สนับสนนุ และการเสรมิ แรงในรูปแบบต่างๆ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - การสร้างกลไกการมสี ่วนร่วม .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - การทบทวนหลงั การปฏบิ ตั ิงาน : AAR .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - การแลกเปลย่ี นเรียนรู้ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม | 27
- การประเมนิ ผลและการน�ำผลการประเมนิ ไปพัฒนาการด�ำเนนิ งาน .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - การประชาสมั พนั ธ์ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. ผลการด�ำเนนิ งาน (ทั้งผลโดยตรงและผลพลอยได้) - ผลท่เี กดิ ขึน้ กบั นกั เรยี น .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - ผลทีเ่ กิดขนึ้ กบั ครู .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - ผลทเ่ี กดิ ข้ึนกบั ผู้บรหิ าร .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 28 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
- ผลที่เกิดข้ึนกบั โรงเรียน .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - ผลท่ีเกิดข้ึนกบั ครอบครัวของนกั เรียน .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - ผลทเ่ี กิดขึน้ กบั ชุมชน .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - องค์ความรู้ นวตั กรรม และบทเรยี นทีเ่ กดิ จากการด�ำเนนิ งาน .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 6. ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลต่อความส�ำเรจ็ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม | 29
7. ปัญหาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะของนเิ ทศอาสา ปญั หาอปุ สรรค 8. การด�ำเนินการของโรงเรียนตามขอ้ เสนอแนะ การด�ำเนินการของโรงเรยี นตามข้อ ปญั หาอปุ สรรค ข้อเสนอแนะของนเิ ทศอาสา เสนอแนะ 9. ความก้าวหน้าท่เี กดิ ข้ึน .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงนาม................................................................... ลงนาม................................................................. (.......................................................................) (.......................................................................) นเิ ทศอาสา นเิ ทศอาสา ........................./......................../........................ ........................./......................../........................ 30 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
แนวทางการพิจารณาคุณภาพโรงเรยี นคุณธรรม ศูนยโ์ รงเรียนคุณธรรม มลู นิธิยุวสถริ คณุ คำ�ช้ีแจงการใชแ้ บบพจิ ารณาคุณภาพโรงเรียนคุณธรรม หลักการ 1. การใช้แบบพิจารณาคุณภาพโรงเรียนคุณธรรมเป็นไปตามความพร้อมและความสมัครใจของ โรงเรยี น โดยไม่มเี งือ่ นไขผกู มดั ใดๆในการพัฒนาโรงเรยี นคณุ ธรรมกบั มูลนิธยิ วุ สถริ คุณ 2. ศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณจะใช้แบบพิจารณาคุณภาพโรงเรียนคุณธรรมเป็น เครื่องมือในการพิจารณาสนับสนุนให้เกิดโรงเรียนคุณธรรมต้นแบบ เพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพ ของโรงเรยี นคณุ ธรรม และเกดิ การยอมรับในการขยายผลโรงเรยี นคุณธรรมอย่างมคี ณุ ภาพและยัง่ ยนื วตั ถปุ ระสงค์ 1. โรงเรียนท่ีก�ำลังพัฒนาเข้าสู่โรงเรียนคุณธรรมจะประเมินตนเอง เพื่อให้ทราบจุดแข็ง จุดควร ปรับปรุง จุดเด่นควรขยายผล เพ่ือให้การปรับปรุงตนเองมีทิศทางท่ีถูกต้อง วิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค ทเี่ กิดขึ้นในการปฏบิ ตั งิ านได้ถกู ต้อง ปรบั แนวทางแก้ปัญหาได้ตรงจดุ 2. โรงเรยี นสามารถด�ำเนนิ การไดด้ ้วยตนเองทกุ ช่วงเวลาทตี่ ้องการ ชว่ ยให้การปรบั แผนงานมคี วาม เคลื่อนไหวทันต่อเหตุการณ์ ประหยัดทรัพยากรของโรงเรียน ทั้งบุคลากรและงบประมาณเพื่อให้เกิดความ ก้าวหน้าของงานพฒั นาโรงเรียนคณุ ธรรมอย่างต่อเน่อื ง 3. เพ่ือเป็นเครื่องมือในการบริหารงานด้านพัฒนาคุณธรรมของโรงเรียน ผู้บริหารสามารถใช้เป็น ข้อมูลในการวางแผน ก�ำกบั งาน และ ประเมนิ ผลงานให้ตรงตามเป้าหมายของโรงเรยี น และเป็นส่อื ในการ ปรึกษาหารอื กบั นิเทศอาสาเก่ยี วกับประเดน็ การปรบั ปรุงงานให้เข้าใจตรงกนั 4. ในกรณีจะพิจารณาโรงเรียนคุณธรรมต้นแบบ นิเทศอาสาจะใช้แบบพิจารณาคุณภาพโรงเรียน คุณธรรมเป็นเคร่ืองมือในการพิจารณา เพื่อความเป็นธรรม และถูกต้องตามแนวทางวิเคราะห์ประเมิน คณุ ภาพโรงเรยี น ซง่ึ มกี ารด�ำเนนิ งานโรงเรยี นคณุ ธรรมอยา่ งกวา้ งขวางทวั่ ประเทศ และมรี ปู แบบหลากหลาย แตกต่างกนั คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม | 31
วธิ ีการ 1. โรงเรียนสามารถใช้แบบพิจารณาคุณภาพโรงเรียนคุณธรรมตามบริบทและความต้องการ ของโรงเรยี น ในทกุ ช่วงเวลาและตามวธิ กี ารที่ก�ำหนดไว้ในแผนงานของโรงเรยี น 2. นิเทศอาสาจะแจ้งให้โรงเรียนทราบก่อนการใช้แบบพิจารณาคุณภาพโรงเรียนคุณธรรม เพื่อพิจารณาสนับสนุนให้เกิดโรงเรียนคุณธรรมต้นแบบ โดยใช้เคร่ืองมือตามหลักวิชาการประกอบการ พจิ ารณาตามบรบิ ทจรงิ ของโรงเรยี น เครื่องมือ ให้ใช้เครอ่ื งมอื โดยยึดวธิ กี ารดงั ต่อไปนี้ 1. การสังเกต 2. การสมั ภาษณ์ 3. การเย่ยี มชมเชงิ ประจกั ษ์ 4. การศึกษาเอกสาร หลกั ฐานทเ่ี กย่ี วข้อง ผลการพิจารณาคุณภาพโรงเรียนคณุ ธรรม 1. โรงเรยี นใช้ผลการพจิ ารณาคณุ ภาพตนเองในการปรบั ปรงุ งานพฒั นาโรงเรียนคณุ ธรรมได้ 2. ศนู ยโ์ รงเรยี นคณุ ธรรม มลู นธิ ยิ วุ สถริ คณุ จะเปน็ หนว่ ยประกาศผลโรงเรยี นคณุ ธรรมตน้ แบบ เพอื่ ใช้เป็นแหล่งศกึ ษาดงู านการพฒั นาด้านคณุ ธรรมของมูลนธิ ิฯ 32 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
แนวทางพจิ ารณา คณุ ภาพโรงเรยี นคุณธรรม ศนู ย์โรงเรียนคุณธรรม มลู นธิ ยิ วุ สถิรคณุ
แบบพจิ ารณาคุณภาพโรงเรยี นคณุ ธรรม ศนู ยโ์ รงเรียนคุณธรรม มูลนิธยิ ุวสถริ คุณ ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป 1. ชอื่ โรงเรียน..................................................................................................................................................... สงั กัด สพฐ. สช. สอศ. อ่ืนๆ (โปรดระบ)ุ .......................... ทอ่ี ยู่...................................ถนน................................................ต�ำบล/แขวง.................................................. อ�ำเภอ/เขต............................................จงั หวดั ................................................รหสั ไปรษณยี ์........................ โทรศพั ท์.................................... โทรสาร...................................อเี มล์............................................................ เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา......................................................................................................................................... 2. เปิดสอนระดบั ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษา ขยายโอกาส อาชีวศกึ ษา อดุ มศกึ ษา 3. ชอื่ -สกุล ผู้บรหิ ารโรงเรยี น.................................................................................โทรศพั ท์............................... 4. ชื่อ-สกลุ ผู้รับผดิ ชอบงานโรงเรยี นคณุ ธรรม.....................................................โทรศพั ท์.............................. 5. คณุ ธรรมเป้าหมายของโรงเรยี น..................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 34 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
ตอนท่ี 2 ขอ้ มูลการพิจารณาคณุ ภาพของโรงเรียนคณุ ธรรม ค�ำชแ้ี จง ใหผ้ พู้ จิ ารณาคณุ ภาพของโรงเรยี นคณุ ธรรมอา่ นค�ำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพของการพจิ ารณาใหเ้ ขา้ ใจ และท�ำเคร่อื งหมาย / ลงในช่องระดบั คณุ ภาพตามเกณฑ์ท่กี �ำหนด ระดบั คณุ ภาพ : 4 = ดเี ยย่ี ม 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ปรบั ปรงุ ที่ ตัวชว้ี ดั ระดับคณุ ภาพ 432 1 1 กระบวนการพฒั นาคุณธรรมจรยิ ธรรมทงั้ โรงเรยี น 2 กลไกคณะท�ำงานและใช้โครงงานคุณธรรมเป็นเครื่องมือท่ีทุกคนมีส่วนร่วม ในการลงมอื ปฏิบัตเิ พ่ือพัฒนาโรงเรยี นคณุ ธรรม 3 พฤตกิ รรมท่พี งึ ประสงค์ในโรงเรยี นเพม่ิ ข้ึน 4 พฤตกิ รรมทไ่ี ม่พึงประสงค์ในโรงเรยี นลดลง 5 เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมในโรงเรียนจาก ทุกภาคส่วนทเ่ี กีย่ วข้อง 6 มอี งค์ความรู้/นวตั กรรมการสร้างเสรมิ คุณธรรม และมกี ารบรู ณาการกบั การ จัดการเรยี นรู้ในช้นั เรียน 7 เป็นแหล่งเรยี นรู้ของโรงเรยี นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม คะแนนรวม คะแนนรวมท้งั สน้ิ ผลการพิจารณา โรงเรียนคุณธรรมต้นแบบ โรงเรียนคณุ ธรรม ควรได้รบั การพัฒนา ข้อคดิ เหน็ ของนิเทศอาสา ............................. ลงชื่อผู้บริหารโรงเรยี น...................................................... .......................................................................... (........................................................) .......................................................................... .......................................................................... ลงชื่อผู้พจิ ารณาคณุ ภาพ................................................. ลงชื่อ .............................................................. (........................................................) (.................................................) วันท่ี .........เดือน ...................... พ.ศ. ........... นเิ ทศอาสา วันท่ี .........เดอื น ...................... พ.ศ. ........... คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม | 35
คำ�อธบิ ายระดับคณุ ภาพของการพจิ ารณาในตอนที่ 2 องค์ ตวั ชี้วดั เกณฑ์การพจิ ารณา ประกอบ 4=ดเี ย่ยี ม 3=ดี 2=พอใช้ 1=ปรบั ปรงุ ดา้ นท่ี 1 1. มีกระบวนการ 1.1 โรงเรยี นมแี ผนงานคณุ ธรรมจรยิ ธรรมทรี่ ะบคุ ณุ ธรรมเป้าหมาย กระบวนการ พัฒนาคุณธรรม และพฤตกิ รรมบ่งชเ้ี ชิงบวก (คณุ ธรรมอตั ลกั ษณ์) ครอบคลมุ ทงั้ จริยธรรมท้งั ผู้บริหาร ครู และ นกั เรยี น และ สอดคล้องกบั สภาพปัญหาของ โรงเรยี น โรงเรยี นอย่างชดั เจน รวมท้งั มกี ารก�ำหนดไว้ในแผนปฏบิ ตั ิการ ของโรงเรียน ซง่ึ ครู นกั เรียน และบคุ ลากรทราบแผนงานคณุ ธรรม จริยธรรมของโรงเรยี น อกี ด้วย 1.2 มีการปฏบิ ัตติ ามแผนงานคณุ ธรรมจริยธรรมของโรงเรยี นได้ครบ ถ้วนทกุ กจิ กรรม/โครงงาน และ ในโรงเรยี นมภี าพความสมั พันธ์ทีด่ ี ระหว่างครู นกั เรียน ผู้บรหิ าร กรรมการสถานศกึ ษา และผู้ปกครอง 1.3 มีการก�ำกบั ตดิ ตาม นเิ ทศภายในอย่างเป็นระบบ พร้อมทง้ั รายงาน ผลการนิเทศอย่างต่อเนอ่ื ง และโรงเรยี นมบี รรยากาศทเ่ี ออื้ ต่อการ พฒั นาคุณธรรม ครู และ นกั เรยี นมคี วามสขุ ย้มิ แย้ม แจ่มใส ทักทาย โต้ตอบอย่างมสี มั มาคารวะ รวมท้งั สภาพแวดล้อมของ โรงเรยี นสะอาด ร่มรน่ื เออ้ื ต่อการเรยี นรู้ 1.4 มกี ารประเมนิ ผลความส�ำเรจ็ ตามแผนฯท่วี างไว้ ภายใต้ความ ร่วมมือของทกุ ฝ่ายท่เี ก่ยี วข้อง และน�ำผลการประเมนิ ไปใช้ในการ ปรบั ปรงุ แก้ไขในช่วงปีถดั ไปอย่างชดั เจนเป็นรูปธรรม ระดบั คณุ ภาพ 4 = มีการปฏบิ ตั ิตามเกณฑ์ 4 ข้อ 3 = มกี ารปฏบิ ัตติ ามเกณฑ์ 3 ข้อ 2 = มกี ารปฏบิ ตั ติ ามเกณฑ์ 2 ข้อ 1 = มกี ารปฏบิ ตั ิตามเกณฑ์ 1 ข้อ 2. มกี ลไกคณะ 2.1 คณะกรรมการ / คณะท�ำงานรบั ผดิ ชอบงานตามบทบาทหน้าทีท่ ไ่ี ด้ ท�ำงานและใช้ รับมอบหมายอย่างเตม็ ก�ำลงั สร้างแรงจงู ใจ กระตุ้นและเช่ือมโยง โครงงาน การท�ำงานของทกุ ฝ่ายให้บรรลตุ ามแผนท่กี �ำหนด คณุ ธรรมเป็น 2.2 ผู้บรหิ ารมภี าวะผู้น�ำ มกี ระบวนการเสรมิ แรงอย่างเป็นระบบในการ เคร่อื งมอื ท่ี ขบั เคลอื่ นพฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรม ทุกคนมสี ่วนร่วม 2.3 ผู้บริหาร ครู และนกั เรยี น มสี ่วนร่วมในการด�ำเนินการตาม ในการลงมอื โครงงาน ได้อย่างสร้างสรรค์ ปฏิบัติเพอื่ 2.4 มโี ครงงานคณุ ธรรม / กจิ กรรมคุณธรรม และการด�ำเนินงานตาม พัฒนาโรงเรยี น โครงงานบรรลผุ ลตามวตั ถปุ ระสงค์ทีว่ างไว้ คณุ ธรรม 36 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
องค์ ตวั ชวี้ ัด เกณฑก์ ารพจิ ารณา ประกอบ 3. พฤตกิ รรมทีพ่ งึ 4=ดเี ยีย่ ม 3=ดี 2=พอใช้ 1=ปรับปรุง ด้านที่ 2 ผลผลติ ประสงค์ใน ระดับคุณภาพ โรงเรยี นเพม่ิ ขน้ึ 4 = มีการปฏบิ ัตติ ามเกณฑ์ 4 ข้อ 3 = มีการปฏบิ ัติตามเกณฑ์ 3 ข้อ 4. พฤตกิ รรมทไ่ี ม่ 2 = มีการปฏบิ ัติตามเกณฑ์ 2 ข้อ พงึ ประสงค์ใน 1 = มกี ารปฏบิ ัตติ ามเกณฑ์ 1 ข้อ โรงเรยี นลดลง 3.1 จ�ำนวนนกั เรยี น มีคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ตามหลกั สตู รแกนกลาง ร้อยละ 75 ขน้ึ ไป 3.2 จ�ำนวนนกั เรยี น มพี ฤตกิ รรมบ่งช้ีเชงิ บวกท่กี �ำหนดในตาราง คณุ ธรรมอัตลกั ษณ์ ร้อยละ 85 ขน้ึ ไป 3.3 จ�ำนวนครูมพี ฤติกรรมบ่งช้เี ชงิ บวกท่ีก�ำหนดในตารางคณุ ธรรมอตั ลักษณ์ ร้อยละ 90 ข้นึ ไป 3.4 ผู้บรหิ ารมพี ฤติกรรมบ่งช้ีเชงิ บวกท่กี �ำหนดในตารางคณุ ธรรมอัต ลกั ษณ์ ร้อยละ 100 ระดับคุณภาพ 4 = มพี ฤติกรรมฯตามเกณฑ์ 4 ข้อ 3 = มีพฤติกรรมฯตามเกณฑ์ 3 ข้อ 2 = มพี ฤติกรรมฯตามเกณฑ์ 2 ข้อ 1 = มีพฤติกรรมฯตามเกณฑ์ 1 ข้อ 4.1 นกั เรยี น มพี ฤติกรรมทไ่ี ม่พงึ ประสงค์ ไม่เกินร้อยละ 5 4.2 นกั เรียน มพี ฤตกิ รรมท่ีไม่พงึ ประสงค์ และขดั แย้งกบั คุณธรรม อตั ลักษณ์ของโรงเรยี น ไม่เกนิ ร้อยละ 5 4.3 ครู มีพฤตกิ รรมท่ไี ม่พงึ ประสงค์ และขดั แย้งกับคุณธรรมอตั ลักษณ์ ของโรงเรยี น ไม่เกนิ ร้อยละ 5 4.4 ผู้บริหารมพี ฤตกิ รรมที่ไม่ขัดแย้งกบั คุณธรรมอตั ลักษณ์ของโรงเรียน ระดับคณุ ภาพ 4 = มีพฤติกรรมฯตามเกณฑ์ 4 ข้อ 3 = มีพฤตกิ รรมฯตามเกณฑ์ 3 ข้อ 2 = มีพฤตกิ รรมฯตามเกณฑ์ 2 ข้อ 1 = มพี ฤตกิ รรมฯตามเกณฑ์ 1 ข้อ คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม | 37
องค์ ตัวชว้ี ดั เกณฑ์การพิจารณา ประกอบ 4=ดีเย่ียม 3=ดี 2=พอใช้ 1=ปรบั ปรงุ ดา้ นท่ี 3 ผลลัพธ์ 5. เกดิ กระบวนการ 5.1 มกี ารวางแผนในการสร้างกระบวนการมสี ่วนร่วมของครู นกั เรียน มีส่วนร่วมในการ ผู้บรหิ าร และผู้เก่ยี วข้องทกุ ฝ่าย เพอ่ื ให้เกิดความร่วมมอื ในการ พฒั นาคณุ ธรรม พัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม มกี ารปฏบิ ตั ิตามแผน ก�ำกบั ติดตาม จรยิ ธรรมใน และ ประเมนิ ผลการมสี ่วนร่วมเป็นระยะ โรงเรียนจาก 5.2 ผู้บริหาร ครู บคุ ลากร และนกั เรยี น เห็นคุณค่าและประโยชน์ของ ทุกภาคส่วน การพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และให้ความร่วมมอื กับโรงเรียน ท่เี กยี่ วข้อง 5.3 ผู้ปกครองเข้ามามสี ่วนร่วมและให้ความร่วมมอื กับโรงเรยี น (ผู้บริหาร ครู เพ่อื ช่วยให้บรรลพุ ฤตกิ รรมบ่งชเ้ี ชงิ บวกท่ีก�ำหนด บุคลากร 5.4 ชุมชนและผู้เก่ยี วข้องรบั รู้เป้าหมายด้านคณุ ธรรมของโรงเรยี น นักเรียน และช่วยเหลอื ด้านพัฒนาคณุ ธรรมตามความเหมาะสม ผู้ปกครอง และ ชมุ ชน) ระดบั คณุ ภาพ 4 = มพี ฤตกิ รรมฯตามเกณฑ์ 4 ข้อ 3 = มีพฤตกิ รรมฯตามเกณฑ์ 3 ข้อ 2 = มีพฤตกิ รรมฯตามเกณฑ์ 2 ข้อ 1 = มพี ฤตกิ รรมฯตามเกณฑ์ 1 ข้อ 6. มีองค์ความรู้/ 6.1 โรงเรยี นมกี ารสรปุ องค์ความรู้/นวตั กรรมการสร้างเสรมิ คณุ ธรรมท่ไี ด้ นวัตกรรมการ จากการพฒั นาโครงงานคณุ ธรรมของโรงเรยี น และได้เผยแพร่ สร้างเสริม สู่สาธารณะ คณุ ธรรม และมี 6.2 มกี จิ กรรมการสร้างเสรมิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมผนวกไว้ในแผนการ การบูรณาการ จดั การเรยี นรู้ในช้ันเรียน กับการจัดการ 6.3 มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ระหว่างผู้ปฏบิ ัติงานอย่างสม�ำ่ เสมอ เพอ่ื เรียนรู้ใน สร้างกลุ่มชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning ช้ันเรียน Community :PLC) 6.4 มีการพัฒนาคณุ ธรรมทีบ่ ูรณาการหรอื สอดแทรกอยู่ทง้ั ในการเรียน การสอนและการท�ำงานของบคุ ลากรในโรงเรยี นตามรปู แบบของ โรงเรยี นจนเป็นวฒั นธรรมองค์กร ระดบั คุณภาพ 4 = มีการปฏบิ ตั ติ ามเกณฑ์ 4 ข้อ 3 = มกี ารปฏบิ ตั ิตามเกณฑ์ 3 ข้อ 2 = มีการปฏบิ ตั ติ ามเกณฑ์ 2 ข้อ 1 = มกี ารปฏบิ ัตติ ามเกณฑ์ 1 ข้อ 38 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
องค์ ตวั ชีว้ ัด เกณฑก์ ารพิจารณา ประกอบ 4=ดเี ยยี่ ม 3=ดี 2=พอใช้ 1=ปรบั ปรุง 7. เป็นแหล่งเรยี นรู้ 7.1 มีโครงงานคณุ ธรรม/กจิ กรรมของนกั เรยี น ครู และผู้บรหิ าร ทเ่ี ป็น ของโรงเรยี น แบบอย่างในการศกึ ษาดงู าน คณุ ธรรม 7.2 มกี ารเผยแพร่โครงงานทเ่ี ป็นแบบอย่างสู่สาธารณะ ในรปู แบบต่างๆ จริยธรรม เช่น เอกสาร แผ่นพบั ส่ือส่ิงพิมพ์ วดี ทิ ัศน์ เสียงตามสาย เป็นต้น 7.3 มีความพร้อมในการบรหิ ารจดั การ เพ่ือให้ความรู้แก่ผู้มาเยย่ี มชม 7.4 มีแนวทางพฒั นาให้โรงเรยี นเป็นศนู ย์เรยี นรู้ด้านคณุ ธรรมทย่ี ั่งยนื (โดยมกี ระบวนการพฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรมท่เี ป็นระบบ มคี วาม ชดั เจน และน�ำไปใช้เป็นแบบอย่างได้) ระดบั คุณภาพ 4 = มกี ารปฏบิ ัตติ ามเกณฑ์ 4 ข้อ 3 = มีการปฏบิ ัตติ ามเกณฑ์ 3 ข้อ 2 = มกี ารปฏบิ ัติตามเกณฑ์ 2 ข้อ 1 = มีการปฏบิ ตั ติ ามเกณฑ์ 1 ข้อ ระดับความส�ำเร็จ 1. โรงเรยี นคณุ ธรรมต้นแบบ ต้องมผี ลการพิจารณาได้คะแนนไม่ต่ำ� กว่า 25 คะแนน และ ต้องไม่มี ระดับคุณภาพพอใช้ (ระดบั คุณภาพ 2) และระดบั คณุ ภาพต้องปรบั ปรงุ (ระดบั คณุ ภาพ 1)ในข้อหนง่ึ ข้อใด 2. โรงเรียนคุณธรรม ต้องมีผลการพิจารณาได้คะแนนไม่ต�่ำกว่า 21 คะแนน และต้องไม่มีระดับ คุณภาพปรบั ปรงุ (ระดับคุณภาพ 1) 3. โรงเรียนทม่ี ผี ลการพิจารณาต�่ำกว่า 21 คะแนน ควรได้รบั การพฒั นา หมายเหตุ ผู้บริหาร หมายถงึ ผู้บริหารสถานศกึ ษา และรองหรอื ผู้ช่วยผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา การพิจารณาระดบั คณุ ภาพควรพจิ ารณาจากพฤตกิ รรมที่มกี ารปฏิบตั ิอย่างสม�ำ่ เสมอ ขอขอบคุณในความร่วมมอื ศูนย์โรงเรยี นคณุ ธรรม มูลนธิ ิยุวสถิรคุณ คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม | 39
“...การท�ำความดนี ้นั ” โดยมากเปน็ การเดินทวนกระแสความพอใจ และความตอ้ งการของมนุษย์ จึงท�ำไดย้ ากและเหน็ ผลช้า แตก่ จ็ ำ� เปน็ ต้องทำ� เพราะหาไม่ ความชั่ว ซง่ึ ท�ำได้ง่าย จะเขา้ มาแทนท่ี พระบรมราโชวาสของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ในพิธพี ระราชทานกระบี่และปริญญาบัตรของโรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ เมอ่ื วนั ที่ 10 มีนาคม 2529
ภาคผนวก
สาระความรู้ เกย่ี วกับคุณธรรมจรยิ ธรรม ความหมาย 1. ความซ่ือสัตย์ หมายถงึ ความประพฤตติ รงและจรงิ ใจ ไม่คิดทรยศ ไม่คดโกงและไม่หลอกลวง ความสจุ รติ หมายถงึ ความประพฤตดิ ี ความประพฤตติ ามครรลองคลองธรรม ซอ่ื ตรงตอ่ หนา้ ที่ ความซอื่ สตั ย์ สจุ รติ หมายถงึ การประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ รงความเป็นจรงิ ต่อหน้าท่ี ต่อวิชาชพี ตรงต่อเวลา และค�ำมัน่ สญั ญา ทงั้ กาย วาจา ใจ ต่อตนเองและผู้อ่นื 2. ความขยนั หมายถงึ ความตง้ั ใจเพยี รพยายามท�ำหนา้ ทก่ี ารงานอยา่ งตอ่ เนอื่ ง สมำ่� เสมอ อดทน ไม่ท้อถอยเม่อื พบอปุ สรรค ความขยนั ต้องปฏิบตั คิ วบคู่กบั การใช้สติปัญญาแก้ปัญหา จนเกดิ ผลส�ำเรจ็ ตาม ความมุ่งหมาย 3. ความรบั ผดิ ชอบ หมายถงึ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทดี่ ว้ ยความมงุ่ มนั่ ตง้ั ใจ ทงั้ ทเ่ี ปน็ ภารกจิ สว่ นตวั และ ภารกจิ ทางสงั คม จะต้องกระท�ำให้บรรลคุ วามส�ำเรจ็ ตามความมุ่งหมาย ด้วยความสจุ ริต ความเตม็ ใจ และ ความจรงิ ใจ เป็นความเอาใจใส่ จดจ่อ ตง้ั ใจ มุ่งมนั่ ละเอยี ดรอบคอบ เพอ่ื ให้งานส�ำเรจ็ ตามเป้าหมาย และ ยอมรับผลการกระท�ำของตนเอง ท้ังด้านท่ีเป็นผลดีและผลเสีย ท้ังพยายามปรับปรุงการปฏิบัติหน้าที่ให้ดี ย่ิงขนึ้ 4. ความมีระเบียบวินัย หมายถึง การรู้จักควบคุมตนเองให้ประพฤติปฏิบัติตาม และยึดม่ันใน ระเบยี บแบบแผน ข้อบงั คับ ข้อปฏิบตั ิ ข้อตกลง กฎหมายและศลี ธรรมจารตี ประเพณี ท้งั วนิ ัยในตนเองและ วินัยต่อสังคม เป็นพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงการให้ความส�ำคัญ ความเคารพ และยอมรับท่ีจะปฏิบัติตาม ระเบยี บ กฎเกณฑ์ และขอ้ บงั คบั ของสงั คม เปน็ พฤตกิ รรมทชี่ ว่ ยใหส้ ามารถควบคมุ ตนเองและปฏบิ ตั ติ นตาม ระเบียบเพ่อื ประโยชน์สขุ ของส่วนรวม 5. ความอุตสาหะ หมายถึง ความพยายามที่ท�ำงานให้ส�ำเร็จลุล่วง ด้วยความอดทนไม่ย่อท้อ ต่ออุปสรรค มานะ บากบ่นั ขยนั อดทน เพยี รเอาใจใส่อยู่เป็นนจิ และเสมอต้นเสมอปลาย 6. ความมุง่ มน่ั หมายถงึ ตงั้ ใจและรบั ผดิ ชอบในหน้าทก่ี ารงาน ท�ำงานด้วยความเพยี รพยายาม และอดทนเพ่อื ให้ส�ำเร็จตามเป้าหมาย 42 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
7. ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง ต้ังใจเพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหา ความรู้จากแหล่งเรยี นรู้ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี นด้วยการเลอื กใช้ส่ืออย่างเหมาะสม สรปุ องค์ ความรู้ และสามารถน�ำไปใช้ในชวี ติ ประจ�ำวันได้ 8. ความอดทนอดกลน้ั หมายถงึ ความม่นั คงหนกั แน่นไม่หวน่ั ไหวทงั้ ทางกาย วาจา และใจ โดย ไม่ย่อท้อต่อปัญหา ทนตรากตร�ำ ทนเจ็บใจ หนกั เอาเบาสู้ ยอมรับความล�ำบากและอปุ สรรค และรู้จกั ข่มใจ เมอ่ื เผชิญกบั สถานการณ์ต่างๆ เป็นระยะเวลานาน 9. ความสามัคคี หมายถงึ ความพร้อมเพรยี งกัน ความกลมเกลยี วกัน ความปรองดองกนั เป็น น�้ำหน่ึงใจเดียวกัน ร่วมมือร่วมใจกันปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามท่ีต้องการ โดยปราศจากการทะเลาะวิวาท ไม่เอารัดเอาเปรยี บกัน เป็นการยอมรบั ความมเี หตผุ ล ยอมรับความแตกต่างทางความคดิ 10. ความเสยี สละ หมายถงึ การรู้จักแบ่งปัน เหน็ แก่ประโยชน์ส่วนรวม รู้จกั ช่วยเหลอื ผู้อน่ื โดย อาจต้องเสียสละทรัพย์ แรงงาน เวลา และก�ำลังสติปัญญา ในการช่วยเหลือผู้อื่นและสังคม โดยไม่หวัง ผลตอบแทน 11. ความมนี ้ำ� ใจ หมายถึง มีความเอ้อื เฟื้อเผอ่ื แผ่ เออื้ อาทร ทจี่ ะให้ความช่วยเหลอื เกอื้ กลู แสดง นำ้� ใจดตี อ่ ผอู้ นื่ โดยไมห่ วงั ผลตอบแทน ผทู้ มี่ นี ำ�้ ใจ คอื ผใู้ หแ้ ละผอู้ าสาชว่ ยเหลอื สงั คม รจู้ กั แบง่ ปนั เสยี สละ ความสุขส่วนตน เพ่อื ท�ำประโยชน์แก่ผู้อนื่ 12. ความเมตตากรณุ า หมายถงึ ความรกั ใครแ่ ละเอน็ ดู ปรารถนาจะใหผ้ อู้ น่ื เปน็ สขุ มคี วามสงสาร คิดจะช่วยให้ผู้อ่ืนพ้นทุกข์ รวมท้ังการไม่คิดร้ายต่อผู้อ่ืน สามารถแสดงออกได้โดยการช่วยเหลือท้ังทาง การกระท�ำ หรอื วาจา 13. ความสุภาพ หมายถงึ เรยี บร้อย อ่อนโยน ละมุนละม่อม มีกริ ิยามารยาททด่ี งี าม มสี มั มา คารวะ อ่อนน้อมถ่อมตนตามสถานการณ์และกาลเทศะ ไม่ก้าวร้าว รนุ แรง วางอ�ำนาจข่มผู้อนื่ ทง้ั โดยวาจา และท่าทาง และวางตนเหมาะสมตามวฒั นธรรมไทย 14. ความมสี ัมมาคารวะ หมายถึง ความเคารพนอบน้อม โดยการทางกายและทางวาจา 15. ความกตญั ญู คอื ความรสู้ กึ ส�ำนกึ ในการอปุ การคณุ หรอื บญุ คณุ ทผ่ี อู้ นื่ หรอื สง่ิ อน่ื ทม่ี ตี อ่ ตนเอง กตเวที คือ การแสดงออกเพอ่ื การตอบแทนบญุ คณุ ความกตญั ญกู ตเวที จงึ หมายถงึ ความรู้บุญคุณแล้ว ท�ำตอบแทนบญุ คณุ ให้ปรากฏ คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม | 43
16. ความพอเพยี ง หมายถงึ ด�ำเนนิ ชวี ติ อย่างพอประมาณ มเี หตผุ ล มภี มู คิ มุ้ กนั ในตวั ทด่ี ี ปรบั ตวั เพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมคี วามสขุ รวมท้ัง เป็นผู้ท่มี คี วามรอบรู้และมคี ุณธรรม 17. การประหยัด หมายถึง การรู้จักเก็บออม ถนอมใช้ทรัพย์สินส่ิงของให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า ไม่ฟุ่มเฟือย ฟุ้งเฟ้อ รู้จักใช้จ่ายในสิ่งท่ีจ�ำเป็น พอสมควรแก่ฐานะ รู้จักฐานะการเงินของตน คิดก่อนใช้ คิดก่อนซ้อื เก็บออม รู้จักท�ำบญั ชรี ายรับ-รายจ่ายของตนเองอยู่เสมอ 18. มีจิตสาธารณะ หมายถึง ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจโดยไม่หวังผลตอบแทน เข้าร่วม กิจกรรมท่เี ป็นประโยชน์ต่อโรงเรยี น ชุมชน และสงั คม 44 | คู่มือการนิเทศติดตามโรงเรียนคุณธรรม
Search
Read the Text Version
- 1 - 46
Pages: