Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PLC com science com together

PLC com science com together

Published by kroopaw, 2021-05-11 11:56:50

Description: PLC com science com together

Search

Read the Text Version

คำนำ รายงานผลการดำเนินงานการจดั กิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC ) จัดทำขนึ้ เพือ่ นำเสนอแนวทางในการดำเนนิ งานของกลุ่ม “PLC com science come together” กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหาเรื่อง ปัญหาวิธีการสอนหรือ เทคนิควิธีการสอนของครูไม่สามารถดำเนินการจัดการให้บรรลุตามแนวการสอน จากความร่วมมือของครู ประจำวิชา และเป็นการสร้างความรูค้ วามเข้าใจ เรื่องการปฏิบตั ิด้วยกระบวนการ PLC เพื่อแก้ไขปัญหาดา้ น พฤติกรรม รวมท้งั แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ การติดตามและประเมินผล ในการดำเนนิ งานของโรงเรียนอนุบาลตราด ของครูผู้สอนในโรงเรยี น หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มนี้ จะเกิดประโยชน์ต่อผู้ครูผู้สอน ผู้บริหารสถานศึกษาและ บุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป ในการนำไปใช้เพื่อศึกษาเรียนรู้สรา้ งความเข้าใจและปฏบิ ัติตาม แนวทางดังกลา่ วได้เป็นอยา่ งดี กลุ่ม “PLC com science come together”

ผลการดำเนินกิจกรรมชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ทู างวชิ าชพี 1. หลักการและเหตผุ ล ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning community : PLC) หมายถึง การรวมกลุ่มกันของครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา ในลักษณะของชุมชนเชิงวิชาการที่มีเป้าหมาย เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติ การถอดบทเรียน และการ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ ร่วมกนั อย่างตอ่ เน่อื ง (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2558) จากผลการวิจัยของ สุรพล ธรรมร่มดี (2553) ยืนยันว่าการดำเนินการในรูปแบบ PLC นำไปสู่ การเปลย่ี นแปลงเชงิ คุณภาพทั้งด้านวชิ าชีพและผลสัมฤทธ์ิของนักเรียน โดย มผี ลดที ั้งต่อครผู ู้สอนและนักเรียน ในแง่ผลดีต่อครูผู้สอน พบว่า PLC ส่งผลต่อครูผู้สอนกล่าวคือลดความรู้สึกโดดเดี่ยวในงานสอนของครู เพิ่มความรู้สึกผูกพันต่อพันธกิจและเป้าหมายของโรงเรียนมากขึ้น โดยเพิ่มความกระตือรือร้นที่จะปฏิบัติให้ บรรลุพันธกิจอย่างแข็งขัน จนเกิดความรู้สึกว่า ต้องการร่วมกันเรียนรู้และรับผิดชอบต่อพัฒนาการโดยรวม ของนักเรียน ถือเป็นพลังการเรียนรู้ซึ่งส่งผลให้การปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนให้มีผลดียิ่งขึ้น รวมทั้งเข้าใจ บทบาทและพฤติกรรมการสอนที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด ซึ่งจะเกิดจากการคอยสังเกต อย่างใส่ใจในแง่ของผลดีต่อผู้เรียนพบว่า PLC สามารถลดอัตราการตกซ้ำชั้น และจำนวนชั้นเรียนที่ต้องเลื่อน หรือชะลอการจัดการเรียนรู้ให้น้อยลง อัตราการขาดเรียนลดลงมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์และวิชาการอ่านที่สูงขึ้นอย่างเด่นชัด สุดท้ายคือมีความแตกต่างด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างกลมุ่ นักเรียนทมี่ ภี ูมิหลังไม่เหมือนกันลดลงอย่างชดั เจน จากการศึกษาประโยชน์ของกระบวนการดงั กล่าว ผูจ้ ดั ทำจึงเกิดความคิดทจี่ ะนำกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) เพื่อเป็นการปรับปรุงแก้ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันและ รว่ มกันพัฒนานวัตกรรมท่ีใช้ในการแก้ปัญหาเกย่ี วกับการจัดการเรียนรู้แกน่ ักเรียนในแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดจนพัฒนาทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีของนักเรียนให้ดียิ่งขึ้น โดยได้เริ่มดำเนินกิจกรรม กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 – 6 เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในห้องเรยี น คือ ปัญหาวิธีการสอน หรือเทคนิควิธีการสอนของครูไม่สามารถดำเนินการจัดการให้บรรลตุ ามแนวการสอน เนื่องจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) จำเป็นต้องมีการเว้นระยะห่างทางสังคม มีการแบ่งกลุ่มนักเรียน แบ่งเวลาเรียน ทำให้เวลาเรียนในห้องเรียนน้อยลง ส่งผลให้การจัดการเรียนการสอน ไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ 2. วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ ใหน้ ักเรียนมที ักษะในการฟงั และเหน็ คณุ คา่ ของการเปน็ ผฟู้ งั ท่ีดี 2. เพ่อื ใหน้ ักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในระดับท่ีสูงขึ้น 3. เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงเนื้อหาการเรียนได้จากอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศพั ทม์ อื ถอื ผ่านทางระบบเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต 4. มีนวัตกรรมหรอื คู่มือการใช้ทมี่ คี วามเหมาะสมและเร้าความสนใจของผูเ้ รียน

3. วิธีการดำเนินงาน ➢ แนวทางการปฏิบัตกิ ิจกรรมการสรา้ งชุมชนการเรยี นรูท้ างวิชาชพี (PLC) 1. แบ่งกล่มุ ย่อย ตามความเหมาะสม 2. ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มคดิ แนวทางแกไ้ ขปัญหา 1 เร่อื งจากประเดน็ ต่อไปนี้ 2.1 ปญั หาการเรียนรขู้ องนักเรยี น 1 เร่อื ง/กลุ่ม 2.2 ปัญหาด้านการจัดการเรียนการสอนของครู หรือเทคนิควิธีการสอนที่ครูควรพัฒนา จำนวน 1 เร่อื ง/กลมุ่ 3. จัดทำโครงการ/กจิ กรรม การสร้างชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี (PLC) ➢ กระบวนการของ PLC ข้นั ตอนที่ 1 Community สรา้ งทีมครู ขั้นตอนที่ 2 Practice จัดการเรียนรู้ เช่นการวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ ร่วมกันออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้ในการจดั ทำแผนการเรยี นรู้ เพ่ือแก้ปัญหา หรือพฒั นา และนำสกู่ ารปฏบิ ัติ โดยมีการเปิดห้องเรียน เพือ่ การสงั เกตการณ์สอน เครอื่ งมือในการประเมิน - แบบนเิ ทศ 01 แบบสงั เกตการณ์จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ขั้นตอนที่ 3 Reflection สะท้อนคิดเพอ่ื การพฒั นาการปฏบิ ัติ ขั้นตอนท่ี 4 Evaluation ประเมินเพือ่ พฒั นาสมรรถนะครู ขน้ั ตอนที่ 5 Network Development สร้างเครือขา่ ยการพฒั นา ➢ บทบาทหน้าท่ีของสมาชิกกลุ่มตามกระบวนการ PLC - Model Teacher หมายถงึ ครูผ้รู ับการนเิ ทศ หรือ ครผู สู้ อน - Buddy Teacher หมายถึง ครูค่นู เิ ทศ หรอื ครรู ่วมเรียนรู้ - Mentor หมายถงึ หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้ - Expert หมายถงึ ผู้เชีย่ วชาญ เช่น ครู คศ.3 นกั วิชาการ อาจารย์มหาวิทยาลัย ศึกษานเิ ทศก์ - Administrator หมายถึง ผูบ้ ริหารโรงเรยี น - Recorder หมายถึง ผู้บันทกึ รายงานการประชมุ 4. วัน เวลา สถานที่ ในการดำเนินงาน ระยะเวลา : ตัง้ แต่ วนั ท่ี 1 ธันวาคม พ.ศ. 2563 – 16 เมษายน พ.ศ. 2564 สถานท่ี : โรงเรยี นอนุบาลตราด 5. สรุปผลการดำเนินงาน ➢ ประเด็นด้านผู้เรยี น - นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและสามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการสอนบทเรียน ออนไลน์และจากเว็บไซตต์ ่างๆ ทีค่ รูแนะนำ ทำใหก้ ารจดั การเรยี นการสอนครอบคลมุ ตามเนื้อหาการเรยี นรู้ - นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีความกระตือรือร้นในการเรียนมากกว่าปกติ มีความตั้งใจใฝ่หา ความรู้ใหมๆ่ ตรงกับระบบการเรียนรทู้ เ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง โดยมีผสู้ อนเป็นเพยี งผแู้ นะนำ ทป่ี รึกษา

และแนะนำแหล่งความรู้ใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนผู้เรียนสามารถทราบผลย้อนกลับของการเรียน รู้ ความก้าวหน้าได้จาก E-Mail การประเมินผล การประเมินย่อย โดยใช้เว็บไซต์เป็นที่ทดสอบและการ ประเมินผลรวม ทีใ่ ช้การสอบแบบปกติในห้องเรียน เพ่อื เป็นการยืนยนั ว่าผู้เรยี นเรยี นจรงิ และทำข้อสอบจริง ไดห้ รือไม่อยา่ งไร - ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์และเครือข่าย อินเทอร์เน็ตในทางที่เหมาะสม เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวนักเรียน เปรียบเสมือนเป็นตัวกรองที่คอยช่วย ใหน้ ักเรยี นสามารถแยกแยะข่าวสารหรือข้อมูลท่มี ีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็วใหร้ ับรู้ได้อย่างมีคุณภาพ - นักเรียนมแี รงจูงใจในการเรียนและศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เรียนอยา่ งมคี วามสขุ และมปี ฏสิ ัมพันธ์ ระหว่างครกู บั นักเรียน และนักเรยี นกับนักเรยี นด้วยกนั เองเพ่ิมมากขึ้น - นกั เรยี นมีพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์หลายประการ เชน่ ได้พูดคุย ถกเถียง อย่างมีเหตุผลและยอมรับ ฟังความคดิ เห็นของผอู้ ื่นมากข้ึน ➢ ประเด็นดา้ นกิจกรรม - ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านสื่อเทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เป็นลักษณะการเรยี นรู้จากแหลง่ เรยี นรู้นอกชน้ั เรียนท่ที ำให้ผู้เรยี นสามารถเรยี นรู้ได้ทุกท่ีทุกเวลา - การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนออนไลนท์ ำให้การเรียนการสอนครอบคลมุ ตามเนื้อหา - ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านสื่อเทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เป็นลักษณะการเรยี นรูจ้ ากแหลง่ เรยี นรนู้ อกชน้ั เรยี นที่ทำให้ผเู้ รียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกทที่ ุกเวลา - ครูและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทำให้บรรยากาศการเรียนสอนดำเนินไป โดยเนน้ ผเู้ รยี นเป็นศูนยก์ ลางการเรยี นรู้ ➢ ประเด็นด้านครู - ครูจะทำหน้าเป็นผู้อำนวยที่คอยให้ความช่วยเหลือ คำปรึกษา และดึงศักยภาพของผู้เรียน ให้สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง สร้างแรงจงู ใจและแรงบันดาลใจในการเรียน ➢ ประเด็นส่ือการสอน - สอ่ื กิจกรรมและแหลง่ การเรียนรู้มคี วามถกู ตอ้ งเหมาะสมมปี ระสทิ ธิภาพ (ดา้ นคุณภาพ) - สื่อมคี วามเพยี งพอเหมาะสม (ดา้ นปริมาณ) - ผู้เรียน และผู้สอนสามารถเข้าถึงสื่อการเรียนการสอนได้ง่าย โดยจะใช้ web browser ใดก็ได้ ผู้เรียนสามารถเรียนจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใดก็ได้ และในปัจจุบันนี้การเข้าถึงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต กระทำไดง้ ่ายขึน้ มาก และยังมีค่าเช่อื มต่ออินเตอรเ์ น็ตท่ีมีราคาต่ำลงมากวา่ แต่ก่อนอีกด้วย - นักเรียนได้ใช้เครื่องมือที่ตนถนัดคือ เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตและ สังคมออนไลน์ เมื่อได้ใช้หรือทำอะไรที่ตนชอบหรือถนัด จึงทำให้ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้าเรียนด้วยตนเองได้ อยา่ งอตั โนมัติ ผู้เรยี นเกดิ การเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมเป็นไปตามทค่ี รตู ้องการให้เกดิ ขนึ้ ในตัวผ้เู รยี น

➢ ประเดน็ ด้านบรรยากาศ - การออกแบบบรรยากาศในหอ้ งเรียนแบบออนไลน์ เป็นสิ่งทสี่ ำคญั ทจี่ ะทำใหผ้ เู้ รียนให้ความสนใจ ใครร่ แู้ ละพร้อมทจ่ี ะร่วมพดู คุยแลกเปลีย่ นเรยี นรู้อย่างมสี ่วนรว่ มมากขึน้ 6. อภปิ รายผลการดำเนินงาน 6.1 ผลลัพธท์ ี่เกดิ จากกระบวนการ 1) มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ของสมาชิกเครอื ข่าย ท่เี ปน็ ประโยชนก์ ับครู และครูสามารถนำไปใชใ้ นการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียน ได้อย่างเป็นรปู ธรรม (สมาชิกเครือข่ายมกี ารนำไปใช้ได้อย่างชดั เจน) 2) มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ท่ีเกิดข้นึ ของสมาชิกเครือขา่ ยไปใช้ตลอดระยะท่ีดำเนนิ โครงการทุกคร้ังท่ีมีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้โดยสมาชิก ทกุ คน 3) ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มาอภิปรายเพือ่ แลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลกั เป็นผูส้ ะท้อนความคิดเกีย่ วกับความสำเร็จ จุดเดน่ และจุดท่ีต้องพัฒนาในการจัดการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 6.2 ผลลัพธ์ท่เี กดิ กบั ผู้เรียน / ครู / สมาชิกทีเ่ ขา้ รว่ มเครือข่าย PLC 1) ผู้เรียนได้การเรียนรู้ตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ทุกประการและมีความชัดเจน ทงั้ เชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนดีขึ้น และทำให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเกิดคุณลักษณะ อยา่ งชดั เจน 3) ผู้สอนได้รับความรู้และประสบการณ์ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาแผน การจัดการเรียนรู้ และผสู้ อนไดร้ ับนวัตกรรมและเรมิ่ วางแผนจดั ทำวิจัยปฏบิ ัตกิ ารในชนั้ เรียน 4) ผู้สอนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ และสามารถนำวัตกรรมการเรียนรู้ที่ได้รับจากการทำ วิจัยปฏบิ ตั ิการในชัน้ เรยี นไปใช้พัฒนาคุณภาพการจดั การเรียนรู้ 6.3 คุณคา่ ที่เกิดต่อวงการศึกษา 1) มีเครือข่ายที่ชัดเจน และการขยายเครือข่ายแล้วและมีความชัดเจน เป็นรูปธรรมและ มแี นวโนม้ การเกดิ เครือข่ายเพิ่มข้นึ 2) การร่วมกันรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ให้ผลการเรียนรู้ที่ต้องการให้เกิดข้ึน ในตวั นกั เรยี น โดยครทู เี่ ป็นสมาชกิ ในชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพทกุ คนวางเป้าหมายร่วมกนั

7. ผลทเ่ี กิดจากการดำเนินงาน 7.1 ไดน้ วัตกรรมในการแก้ไขปญั หา 7.2 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรยี นดขี ้ึน หรอื เป็นไปตามเกณฑท์ ต่ี กลงกนั ไว้ 7.3 พฤตกิ รรมของนกั เรยี นทีม่ ีปญั หาเปลยี่ นไปในทางทด่ี ีข้ึนตามขอ้ ตกลงทีต่ ้ังไว้ 7.4 นำไปส่กู ารอบรมคปู องพฒั นาครู และรวบรวมสง่ เพ่ือเก็บเปน็ หลักฐานในการรายงานต่อไป 8. รอ่ งรอย/หลักฐาน 8.1 แผนการจัดการเรียนรู้ พรอ้ มบนั ทึกหลังการสอน 8.2 ภาพการพูดคุย ปรกึ ษากับสมาชิกกลมุ่ PLC 8.3 ภาพกจิ กรรมการเรียนการสอน 8.4 แบบสงั เกตการณ์จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน 8.5 ภาพการนเิ ทศการสอน 9. บทเรียนทไี่ ด้จากการดำเนินงาน ครูผู้สอนได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่หลากหลายในห้องเรียน และพฤติกรรมของนักเรียนที่แตกต่างกนั ในแต่ละบุคคล รวมไปถึงเรียนรู้ที่จะหาแนวทางในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่แตกต่างกันผ่านการ อภปิ รายร่วมกนั กบั เพ่อื นครแู ละนักเรียน ชมุ ชนการเรยี นรวู้ ิชาชีพ (Professional Learning Community) เปน็ กระบวนการที่มีประโยชน์ และคุ้มค่า สะท้อนผลเชิงวิชาชีพ โดยการพูดคุยสนทนากันระหว่างสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้ ที่จะก่อให้เกิดผลทางบวกต่อการเรียนการสอนและคุณภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษา หรือช่วย พัฒนาการจัดการเรียนรแู้ ละส่งผลใหน้ ักเรียนมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสงู ขน้ึ 10. สิง่ ท่ีจะดำเนินการตอ่ ไป การจัดการเรียนการสอนออนไลน์มาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรียน การสอน เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมการสอนด้วยสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย น่าสนใจ โดยพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นแบบ distance learning การเรียน การสอนทางไกล ใช้สื่อการเรียนออนไลน์ เช่น Google Site, แอพพลิเคชั่นต่างๆ มาช่วยเพิม่ เตมิ จากการ เรยี นในห้องเรียนปกติและทำให้ผู้เรียนสามารถอ่านทบทวนเนื้อหาย้อนหลงั ได้และยงั เปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ รียน เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา จึงต้องการเผยแพร่เทคนิคในการดูแลและบริหารชั้นเรียนให้กับเพื่อน ครู ในชนั้ เรยี นอื่นๆ และผู้ทส่ี นใจตอ่ ไป 11. ปัญหา /อุปสรรค การพบปะพดู คยุ ระหว่างครผู สู้ อนประจำวชิ าไม่ค่อยต่อเนื่องเท่าท่ีควร เนือ่ งด้วยคาบสอนตรงกัน และในบางคร้ัง ครผู สู้ อนมีภาระนอกเหนืองานสอนมาก จึงไม่สะดวกในการแลกเปลย่ี นเรียนรู้

12. ขอ้ เสนอแนะ ควรมีเครือข่ายออนไลน์เป็นสื่อกลางในการติดต่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างครูที่ทำงาน ร่วมกัน เช่น กลุ่ม Line หรือ Facebook และควรมีการวิจัยเพื่อหารูปแบบของบทเรียนออนไลน์ท่ี เหมาะสมกับการเรียนการสอนในระดบั ช้ันต่าง ๆ เพอ่ื รองรับการเรียนการสอน เพราะผูเ้ รียนแต่ละช่วงวัย มีด้านความรแู้ ละทักษะทแ่ี ตกต่างกัน

แบบบันทึกกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นอนุบาลตราด ชอ่ื กลุ่ม “PLC com science come together” ครง้ั ท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2/2563 วัน/เดือน/ปี : 4 ธนั วาคม 2563 เริ่มดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ ส้ินเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั สน้ิ 2 ชั่วโมง กิจกรรมครง้ั น้อี ย่คู วามสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเคร่ืองหมาย ✓ลงในชอ่ ง )  ขนั้ ที่ 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขนั้ ที่ 2 ปฏิบตั ิและสังเกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขน้ั ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูที่เข้าร่วมกจิ กรรม 8 คน โดยมรี ายชือ่ และบทบาทต่อกิจกรรม ดังน้ี ท่ี ชือ่ -สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือช่ือ 1. นางสาวรงุ่ ทวิ า หาดอ้าน รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี นฯ 2. นางสชุ าดา ใจชื่น ผ้เู ชย่ี วชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มสี ังข์ หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสริฐทพิ ย์ ครูรว่ มเรยี นรู้ 5. นางสาวสวุ ภา เรอื งศิลป์ ครรู ่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวณี นิ ครูรว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวศศิธร บัวขาว ครูรว่ มเรยี นรู้ 8. นายจีรเดช ชา่ งต่อ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม รวมกลุ่มเพ่ือจดั ตั้งกลุ่ม PLC จัดทำปฏิทินการดำเนินการงานชมุ ชนการเรยี นรู้วชิ าชีพ (PLC) 2. ประเดน็ ปญั หา/สง่ิ ที่ต้องการพฒั นา (เน้นที่หอ้ งเรยี น) สร้างทีมครู รวมกลุ่มเพื่อจัดตั้งกลุ่ม PLC จัดทำปฏิทินการดำเนินการงาน สมาชิกพูดคุยในเรื่องของ ระเบียบการจัดต้ังชุมชนการเรียนรู้วชิ าชพี (PLC) และแบง่ หน้าท่ีให้ครูแต่ละท่านชว่ ยกนั ดำเนนิ การ เพ่ือนำเสนอ ขออนมุ ัติจัดตง้ั กลมุ่ กบั ฝา่ ยบริหารของโรงเรียนอนบุ าลตราดต่อไป 3. สมาชกิ ในกลุม่ นำเสนอปัญหา - 4. สมาชกิ เลือกปัญหา ที่จะนำมาแก้ไขรว่ มกัน จำนวน 1 ปญั หา - 5. สมาชิกรว่ มกนั วเิ คราะห์สาเหตุของปญั หา -

6. ผลท่ไี ดจ้ ากการจดั กิจกรรม หัวหน้ากลุ่มสาระฯ มอบหมายให้ครูร่วมเรียนรู้แต่ละคนคิดแนวทางแก้ไขปัญหา 1 เรื่องจากประเด็น ต่อไปนี้ ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนหรือครูคนละ 1 เรื่อง หรือเทคนิควิธีการสอนที่ครูควรพัฒนา จำนวน 1 เรอ่ื ง เพื่อนำมาวิเคราะห์ปัญหาและคัดเลือกปัญหาในการประชุมครง้ั ต่อไป และจัดทำกิจกรรมการสร้างชุมชน การเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) ไปศกึ ษาแนวทางการแก้ไขปัญหาจากงานวิจัย หรอื รูปแบบที่มีผู้พัฒนาแล้ว เพื่อนำ มาร่วมประชุมครง้ั ต่อไป และนำผลการประชมุ ไปบนั ทกึ เพื่อเกบ็ เปน็ หลักฐานในการรายงานต่อไป เลิกประชุมเวลา 17.30 น. ลงชื่อ ผูบ้ ันทกึ (นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทิพย์) ลงชื่อ . ลงช่ือ ผรู้ บั รอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มสี งั ข์) (นางสาวรุ่งทิวา หาดอ้าน) หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผู้อำนวยการโรงเรียน รกั ษาการในตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลตราด

แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนอนบุ าลตราด ชอ่ื กลุ่ม “PLC com science come together” คร้งั ท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2/2563 วนั /เดอื น/ปี : 9 ธนั วาคม 2563 เรม่ิ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสรจ็ สิ้นเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทัง้ สิ้น 2 ชวั่ โมง กิจกรรมครง้ั นีอ้ ยู่ความสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study) (ทำเคร่ืองหมาย ✓ลงในชอ่ ง )  ขนั้ ที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ข้ันที่ 2 ปฏบิ ตั แิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขนั้ ที่ 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู เ่ี ข้ารว่ มกิจกรรม 8 คน โดยมีรายชอ่ื และบทบาทต่อกจิ กรรม ดังน้ี ที่ ชอ่ื -สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือช่อื 1. นางสาวร่งุ ทิวา หาดอา้ น รองผูอ้ ำนวยการโรงเรียนฯ 2. นางสุชาดา ใจช่นื ผู้เชย่ี วชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มีสงั ข์ หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสริฐทพิ ย์ ครูร่วมเรียนรู้ 5. นางสาวสุวภา เรอื งศลิ ป์ ครูรว่ มเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวีณิน ครูร่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บัวขาว ครูร่วมเรียนรู้ 8. นายจรี เดช ชา่ งต่อ ครรู ว่ มเรียนรู้ 1. งาน/กิจกรรม การคน้ หาปัญหา และหาสาเหตุของปัญหา 2. ประเด็นปัญหา/สงิ่ ทต่ี ้องการพฒั นา (เนน้ ที่หอ้ งเรียน) พูดคุยในเรื่องของปัญหาของเด็กที่เกิดจากตัวครู ซึ่งไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กทั้งห้อง เป็นเฉพาะกลุ่มก็ได้ โดยการสรุปเป็นปัญหาเดียวกันในกลุ่ม เป็นปัญหาเร่งด่วนที่ควรแก้ไขก่อน เพื่อลดความโดดเดี่ยวในการทำงาน และไมใ่ ชป่ ัญหาจากความไมพ่ ร้อมของสื่อ วัสดอุ ุปกรณ์ของหอ้ งเรียน 3. สมาชิกในกลุ่มนำเสนอปัญหา เนื่องจากในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นั้น ทำให้ ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติ ทั้งน้ีเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ และพัฒนาความรู้ความสามารถ ครบตามหลักสูตรในช่วงโรงเรียนปิดในสถานการณ์แพร่ระบาดของ COVID-19 สมาชิกในกลุ่มจึงมีความเห็น ตรงกนั ว่าควรนำปญั หาดังกล่าวมาปรับปรงุ รปู แบบการจดั การเรียนการสอนในรายวิชาของตนเอง

4. สมาชิกเลือกปญั หา ท่จี ะนำมาแกไ้ ขรว่ มกัน จำนวน 1 ปัญหา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ไมส่ ามารถจัดการเรียนการสอนไดต้ ามปกติ 5. สมาชิกรว่ มกันวเิ คราะห์สาเหตขุ องปัญหา โดยสาเหตุของปัญหาที่เกิดจากข้อสรุปของกลุ่ม สาเหตุเกิดจากกระบวนการจัดการเรียนการสอนและ สาเหตุไมใ่ ช่ปญั หาเกดิ จากความไม่พร้อมของสื่อ วัสดุอปุ กรณข์ องหอ้ งเรียน - ผลกระทบอันเน่ืองมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ทำให้ครูผู้สอนและนกั เรียน ต้องปรับตัวสสู่ ภาวะการเรียนรทู้ ไี่ ม่คุ้นเคย นำไปสภู่ าระทเี่ พิม่ มากขน้ึ ทงั้ ในสว่ นผูส้ อนและผู้เรียน - การใช้เทคโนโลยีในการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ การเลือกวธิ ผี ลติ สื่อและเผยแพร่ออนไลน์ ในหลาย ช่องทางภายในเวลาจำกัด เชน่ วิดโี อสาธติ และการสอนสดผา่ นโปรแกรม Zoom - การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบทางไกลผ่าน DLTV และการจัดการเรียนการสอนด้วยวีดิทัศน์ การสอนโดยครูต้นแบบและระบบออนไลน์ด้วยเครื่องมือการเรียนรู้ตามความเหมาะสมและบริบทของ สถานศึกษา - จัดให้มีการเรียนการสอนตามหลักสูตรด้วยสื่อและช่องทางการสื่อสารที่มีอยู่ สามารถส่งถึงผู้เรียน ในแตล่ ะกลมุ่ เป้าหมายได้ 6. ผลที่ได้จากการจัดกิจกรรม หัวหน้ากลุ่มสาระฯ มอบหมายให้ครูร่วมเรียนรู้ไปศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาจากสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และนโยบายการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อนำมาร่วมประชุม ครัง้ ต่อไป และนำผลการประชมุ ไปบันทกึ เพอื่ เกบ็ เป็นหลักฐานในการรายงานตอ่ ไป เลกิ ประชมุ เวลา 17.30 น. ลงชอ่ื ผูบ้ นั ทึก (นางสาวศศิธร บวั ขาว) ลงชอ่ื . ลงชื่อ ผรู้ ับรอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มีสงั ข์) (นางสาวรงุ่ ทวิ า หาดอ้าน) หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผูอ้ ำนวยการโรงเรียน รกั ษาการในตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลตราด

แบบบนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนอนบุ าลตราด ชอื่ กลุ่ม “PLC com science come together” คร้งั ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2/2563 วัน/เดอื น/ปี : 18 ธนั วาคม 2563 เร่ิมดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสร็จส้ินเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทงั้ สิ้น 2 ชว่ั โมง กิจกรรมคร้ังน้ีอยคู่ วามสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครือ่ งหมาย ✓ลงในชอ่ ง )  ขน้ั ท่ี 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ที่ 2 ปฏิบัตแิ ละสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)  ข้ันท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูท่ีเขา้ ร่วมกจิ กรรม 8 คน โดยมีรายชือ่ และบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังนี้ ท่ี ชือ่ -สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชอ่ื 1. นางสาวรุง่ ทิวา หาดอ้าน รองผู้อำนวยการโรงเรยี นฯ 2. นางสุชาดา ใจชืน่ ผูเ้ ชยี่ วชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มีสังข์ หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสริฐทิพย์ ครูรว่ มเรียนรู้ 5. นางสาวสวุ ภา เรืองศิลป์ ครรู ่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวีณิน ครรู ่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บัวขาว ครรู ว่ มเรยี นรู้ 8. นายจีรเดช ชา่ งต่อ ครรู ่วมเรียนรู้ 1. งาน/กิจกรรม แนวทางแก้ไขปัญหา และ การออกแบบกิจกรรม 2. ประเดน็ ปญั หา/สิง่ ทต่ี ้องการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ไมส่ ามารถจดั การเรยี นการสอนได้ตามปกติ 3. สมาชกิ ในกลุ่มนำเสนอแนวทางแก้ไขปญั หา ร่วมศกึ ษาปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา หรือกระบวนการท่ีจะใชใ้ นการแก้ไขปญั หาดังนี้ 1) ครูภารดี พรประเสริฐทิพย์ ครูควรมีการสืบเสาะแสวงหาสื่อการเรียนการสอนทางไกล หรือสื่อการ เรยี นการสอนออนไลน์ โดยใช้งบประมาณใหน้ อ้ ยที่สุด และให้มีประสิทธภิ าพมากทส่ี ดุ 2) ครูสุวภา เรืองศิลป์ ครูผู้สอนต้องพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการเรียนรู้รูปแบบใหม่ ที่สำคัญครูผู้สอนต้อง เขา้ ใจ ตอ้ งเรียนรู้ และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำมาประยุกตใ์ ชร้ ว่ มกับการจดั การศึกษา

3) ครูสุชาดา ครูควรนำเทคนิคการจัดการเรียนรูโ้ ดย ใชเ้ ทคโนโลยีต่าง ๆ ประกอบการเรยี น เชน่ บทเรยี นสำเรจ็ รปู บทเรยี นออนไลน์ 4) ครูศศิธร บัวขาว เสนอแนะแนวทางการเลือกใช้สื่อการเรียนการสอนต้องมีความสะดวกใช้และ สอดคล้องกับความสามารถของผู้เรียน เช่น การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบทางไกลผ่าน DLTV และการจัดการเรียนการสอนด้วยวีดิทัศน์การสอนโดยครูต้นแบบและระบบออนไลน์ด้วยเครื่องมือ การเรยี นรู้ตามความเหมาะสมและบรบิ ทของสถานศกึ ษา 5) ครูธนวรรณ ปัญจวีณิน เสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา ครูควรพิจารณาปรับหรือเพิ่มเติมสาระ/ สื่อ/แบบฝึก/มอบหมายงานเพ่มิ ใหเ้ หมาะสม 6) ครูธิพาภรณ์ มีสังข์ เสนอแนะการออกแบบสื่อการเรียนการต้องคำนึงถึง จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรียนการสอน เพอ่ื การออกแบบสอ่ื ทม่ี ปี ระสิทธิภาพ 7) ครจู รี เดช ชา่ งต่อ หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ มอบหมายให้ครูร่วมเรยี นรู้ไปศึกษาวิธีการนำเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ในการเรียนการสอน ซึ่งจะช่วยให้การนำเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนที่มีความน่าสนใจขึ้น และสร้างการมสี ่วนรว่ มระหว่างนักเรียน และครไู ด้มากขน้ึ แมใ้ นขณะท่ที ุกคนตอ้ งอาศยั ภายในท่ีพัก ของตนเองในช่วงสถานการณ์ COVID-19 เพื่อให้แน่ใจได้ว่านักเรียนจะไม่พลาดการเรียนรู้ของ พวกเขาและช่วยให้เส้นทางการเรยี นของนักเรยี นสามารถเดนิ หน้าต่อไปได้ 4. สมาชกิ รว่ มกนั ออกแบบกิจกรรมในการแกไ้ ขปัญหา การพฒั นารปู แบบการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อให้นักเรียนไดเ้ รียนรู้ และพัฒนาความรู้ความสามารถครบตามหลักสตู ร โดยการสร้างสื่อการเรียน การสอนออนไลน์ 5. ประเด็น/ ความรแู้ ละขอ้ เสนอแนะท่ไี ด้รบั จากการแลกเปลีย่ นเรยี นร้คู รงั้ นี้ ปัจจุบันเทคโนโลยีดิจิทัลได้เข้ามามีบทบาทสำคัญและเปลี่ยนแปลงการดำเนินชีวิตของผู้คน ส่งผล กระทบทำให้หลายอาชีพถูกดิสรัปชัน (Disruption) ทำให้ในด้านการจัดการศึกษามีความจำเป็นท่ี ต้องนำ เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาเป็นเครื่องมือ เพื่อลดข้อจำกัด และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนให้มาก ยิง่ ข้ึน อีกทัง้ ยังช่วยสง่ ผลให้นักเรยี นที่อยหู่ า่ งไกล สามารถมโี อกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา 6. ผลที่ได้จากการจัดกจิ กรรม นำผลการประชมุ ไปบันทกึ เพอื่ เกบ็ เป็นหลักฐานในการรายงานตอ่ ไป เลกิ ประชมุ เวลา 17.30 น. ลงช่อื ผู้บันทึก (นางสาวธนวรรณ ปญั จวณี ิน) ลงชือ่ . ลงช่ือ ผู้รับรอง (นางสาวธิพาภรณ์ มีสังข์) (นางสาวรุ่งทิวา หาดอา้ น) หัวหน้ากลุ่มสาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี น รักษาการในตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลตราด

แบบบันทึกกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นอนบุ าลตราด ชือ่ กลุ่ม “PLC com science come together” ครงั้ ที่ 4 ภาคเรยี นที่ 2/2563 วัน/เดือน/ปี : 25 ธันวาคม 2563 เร่ิมดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ สนิ้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้งั สนิ้ 2 ชว่ั โมง กจิ กรรมครงั้ น้อี ยคู่ วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทำเครือ่ งหมาย ✓ลงในช่อง )  ขั้นที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ที่ 2 ปฏิบตั แิ ละสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขนั้ ที่ 3 สะท้อนความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูท่ีเขา้ รว่ มกิจกรรม 8 คน โดยมีรายช่ือและบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังน้ี ที่ ชือ่ -สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชอื่ 1. นางสาวรงุ่ ทิวา หาดอ้าน รองผ้อู ำนวยการโรงเรียนฯ 2. นางสุชาดา ใจชืน่ ผเู้ ชี่ยวชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มีสงั ข์ หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสริฐทพิ ย์ ครรู ว่ มเรียนรู้ 5. นางสาวสวุ ภา เรืองศลิ ป์ ครูร่วมเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวีณนิ ครรู ว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บัวขาว ครรู ว่ มเรยี นรู้ 8. นายจรี เดช ช่างตอ่ ครูร่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กิจกรรม กิจกรรมตัดสนิ ใจเลือกรปู แบบ/วิธีการ/นวัตกรรมในการแกป้ ญั หา 2. ประเดน็ ปญั หา/ส่ิงท่ีต้องการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ไมส่ ามารถจดั การเรยี นการสอนไดต้ ามปกติ 3. สมาชิกในกลุ่มร่วมกนั จดั ทำแผนกจิ กรรม จากการประชุมกลุ่มในกิจกรรม PLC ในสัปดาห์ที่ผ่านมาได้หัวข้อการพัฒนานักเรียน คือ การพัฒนา รูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID- 19) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ และพัฒนาความรู้ความสามารถครบตามหลักสูตร โดยการสร้างสื่อการเรียน การสอนออนไลน์ จึงได้มกี ารวางแผนงาน เพ่อื จัดทำแผนกจิ กรรมดังนี้

1) การวางแผน (Planning) การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือการ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใดในการเรียนการสอน และศึกษาแนวทางการเรียนการสอนล่วงหน้าผ่านเว็บไซต์ www.dltv.ac.th 2) การเตรียมการ (Preparation) เมื่อได้วางแผนเลือกใช้ส่ือการสอนแลว้ ข้นั ต่อมาคือการเตรียมการส่ิง ต่างๆ เพื่อให้การใช้สื่อการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและตรงตามวัตถุประสงค์ ก่อนใช้สื่อการสอน ผู้สอน ควรเตรียมความพร้อมในสง่ิ ต่าง ๆ ดังนี้ 2.1 การเตรียมความพร้อมของผสู้ อน 2.2 การเตรียมความพร้อมใหผ้ ู้เรียน 2.3 การเตรยี มความพรอ้ มของส่อื และอปุ กรณห์ รือเครื่องมือท่ีใช้รว่ มกนั 2.4 การเตรยี มความพรอ้ มของสภาพแวดลอ้ มและหอ้ งสอน 3) ศึกษาเครื่องมือสำหรับพัฒนาสื่อการสอนการพัฒนาสื่อการสอนผ่านระบบเครือข่าย ซึ่งเกี่ยวข้องกบั การสร้างโปรแกรมในการนำเสนอเนื้อหาบทเรียน ในรูปแบบของข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง ให้ สอดคล้องกบั เนอ้ื หาและวตั ถปุ ระสงค์ท่กี ำหนดไว้ 4) ตรวจสอบความกา้ วหนา้ ของนักเรียนแตล่ ะคนในความรแู้ ละทักษะแต่ละด้าน 5) ครูผสู้ อนนำผลการประเมินและการวิจารณข์ องครูรว่ มเรียนรู้ มาปรับปรงุ และพฒั นาให้ดขี ึ้น 4. ประเด็น/ ความรแู้ ละขอ้ เสนอแนะทไ่ี ด้รบั จากการแลกเปลีย่ นเรยี นรคู้ รง้ั นี้ การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ New Normal ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 และสถานการณ์ปกติ โดยการผสมผสานการเรียนออนไลน์ การเรียนในชั้นเรียน ร่วมกับการจัดการเรียนรู้ รูปแบบอน่ื สามารถวัดและประเมนิ ผลลัพธ์การเรียนรู้ 5. ผลทไี่ ดจ้ ากการจดั กิจกรรม นำผลการประชมุ ไปบนั ทึกเพอ่ื เก็บเปน็ หลกั ฐานในการรายงานต่อไป เลิกประชุมเวลา 17.30 น. ลงชอ่ื ผบู้ นั ทึก (นางสาวสวุ ภา เรอื งศิลป์) ลงชื่อ . ลงช่อื ผู้รับรอง (นางสาวธิพาภรณ์ มสี งั ข)์ (นางสาวรุ่งทิวา หาดอ้าน) หัวหนา้ กล่มุ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผู้อำนวยการโรงเรียน รกั ษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลตราด

แบบบนั ทกึ กจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนอนุบาลตราด ช่ือกลุ่ม “PLC com science come together” ครง้ั ท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 วนั /เดือน/ปี : 30 ธนั วาคม 2563 เร่ิมดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสร็จสิน้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทัง้ สนิ้ 2 ช่วั โมง กจิ กรรมครงั้ นอี้ ยคู่ วามสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทำเคร่อื งหมาย ✓ลงในช่อง )  ขนั้ ท่ี 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขั้นท่ี 2 ปฏิบัตแิ ละสังเกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขน้ั ที่ 3 สะท้อนความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ่เี ข้ารว่ มกจิ กรรม 8 คน โดยมีรายชอ่ื และบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้ ที่ ชอ่ื -สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือช่อื 1. นางสาวรุ่งทิวา หาดอ้าน รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนฯ 2. นางสชุ าดา ใจชื่น ผู้เชีย่ วชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มีสังข์ หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทิพย์ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 5. นางสาวสวุ ภา เรืองศลิ ป์ ครูร่วมเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวีณนิ ครูร่วมเรียนรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บวั ขาว ครูร่วมเรียนรู้ 8. นายจีรเดช ชา่ งต่อ ครูร่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กิจกรรม การออกแบบกจิ กรรมการแก้ปัญหา 2. ประเด็นปัญหา/สงิ่ ทตี่ ้องการพฒั นา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำใหไ้ ม่สามารถจดั การเรยี นการสอนไดต้ ามปกติ 3. สมาชิกในกลุ่มร่วมกันจดั ทำแผนกิจกรรม จากการประชุมกลุ่มในกิจกรรม PLC ได้คัดเลือก ครูศศิธร บัวขาว เป็นครูต้นแบบ (Model Teacher) ในการให้คำแนะนำการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ และพัฒนาความรู้ความสามารถครบตามหลักสูตร โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ จึงได้มีการร่วมวางแผนงาน เพื่อจัดทำและปรับปรุงแผนการจัดการ เรยี นรูร้ ่วมกัน ดงั น้ี

1) คณะครูผู้เข้าร่วมประชุม ได้ศึกษาขั้นตอนวิธีการจากครูต้นแบบ ร่วมกันแสดงความคิดเห็น พูดคุย เพื่อนำไปจดั ทำและปรบั ปรงุ แผนการจดั การเรยี นรใู้ นรายวชิ าของตนเอง 2) คณะครูร่วมแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ถงึ วธิ ีการข้นั ตอน เพ่อื ดำเนนิ การในข้ันต่อไป 3) คณะครูแต่ละท่านได้ร่วมกันออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอน ออนไลน์ไปปรบั ใช้ในรายวชิ าของตนเอง 4) รว่ มกันกำหนดบทบาทสมาชกิ ในการสงั เกตการณท์ ดลองใช้รูปแบบกจิ กรรม 5) คณะครูมีการนัดหมาย เพื่อไปสังเกตการณ์การสอนของครูต้นแบบในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนโดยการสรา้ งส่ือการเรยี นการสอนออนไลน์ไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน และนำผลท่ีได้จาก การจัดกจิ กรรมมาอภปิ รายและสรุปผลรว่ มกัน เพอ่ื หาแนวทางในการปรับปรงุ และพัฒนาต่อไป 4. ประเด็น/ ความรูแ้ ละขอ้ เสนอแนะท่ีไดร้ บั จากการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ครงั้ น้ี สรุปความรู้และข้อเสนอแนะที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในครั้งนี้คือ ในส่วนของแพลตฟอร์มออนไลน์ ที่สามารถนำมาปรับใช้ ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มที่เปิดให้ใช้ฟรี มีทั้งแบบแอพพลิเคชั่นและเว็บไซต์ คุณครูสามารถสร้าง คลาสออนไลน์ แบบทดสอบ สรา้ งและแจกจ่ายการบ้าน ตดั เกรด ส่อื สารกบั นกั เรยี นและผูป้ กครองได้ เมนูการใช้งาน คล้ายคลงึ กับการใช้ผลิตภณั ฑ์อ่นื ๆ ของ Google ซ่ึงถ้าผใู้ ช้คุน้ เคยอยู่แล้วจะยิ่งเข้าใจงา่ ย นอกจากนีย้ ังมี template เอกสารประกอบการเรียนวิชาต่าง ๆ ให้คุณครูมาเลอื กใช้ได้ด้วย 5. ผลทไ่ี ดจ้ ากการจดั กจิ กรรม นำผลการประชมุ ไปบันทกึ เพ่ือเกบ็ เป็นหลักฐานในการรายงานต่อไป เลกิ ประชมุ เวลา 17.30 น. ลงช่อื ผบู้ ันทึก (นายจีรเดช ชา่ งตอ่ ) ลงช่ือ . ลงช่ือ ผู้รบั รอง (นางสาวธิพาภรณ์ มสี ังข์) (นางสาวรงุ่ ทวิ า หาดอ้าน) หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี น รักษาการในตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนอนุบาลตราด

แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนอนุบาลตราด ช่อื กลุ่ม “PLC com science come together” ครงั้ ที่ 6 ภาคเรยี นที่ 2/2563 วัน/เดอื น/ปี : 8 มกราคม 2564 เร่ิมดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จส้นิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทั้งสน้ิ 2 ช่ัวโมง กิจกรรมคร้งั นอ้ี ยู่ความสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทำเคร่อื งหมาย ✓ลงในช่อง )  ขน้ั ท่ี 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ที่ 2 ปฏบิ ตั แิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขัน้ ที่ 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูทเ่ี ขา้ ร่วมกิจกรรม 8 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทต่อกิจกรรม ดังน้ี ท่ี ชือ่ -สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือชอ่ื 1. นางสาวรุ่งทวิ า หาดอา้ น รองผู้อำนวยการโรงเรยี นฯ 2. นางสุชาดา ใจชื่น ผู้เช่ยี วชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มสี ังข์ หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสริฐทพิ ย์ ครูรว่ มเรยี นรู้ 5. นางสาวสุวภา เรืองศิลป์ ครูรว่ มเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวณี ิน ครูร่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวศศิธร บัวขาว ครูรว่ มเรียนรู้ 8. นายจีรเดช ช่างตอ่ ครรู ่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กิจกรรม การออกแบบกิจกรรมตามวธิ ีการ/นวัตกรรมที่กลุม่ เลือก 2. สมาชิกในกลุ่มร่วมกันจัดทำและปรับปรุงแผนการจดั การเรยี นรู้ จากปัญหาที่สำคัญที่สุดของกลุ่ม คือ “ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติ” สมาชิกในกลุ่มจึงร่วมกันนำเสนอองค์ประกอบของนวัตกรรม กำหนดทิศทางและแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกัน โดยใช้วิธีเดียวกันซึ่งสมาชิกในกลุ่มร่วมกันตัดสินใจเลือกวิธีการแก้ปัญหา คือ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ และพัฒนาความรู้ความสามารถครบ ตามหลักสูตร จึงได้มีการร่วมจัดทำและปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาของตนเองร่วมกัน โดยมีขั้นตอน การดำเนินการ ดงั นี้

1) กำหนดชื่อหน่วยการเรยี นให้สอดคล้องกับประเดน็ ท่ีจะแกป้ ัญหา 2) กำหนดขอบเขตของเนอ้ื หาให้สอดคล้องกบั ประเด็นท่จี ะแก้ปญั หา 3) สร้างแผนการจัดการเรยี นรู้เฉพาะหนว่ ยการเรยี นทใี่ ชน้ วัตกรรม 4) ทดลองนวัตกรรมใช้กบั นักเรียน และรายงานการสรา้ งสอื่ นวัตกรรม 5) สมาชกิ ในกลมุ่ PLC นดั หมายวนั และเวลาในการนำส่อื นวัตกรรม เทคโนโลยใี ห้ผู้นิเทศ/ ผ้เู ชย่ี วชาญทำการนิเทศ/ตรวจสอบ เพอ่ื แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ประสบการณ์ในการสร้าง 6) บันทึกผลการทดลองใชส้ อ่ื นวัตกรรมตามแผนการจดั การเรียนรู้ 7) สะท้อนผลการใชส้ อื่ นวตั กรรมในการแก้ปัญหา 8) สรปุ ผลการเข้าร่วมชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี 9) จากการใช้กระบวนการ PLC แกป้ ญั หา นำไปสรู่ ายงานการวจิ ยั ในชนั้ เรยี น 4. ประเดน็ / ความร้แู ละขอ้ เสนอแนะท่ีได้รบั จากการแลกเปลีย่ นเรยี นรคู้ รั้งน้ี ศึกษาทฤษฏีทเ่ี กี่ยวข้อง สมาชกิ ในกลมุ่ รว่ มกนั เสนอแนะทฤษฏ/ี งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) การเรียนการสอนแนวใหม่เป็นการนำแนวคิด วิธีการ กระบวนการหรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ มาใช้ในการ จัดการเรียนรู้ ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพตรงตามเป้าหมาย ของหลักสูตร ซึ่งจะช่วยให้การศึกษาและการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถ เกดิ การเรียนรู้ได้อยา่ งรวดเรว็ มปี ระสิทธผิ ลสูงกว่าเดิม เกดิ แรงจงู ใจในการเรียนดว้ ยนวัตกรรมเหล่าน้ัน และประหยัดเวลาในการเรยี นได้อีกด้วย 2) ส่ือการเรียนการสอนออนไลน์ชว่ ยกระตุ้นความสนใจและส่งเสริมทักษะการเรียนร้ดู ้วยตนเองแก่ผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และเป็นสื่อที่มีบทบาทสำคัญ ในการจดั กระบวนการเรียนรู้ 3) การจดั การเรียนการสอนออนไลน์เปน็ อีกวิธีการหนงึ่ ที่ถูกนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพ่ิมศักยภาพ ในการจัดการเรียนการสอน เนื่องจากอำนวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมการสอน ด้วยสื่อ การเรียนรู้ที่หลากหลาย สามารถอ่านทบทวนเนื้อหาย้อนหลังได้และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียน เข้าถึงแหลง่ เรยี นรูไ้ ด้ทุกที่ ทุกเวลา 5. ผลท่ีได้จากการจดั กจิ กรรม นำไปสู่การอบรมพัฒนาครู และนำผลการประชุมไปบันทึกเพื่อเก็บเป็นหลักฐานในการรายงานต่อไป ทั้งนี้ได้นัดหมายวิธีการที่จะดำเนินการต่อไปในครั้งต่อไป คือ การจัดส่งแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะ หนว่ ย การเรียนท่จี ะดำเนนิ การใชน้ วตั กรรม เลิกประชุมเวลา 17.30 น. ลงช่อื .......................................................... ผบู้ ันทึก (นางสาวศศธิ ร บัวขาว) ลงช่ือ . ลงชอื่ ผูร้ บั รอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มีสงั ข์) (นางสาวร่งุ ทิวา หาดอ้าน) หัวหน้ากลุม่ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผู้อำนวยการโรงเรียน รักษาการในตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลตราด

แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนอนุบาลตราด ชื่อกลุ่ม “PLC com science come together” ครง้ั ที่ 7 ภาคเรยี นที่ 2/2563 วนั /เดือน/ปี : 15 มกราคม 2564 เริ่มดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ สิน้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทัง้ สิน้ 2 ชั่วโมง กจิ กรรมครั้งนี้อยู่ความสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทำเครอื่ งหมาย ✓ลงในชอ่ ง )  ขนั้ ท่ี 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขนั้ ท่ี 2 ปฏิบตั ิและสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขัน้ ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูทีเ่ ข้ารว่ มกจิ กรรม 8 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังนี้ ที่ ชื่อ-สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือชอื่ 1. นางสาวรงุ่ ทวิ า หาดอ้าน รองผู้อำนวยการโรงเรียนฯ 2. นางสชุ าดา ใจชืน่ ผูเ้ ชย่ี วชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มสี ังข์ หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทิพย์ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 5. นางสาวสุวภา เรืองศิลป์ ครูรว่ มเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวีณิน ครรู ่วมเรียนรู้ 7. นางสาวศศิธร บวั ขาว ครูรว่ มเรียนรู้ 8. นายจีรเดช ชา่ งต่อ ครรู ่วมเรียนรู้ 1. งาน/กิจกรรม แลกเปลี่ยนเสนอแนะ (นำเสนอกิจกรรมการแก้ปัญหาให้ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้มีประสบการณ์ ใหข้ ้อเสนอแนะ) 2. สมาชิกในกลุ่มร่วมกันจัดทำและปรบั ปรุงแผนการจดั การเรยี นรู้ จากการประชุมกลุ่มในกิจกรรม PLC ได้คัดเลือก ครูศศิธร บัวขาว เป็นครูผู้สอนหลัก (Model Teacher) เพื่อให้คำแนะนำในการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ ซึ่งในคร้ังนี้ได้มีการนัดหมายจัดส่งแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะหน่วยการเรียนที่จะดำเนินการใช้นวัตกรรม เพื่อท่ี สมาชิกในกลุ่มจะได้ร่วมกันตรวจสอบ สังเคราะห์ และปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ จึงได้มีการร่วมวางแผนงาน ดังน้ี 1. สมาชิกผู้เข้าร่วมประชุม ได้ศึกษาขั้นตอนวิธีการจากครูผู้สอนหลัก ร่วมกันแสดงความคิดเห็น พูดคุย เพอื่ นำไปจดั ทำและปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ของตนเอง 2. สมาชกิ ในกลมุ่ รว่ มแลกเปลย่ี นเรียนรู้ ถึงวิธกี ารขั้นตอน เพอื่ ดำเนินการในขั้นต่อไป

3. สมาชิกในกลุ่มแต่ละท่านไดร้ ว่ มกันออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสรา้ งเน้ือหาและสร้างสื่อ การเรยี นการสอนออนไลน์ ไปปรับใชใ้ นรายวชิ าของตนเอง 4. ร่วมกนั กำหนดบทบาทสมาชิกในการสังเกตการณ์ทดลองใช้รูปแบบกิจกรรม 5. สมาชิกในกลุ่มมีการนัดหมาย เพื่อไปสังเกตการณ์การสอนของครูผู้สอนหลักในการพัฒนารูปแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างเนื้อหาและสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ และนำผลที่ได้ จากการจดั กจิ กรรมมาอภปิ รายและสรุปผลร่วมกัน เพอ่ื หาแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาต่อไป 3. ประเด็น/ความร้แู ละข้อเสนอแนะท่ีไดร้ บั จากการแลกเปลีย่ นเรียนรูค้ รงั้ น้ี ชื่อสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยี ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นไดเ้ รยี นรู้ และพัฒนาความรู้ความสามารถครบตามหลกั สูตร นำไปใช้ในรายวชิ า วทิ ยาการคำนวณ รหัสวิชา ว14101 เร่ือง อัลกอลิทมึ และเหตผุ ลเชงิ ตรรกะ ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 จำนวน 1 ชวั่ โมง ใช้วิธีการสอนแบบ การเลือกใช้สื่อการเรียนการสอนด้วยระบบทางไกลผ่าน DLTV และการจัดการเรียน การสอนด้วยวีดิทัศน์การสอนโดยครูต้นแบบและระบบออนไลน์ด้วยเครื่องมือการเรยี นรู้ตามความเหมาะสมและ บรบิ ทของสถานศึกษา รว่ มกับสอ่ื นวัตกรรม Google Sites แอพลเิ คช่ัน Line และ Facebook ทั้งนี้ได้นัดหมายสังเกตการณ์การสอนของครูผู้สอนหลัก ในวันอังคารที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2564 เวลา 08.30 – 09.30 น. รายวชิ า วิทยาการคำนวณ ระดับช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4/6 4. ผลทีไ่ ด้จากการจัดกิจกรรม นำไปสกู่ ารอบรมพฒั นาครู และนำผลการประชุมไปบันทึก เพอื่ เก็บเปน็ หลกั ฐานในการรายงานต่อไป เลกิ ประชุมเวลา 17.30 น. ลงชื่อ ผบู้ นั ทกึ (นางสาวภารดี พรประเสริฐทิพย์) ลงชื่อ . ลงช่ือ ผู้รับรอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มีสงั ข์) (นางสาวรงุ่ ทวิ า หาดอา้ น) หัวหน้ากลมุ่ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนบุ าลตราด

แบบบันทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นอนุบาลตราด ช่ือกลุ่ม “PLC com science come together” ครัง้ ท่ี 8 ภาคเรยี นที่ 2/2563 วนั /เดือน/ปี : 22 มกราคม 2564 เรม่ิ ดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ ส้นิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทงั้ สน้ิ 2 ช่ัวโมง กิจกรรมคร้งั นอ้ี ยู่ความสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study) (ทำเครอ่ื งหมาย ✓ลงในชอ่ ง )  ขั้นที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ข้นั ท่ี 2 ปฏบิ ัติและสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ข้ันที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ีเ่ ขา้ รว่ มกจิ กรรม 8 คน โดยมีรายชือ่ และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังนี้ ท่ี ชื่อ-สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือช่อื 1. นางสาวรงุ่ ทวิ า หาดอา้ น รองผู้อำนวยการโรงเรียนฯ 2. นางสุชาดา ใจชน่ื ผู้เช่ยี วชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มีสังข์ หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทพิ ย์ ครรู ่วมเรียนรู้ 5. นางสาวสุวภา เรืองศลิ ป์ ครูร่วมเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวีณนิ ครรู ว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวศศิธร บัวขาว ครรู ว่ มเรยี นรู้ 8. นายจีรเดช ช่างต่อ ครูรว่ มเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การนำสู่การปฏบิ ัติ และ สังเกตการสอน ครั้งท่ี 1 (การทดลองของ Model Teacher) 2. ผลการสังเกต จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูศศิธร บัวขาว ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา วิทยาการ คำนวณ รหัสวิชา ว14101 จากการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการใช้สื่อการเรียน การสอนออนไลน์ของครูต้นแบบ DLTV พบว่า นักเรียนเข้าใจและสนใจในเร่ืองของการแสดงขั้นตอนการทำงาน หรอื การทำงานหรือการแก้ปัญหา จะช่วยฝกึ ทักษะการคิดอย่างเป็นขั้นตอน การใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะ จะช่วยฝึก ทักษะของการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุมีผล ครูผู้สอนทบทวนและอธิบายอีกครั้งเพื่อให้นักเรียนเข้าใจเนื้อได้ดีข้ึน จากนั้นครูผู้สอนให้นักเรียนศึกษาใบงาน เพื่อดูงานที่ครูมอบหมายให้ โดยนักเรียนสามารถศึกษาเพิ่มจาก เว็บการเรียนการสอนด้วยระบบทางไกลผ่าน DLTV และการจัดการเรียนการสอนด้วยวีดิทัศน์การสอนโดยครู ต้นแบบไดท้ ุกทีท่ ุกเวลา

3. จุดเด่นในการจดั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ครผู ู้สอนเข้าใจเน้ือหาทสี่ อนอยา่ งแจม่ แจง้ (Insight) การสอนในลกั ษณะน้ีครูผู้สอนมกี ารเตรียมการสอน มาเปน็ อย่างดี เขา้ ใจเนื้อหาสาระท่สี อนได้อย่างชดั เจน จึงสามารถสอนให้ผเู้ รียนเข้าใจในเนอ้ื หาได้อย่างแจม่ แจ้ง 4. จุดที่ตอ้ งพัฒนาในการจดั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้เชิงวิชาชีพร่วมกันสะท้อนความคิดท้ังจุดเด่น จดุ ด้อย ปัญหา-อปุ สรรค รวมท้ังแนะนำ วธิ กี ารแก้ปญั หาโดยใชส้ ุนทรยี สนทนา ดงั น้ี 1) ครูผู้สอนควรให้นกั เรียนแก้ปัญหาดว้ ยตนเองอันจะนำไปสู่การคดิ เปน็ ทำเปน็ และแกป้ ญั หาเป็น 2) ควรเปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดค้นหาสาเหตุ เหตุผล ความเป็นไปของสิ่งที่เรียน มีส่วนร่วม ในการวางแผน การดำเนนิ กจิ กรรม และการประเมินผลการเรยี นการสอน 5. ผลลพั ธ์ทไี่ ดจ้ ากกจิ กรรม ผูส้ อนไดร้ ับความรู้และประสบการณ์ ซ่งึ เป็นประโยชนต์ อ่ การปรับปรงุ และพฒั นาแผนการจัดการเรียนรู้ และผู้สอนไดร้ บั นวตั กรรมและเรม่ิ วางแผนจัดทำวจิ ัยปฏิบตั ิการในชั้นเรียน เลกิ ประชมุ เวลา 17.30 น. ลงชอ่ื ผบู้ ันทึก (นางสาวสวุ ภา เรอื งศลิ ป์) ลงช่อื . ลงชื่อ ผูร้ บั รอง (นางสาวธิพาภรณ์ มสี ังข)์ (นางสาวรุ่งทิวา หาดอ้าน) หวั หน้ากล่มุ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผ้อู ำนวยการโรงเรียน รกั ษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนบุ าลตราด

แบบบันทกึ กิจกรรมชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นอนุบาลตราด ช่อื กลุ่ม “PLC com science come together” คร้งั ท่ี 9 ภาคเรยี นที่ 2/2563 วนั /เดอื น/ปี : 29 มกราคม 2564 เริม่ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสรจ็ ส้ินเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 2 ช่ัวโมง กิจกรรมครง้ั นอ้ี ยูค่ วามสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเคร่อื งหมาย ✓ลงในชอ่ ง )  ข้ันที่ 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ข้นั ที่ 2 ปฏิบัตแิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขั้นท่ี 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูทเี่ ข้ารว่ มกจิ กรรม 8 คน โดยมรี ายช่อื และบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังนี้ ท่ี ช่อื -สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชอ่ื 1. นางสาวรงุ่ ทวิ า หาดอา้ น รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นฯ 2. นางสุชาดา ใจชน่ื ผูเ้ ชีย่ วชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มสี ังข์ หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทพิ ย์ ครูรว่ มเรยี นรู้ 5. นางสาวสุวภา เรอื งศลิ ป์ ครูรว่ มเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวีณนิ ครรู ว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บัวขาว ครูรว่ มเรยี นรู้ 8. นายจรี เดช ชา่ งตอ่ ครูรว่ มเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การสะท้อนผลการปฏบิ ัตขิ อง Model Teacher (After Action Review : AAR) 2. ครผู ูส้ อนหลัก (Model teacher) สะท้อนผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรูข้ องตนเอง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2/2563 ได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และ พัฒนาความรู้ความสามารถครบตามหลักสูตร พบว่าสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ช่วยกระตุ้นความสนใจ และส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองแก่ผู้เรียนส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ผู้เรียนสามารถศึกษาบทเรียนมาก่อนล่วงหน้าและอ่านทบทวนเนื้อหาย้อนหลังได้และยังเปิดโอกาสให้ผู้ เรียน เขา้ ถงึ แหลง่ เรยี นรู้ได้ทุกที่ ทกุ เวลา

3. สะท้อนผลการใช้ส่ือนวตั กรรมในการแกป้ ัญหา สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา ดา้ นการเรียนรู้ของนักเรยี น เพือ่ ปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน 4. ผลการนำสอ่ื นวัตกรรมฯไปแก้ปัญหา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การเรียนการสอนด้วยระบบทางไกล ผ่าน DLTV และการจัดการเรียนการสอนด้วยวีดทิ ัศน์การสอนโดยครูตน้ แบบ รายวิชา ว14101 วทิ ยาการคำนวณ ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563” 5. สมาชิกร่วมกนั ปรบั ปรุงแบบกจิ กรรมตามทไ่ี ด้สะท้อนผล และ ปรับแผนกิจกรรม นำแผนการจัดการเรียนรูท้ ี่แก้ไขปรับปรุงตามคำแนะนำของครูร่วมเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ และหัวหน้ากลุ่ม สาระฯ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของครูผู้สอนหลัก โดยมีชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ ร่วมสังเกตการณ์ ซึ่งแผนการจัดการเรียนรู้นี้มีขั้นตอนสำคัญในการจัดกิจกรรมการสร้างเนื้อหาและการสร้างส่ือ การเรียนการสอนออนไลน์ คือ การนำเข้าสู่บทเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบไปด้วยขั้นสนใจ (Motivation) ขั้นศึกษาข้อมูล (Information) ขั้นพยายาม (Application) และขั้นสำเร็จผล (Progress) ซึ ่ งคร ู มอบ ห มาย ให ้ น ั ก เ ร ี ย น เ ป ็ น ผ ู ้ ศึ ก ษาจ า ก โดยการสร ้ างส ื ่ อการเร ี ยนการสอนออนไลน์ ที ่ คร ู ได ้ ส ร ้ า ง ขึ้ น จากนั้นนักเรียนได้ออกแบบชิ้นงานเอง ซึ่งครูจะทำหน้าที่ชี้แนะ และอธิบายเพิ่มเติม จากนั้นครูและนักเรียนจะ รว่ มกันสรุปองคค์ วามรทู้ ไ่ี ด้จากการจัดกิจกรรมภายในชัน้ เรียน 6. กจิ กรรมท่ีไดร้ ว่ มทำ ผู้สอนนำเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง หลักการออกแบบงานกราฟิก จากนั้นครูร่วม เรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งให้ คำแนะนำในการพฒั นาการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เมอื่ สน้ิ สุดขั้นตอนการสะท้อนคิดแล้ว ผสู้ อนบนั ทึกผลการสะท้อน คิดหลังปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากนั้นปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ และทำวิจัยปฏิบัติการ ในช้นั เรียนต่อไป เลิกประชมุ เวลา 17.30 น. ลงชื่อ ผู้บันทึก (นางสาวธนวรรณ ปัญจวณี ิน) ลงช่ือ . ลงชื่อ ผรู้ บั รอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มีสังข์) (นางสาวรุ่งทิวา หาดอา้ น) หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผูอ้ ำนวยการโรงเรียน รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลตราด

แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นอนบุ าลตราด ชอ่ื กลุ่ม “PLC Com Science New Normal” ครัง้ ที่ 10 ภาคเรียนที่ 2/2563 วัน/เดือน/ปี : 5 กุมภาพันธ์ 2564 เร่ิมดำเนินการเวลา 15.30 น. เสรจ็ สนิ้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทั้งส้นิ 2 ช่ัวโมง กจิ กรรมครัง้ นอี้ ยคู่ วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทำเครือ่ งหมาย ✓ลงในช่อง )  ขัน้ ท่ี 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขัน้ ที่ 2 ปฏบิ ตั แิ ละสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขั้นที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ่เี ขา้ ร่วมกจิ กรรม 8 คน โดยมีรายช่อื และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังน้ี ที่ ช่ือ-สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชื่อ 1. นางสาวรงุ่ ทิวา หาดอ้าน รองผู้อำนวยการโรงเรียนฯ 2. นางสชุ าดา ใจช่นื ผเู้ ชยี่ วชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มสี งั ข์ หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทพิ ย์ ครูร่วมเรยี นรู้ 5. นางสาวสวุ ภา เรอื งศลิ ป์ ครูรว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวณี นิ ครูรว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บวั ขาว ครรู ว่ มเรียนรู้ 8. นายจีรเดช ชา่ งต่อ ครูร่วมเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การนำส่กู ารปฏิบัติ และ สงั เกตการสอน ครงั้ ท่ี 2 (การทดลองของสมาชิก 1) 2. สมาชิกในกลุ่มร่วมกนั จัดทำและปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ จากการไปสังเกตการณ์การสอนของ ครูภารดี พรประเสริฐทิพย์ ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชา วิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 การพัฒนารูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน โดยการ สร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ พบว่า ครูผู้สอนได้จัดทำสื่อวิชาวิทยาการคำนวณ โดยเนื้อหามีเป้าหมาย หลักเพื่อพัฒนาผู้เรยี นให้มีความรู้ และทักษะการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการจัดรูปแบบให้นักเรียนเข้าศึกษาในเนื้อหา แต่ละหนว่ ยการเรยี นรู้ และทำใบงาน/แบบทดสอบ ส่งตามที่กำหนด

3. สะท้อนผลการใช้ส่ือนวตั กรรมในการแก้ปัญหา สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา ดา้ นการเรยี นรู้ของนกั เรยี น เพื่อปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ของครผู สู้ อน 4. ผลการนำสอื่ นวตั กรรมฯไปแก้ปัญหา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอน ออนไลน์ รายวชิ าวทิ ยาการคำนวณ ระดบั ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563” เลิกประชุมเวลา 17.30 น. ลงชอ่ื ผบู้ ันทกึ (นางสาวธนวรรณ ปัญจวณี ิน) ลงชื่อ . ลงช่ือ ผู้รับรอง (นางสาวธิพาภรณ์ มีสังข)์ (นางสาวรุง่ ทิวา หาดอา้ น) หวั หนา้ กลุม่ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น รักษาการในตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลตราด

แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนอนุบาลตราด ชื่อกลุ่ม “PLC com science come together” ครั้งท่ี 11 ภาคเรยี นที่ 2/2563 วนั /เดอื น/ปี : 12 กุมภาพันธ์ 2564 เรมิ่ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสรจ็ ส้นิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้งั สน้ิ 2 ชว่ั โมง กิจกรรมครัง้ นอ้ี ยู่ความสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครื่องหมาย ✓ลงในช่อง )  ขนั้ ท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขั้นที่ 2 ปฏบิ ตั ิและสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ข้นั ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู เ่ี ข้าร่วมกจิ กรรม 8 คน โดยมีรายช่ือและบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังน้ี ท่ี ช่ือ-สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือชื่อ 1. นางสาวรงุ่ ทิวา หาดอา้ น รองผู้อำนวยการโรงเรียนฯ 2. นางสุชาดา ใจชน่ื ผู้เชย่ี วชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มสี งั ข์ หัวหน้ากล่มุ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสริฐทิพย์ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 5. นางสาวสวุ ภา เรืองศิลป์ ครรู ่วมเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวีณิน ครรู ว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บวั ขาว ครรู ่วมเรียนรู้ 8. นายจรี เดช ชา่ งตอ่ ครูรว่ มเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การสะท้อนผลการปฏบิ ัติของครูร่วมเรียนรู้ (After Action Review : AAR) 2. ครผู ูส้ อนหลัก (Model teacher) สะท้อนผลการจัดกิจกรรมการเรียนร้ขู องตนเอง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2/2563 ได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และ พัฒนาความรู้ความสามารถครบตามหลักสูตร พบว่าเป็นการจัดกิจกรรมที่สามารถตอบสนองความต้องการ ของผเู้ รยี น มีความสนใจ กระตือรอื รน้ ในการทำกิจกรรมต่างๆ เพราะบทเรยี นออนไลน์ เป็นส่อื ท่ีมีความสวยงาม ทนั สมัย และเขา้ ถงึ ได้งา่ ยเรยี นไดท้ ุกทที่ ุกเวลา และสามารถเข้าถงึ กลุ่มเปา้ หมายได้เป็นอย่างดี 3. สะท้อนผลการใช้สื่อนวัตกรรมในการแกป้ ัญหา สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา ดา้ นการเรยี นรู้ของนกั เรียน เพือ่ ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ของครูผสู้ อน

4. ผลการนำส่อื นวัตกรรมฯไปแกป้ ญั หา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ และพัฒนา ความรู้ความสามารถครบตามหลักสูตร รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563” 5. สมาชกิ รว่ มกันปรับปรงุ แบบกจิ กรรมตามที่ไดส้ ะทอ้ นผล และ ปรับแผนกจิ กรรม นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่แก้ไขปรับปรุงตามคำแนะนำของครรู ่วมเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ และหัวหน้ากลุม่ สาระฯ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของครูผู้สอนหลัก เมื่อวันศุกร์ที่ 29 มกราคม 2564 คาบเรียนท่ี 2 ในรายวิชา ว16101 วทิ ยาการคำนวณ ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6/7 โดยมีชมุ ชนแห่งการเรยี นร้เู ชิง วิชาชีพร่วมสังเกตการณ์ ซึ่งแผนการจัดการเรียนรู้นี้มีขั้นตอนสำคัญในการจัดกิจกรรมการพัฒนารูปแบบการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ซึ่งครูมอบหมายให้นักเรียนเป็นผู้ศึกษาจากบทเรียนออนไลน์ที่ครู ได้สร้างขึ้น และศึกษาเนื้อหาจากบทเรียนออนไลน์ด้วยตนเอง ซึ่งครูจะทำหน้าที่ชี้แนะ และอธิบายเพิ่มเติม จากนั้นครูและนักเรียนจะรว่ มกันสรุปองค์ความร้ทู ี่ได้จากการจดั กิจกรรมภายในช้ันเรยี น 6. กจิ กรรมทไี่ ดร้ ว่ มทำ ผู้สอนนำเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง วิทยาการคำนวณ จากบทเรียนออนไลน์ จากนั้นครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและ อุปสรรค รวมทั้งให้คำแนะนำในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดขั้นตอนการสะท้อนคิดแล้ว ผู้สอน บันทึกผลการสะท้อนคิดหลังปฏิบตั ิการ (After Action Review : AAR) จากนั้นปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูแ้ ละ ทำวจิ ัยปฏิบตั กิ ารในชน้ั เรยี นต่อไป 7. แนวทางการนำความรู้ไปใช้ ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย เพื่อแลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสำเร็จ จุดเด่น และจุดที่ต้อง พัฒนาในการจัดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จากนั้นนำไปสู่การอบรมคูปองพัฒนาครู และนำผลการประชุม ไปบนั ทกึ เพ่ือเก็บเป็นหลักฐานในการรายงานต่อไป ลงชื่อ เลิกประชุมเวลา 17.30 น. (นายจีรเดช ช่างต่อ) ผู้บันทึก ลงช่ือ . ลงชื่อ ผู้รับรอง (นางสาวธิพาภรณ์ มสี ังข)์ (นางสาวรุ่งทิวา หาดอา้ น) หวั หนา้ กลุม่ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผู้อำนวยการโรงเรยี น รกั ษาการในตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการโรงเรียนอนบุ าลตราด

แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนอนบุ าลตราด ชอื่ กลุ่ม “PLC com science come together” ครัง้ ที่ 12 ภาคเรียนท่ี 2/2563 วนั /เดอื น/ปี : 19 กุมภาพันธ์ 2564 เริ่มดำเนินการเวลา 15.30 น. เสรจ็ สน้ิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้ังส้นิ 2 ชว่ั โมง กจิ กรรมคร้งั นีอ้ ยู่ความสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทำเครอ่ื งหมาย ✓ลงในช่อง )  ข้นั ที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ที่ 2 ปฏบิ ตั แิ ละสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)  ข้ันที่ 3 สะท้อนความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู เ่ี ข้าร่วมกจิ กรรม 8 คน โดยมรี ายชอื่ และบทบาทต่อกิจกรรม ดังน้ี ที่ ชอ่ื -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือชื่อ 1. นางสาวรุง่ ทวิ า หาดอา้ น รองผู้อำนวยการโรงเรียนฯ 2. นางสุชาดา ใจชนื่ ผเู้ ชยี่ วชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มสี งั ข์ หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสริฐทพิ ย์ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 5. นางสาวสุวภา เรืองศลิ ป์ ครรู ว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวณี นิ ครรู ่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวศศิธร บวั ขาว ครูร่วมเรียนรู้ 8. นายจีรเดช ชา่ งต่อ ครรู ่วมเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การนำสูก่ ารปฏิบัติ และ การสะท้อนผล คร้ังที่ 3 (การทดลองของสมาชกิ 2) 2. ประเด็นปญั หา/สิ่งทตี่ ้องการพัฒนา ปัญหาการจดั การเรยี นการสอนไม่ครอบคลุมตามเน้ือหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรน่า (COVID-19) 3. สมาชิกในกลุ่มรว่ มกนั จัดทำและปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูสุวภา เรืองศิลป์ ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชาวิทยาการ คำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อ การเรียนการสอนออนไลน์ พบว่า การเรียนการสอนด้วยระบบทางไกลผ่าน DLTV และการจัดการเรียนการ สอนด้วยวีดิทัศน์การสอนโดยครูต้นแบบ ส่งผลให้นักเรียนเกิดความเข้าใจในเรื่องที่จะศึกษาง่ายยิ่งข้ึน ทำไดแ้ ละทำเสร็จในเวลาทรี่ วดเรว็ ประกอบไปด้วยส่ือ วีดโี อ ใบงาน ใบความรู้

4. สะท้อนผลการใชส้ ื่อนวัตกรรมในการแก้ปัญหา สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา ด้านการเรียนรขู้ องนักเรียน เพือ่ ปรบั ปรุงและพฒั นาการจดั การเรยี นร้ขู องครผู ้สู อน 5. ผลการนำส่ือนวตั กรรมฯไปแก้ปัญหา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยการใช้สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ DLTV รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563” เลกิ ประชุมเวลา 17.30 น. ลงช่อื ผู้บันทึก (นางสาวภารดี พรประเสริฐทพิ ย์) ลงชื่อ . ลงช่ือ ผู้รบั รอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มสี ังข)์ (นางสาวรงุ่ ทวิ า หาดอ้าน) หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผู้อำนวยการโรงเรยี น รกั ษาการในตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการโรงเรียนอนุบาลตราด

แบบบันทึกกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นอนบุ าลตราด ช่อื กลุ่ม “PLC com science come together” ครงั้ ท่ี 13 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 วัน/เดอื น/ปี : 26 กุมภาพนั ธ์ 2564 เร่มิ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสรจ็ สน้ิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทงั้ สนิ้ 2 ชว่ั โมง กจิ กรรมคร้งั นีอ้ ยคู่ วามสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเคร่อื งหมาย ✓ลงในชอ่ ง )  ข้นั ท่ี 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขนั้ ท่ี 2 ปฏิบัตแิ ละสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ข้ันที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูท่เี ข้ารว่ มกิจกรรม 8 คน โดยมีรายช่อื และบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้ ท่ี ช่ือ-สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือชื่อ 1. นางสาวรุ่งทิวา หาดอ้าน รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี นฯ 2. นางสุชาดา ใจชน่ื ผูเ้ ช่ียวชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มสี งั ข์ หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทิพย์ ครรู ว่ มเรียนรู้ 5. นางสาวสวุ ภา เรอื งศิลป์ ครูรว่ มเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวณี นิ ครูรว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวศศิธร บวั ขาว ครูรว่ มเรียนรู้ 8. นายจรี เดช ช่างต่อ ครูร่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การสะท้อนผลการปฏบิ ัตขิ องครูร่วมเรยี นรู้ (After Action Review : AAR) 2. ประเด็นปัญหา/สิ่งทีต่ อ้ งการพฒั นา ปญั หาการจัดการเรยี นการสอนไม่ครอบคลุมตามเน้ือหาการเรียนรู้เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา่ (COVID-19) 3. ครูผู้สอนหลัก (Model teacher) สะท้อนผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรขู้ องตนเอง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2/2563 ได้พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ของครูผู้สอน พบว่าเป็นการจัดกิจกรรม ทสี่ ามารถตอบสนองความตอ้ งการของผู้เรยี น มีความสนใจ กระตือรือรน้ ในการทำกิจกรรมต่างๆ เพราะบทเรยี น

ออนไลน์ สื่อที่มีความสวยงาม ทันสมัย และเข้าถึงได้ง่ายเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา และสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ได้เปน็ อยา่ งดี 4. สะท้อนผลการใช้ส่ือนวตั กรรมในการแก้ปัญหา สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา ดา้ นการเรียนรขู้ องนักเรียน เพื่อปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการเรียนรูข้ องครผู สู้ อน 5. ผลการนำสื่อนวัตกรรมฯไปแกป้ ญั หา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยการใช้สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ DLTV รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563” 6. สมาชิกรว่ มกันปรบั ปรงุ แบบกิจกรรมตามท่ีได้สะท้อนผล และ ปรบั แผนกิจกรรม นำแผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่แก้ไขปรบั ปรุงตามคำแนะนำของครรู ่วมเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ และหัวหน้ากลุม่ สาระฯ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของครูผู้สอนหลัก เมื่วันจันทร์ ท่ี 8 กุมภาพันธ์ 2564 คาบเรยี นท่ี 5 ในรายวิชา ว13101 วิทยาการคำนวณ ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3/6 โดยมชี มุ ชนแห่งการเรยี นรู้เชิง วิชาชีพร่วมสังเกตการณ์ ซึ่งครูมอบหมายให้นักเรียนเป็นผู้ศึกษาจากการเรียนการสอนด้วยระบบทางไกลผ่าน DLTV และการจัดการเรียนการสอนด้วยวีดิทัศน์การสอนโดยครูต้นแบบ ซึ่งครูจะทำหน้าที่ชี้แนะและอธิบาย เพมิ่ เตมิ จากน้ันครแู ละนักเรียนจะร่วมกนั สรปุ องค์ความรทู้ ่ีไดจ้ ากการจดั กจิ กรรมภายในชน้ั เรียน 7. กิจกรรมทีไ่ ดร้ ่วมทำ ผสู้ อนนำเสนอผลการปฏิบัติการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้จากบทเรียนออนไลน์ จากน้นั ครูรว่ มเรียนรู้ หัวหน้า กลุ่มสาระฯ และผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งให้คำแนะนำ ในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดขั้นตอนการสะท้อนคิดแล้ว ผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนคิด หลังปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากนั้นปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ และทำวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรยี นตอ่ ไป 8. แนวทางการนำความรไู้ ปใช้ ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย เพื่อแลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดที่ต้อง พัฒนาในการจัดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จากนั้นนำไปสู่การอบรมคูปองพัฒนาครู และนำผลการประชุม ไปบันทกึ เพอื่ เกบ็ เป็นหลกั ฐานในการรายงานต่อไป เลกิ ประชุมเวลา 17.30 น. ลงชอื่ ผบู้ ันทึก (นางสาวศศิธร บวั ขาว) ลงช่ือ . ลงชื่อ ผรู้ บั รอง (นางสาวธิพาภรณ์ มีสังข)์ (นางสาวรงุ่ ทวิ า หาดอ้าน) หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน รกั ษาการในตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลตราด

แบบบันทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นอนบุ าลตราด ชอื่ กลุ่ม “PLC com science come together” ครง้ั ท่ี 14 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 วนั /เดือน/ปี : 5 มีนาคม 2564 เรม่ิ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จสนิ้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทัง้ สิน้ 2 ชั่วโมง กจิ กรรมครั้งน้อี ยคู่ วามสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study) (ทำเครอ่ื งหมาย ✓ลงในช่อง )  ขน้ั ท่ี 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ข้นั ที่ 2 ปฏิบตั แิ ละสังเกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขน้ั ท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูท่เี ขา้ รว่ มกิจกรรม 8 คน โดยมรี ายชื่อและบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้ ท่ี ชอ่ื -สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือช่ือ 1. นางสาวรุง่ ทิวา หาดอา้ น รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนฯ 2. นางสชุ าดา ใจชื่น ผู้เชี่ยวชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มีสังข์ หัวหนา้ กลุม่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทพิ ย์ ครูร่วมเรียนรู้ 5. นางสาวสุวภา เรอื งศิลป์ ครูรว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวีณิน ครูร่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวศศิธร บัวขาว ครรู ว่ มเรยี นรู้ 8. นายจรี เดช ชา่ งต่อ ครูรว่ มเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การนำสู่การปฏิบตั ิ และ การสะท้อนผล คร้ังที่ 4 (การทดลองสมาชิก 3) 2. ประเด็นปญั หา/ส่งิ ทตี่ ้องการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเน้ือหาการเรียนรู้เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา่ (COVID-19) 3. สมาชกิ ในกลุ่มรว่ มกนั จัดทำและปรับปรงุ แผนการจัดการเรียนรู้ จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูธนวรรณ ปัญจวีณิน ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชา วิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการ สร้างสื่อการเรยี นการสอนออนไลน์ พบว่า ครูผู้สอนได้จดั ทำสื่อเพื่อนำมาใช้ศึกษาการปรับแต่งวัตถุจากบทเรยี น ออนไลน์ ส่งผลใหน้ กั เรยี นเกิดความเข้าใจในเร่ืองท่ีจะศึกษาง่ายยิ่งข้ึนทำไดแ้ ละทำเสร็จในเวลาทีร่ วดเร็ว เนื้อหา ทีใ่ ช้ในการในการจดั การเรียนการสอน ประกอบไปดว้ ยคลปิ วิดีโอการสอน ใบความรู้ ใบงาน

4. สะท้อนผลการใช้สื่อนวัตกรรมในการแก้ปัญหา สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา ดา้ นการเรียนรู้ของนักเรยี น เพ่ือปรับปรงุ และพฒั นาการจดั การเรยี นรูข้ องครผู ู้สอน 5. ผลการนำส่ือนวตั กรรมฯไปแกป้ ญั หา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยการใช้สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ DLTV รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563” เลกิ ประชมุ เวลา 17.30 น. ลงชื่อ ผบู้ นั ทกึ (นางสาวสวุ ภา เรืองศลิ ป์) ลงชื่อ . ลงช่อื ผู้รับรอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มสี ังข์) (นางสาวรุง่ ทิวา หาดอ้าน) หัวหนา้ กล่มุ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน รักษาการในตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลตราด

แบบบนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นอนบุ าลตราด ชื่อกลุ่ม “PLC com science come together” ครงั้ ท่ี 15 ภาคเรยี นที่ 2/2563 วัน/เดือน/ปี : 12 มีนาคม 2564 เรมิ่ ดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ สน้ิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทัง้ สน้ิ 2 ช่วั โมง กจิ กรรมครั้งนี้อยู่ความสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครอื่ งหมาย ✓ลงในช่อง )  ขนั้ ท่ี 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขั้นท่ี 2 ปฏบิ ตั แิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขั้นท่ี 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ี่เข้าร่วมกจิ กรรม 8 คน โดยมีรายชอื่ และบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้ ท่ี ชือ่ -สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชื่อ 1. นางสาวรงุ่ ทวิ า หาดอา้ น รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี นฯ 2. นางสุชาดา ใจช่ืน ผู้เชยี่ วชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มีสงั ข์ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทิพย์ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 5. นางสาวสวุ ภา เรืองศิลป์ ครรู ่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวณี นิ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บัวขาว ครูรว่ มเรียนรู้ 8. นายจีรเดช ชา่ งตอ่ ครรู ่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กิจกรรม การสะท้อนผลการปฏิบตั ขิ องครรู ว่ มเรยี นรู้ (After Action Review : AAR) 2. ประเดน็ ปัญหา/ส่งิ ท่ีตอ้ งการพฒั นา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา่ (COVID-19) 3. ครูผู้สอนหลัก (Model teacher) สะท้อนผลการจัดกิจกรรมการเรียนรขู้ องตนเอง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2/2563 ได้พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ของครูผู้สอน พบว่าเป็นการจัดกิจกรรม ทสี่ ามารถตอบสนองความตอ้ งการของผูเ้ รียน มีความสนใจ กระตอื รอื รน้ ในการทำกจิ กรรมต่างๆ เพราะบทเรียน

ออนไลน์เป็นสื่อที่มีความสวยงาม ทันสมัยและเข้าถึงได้ง่ายเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา และสามารถเข้าถึง กลุม่ เปา้ หมายไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 4. สะท้อนผลการใช้สื่อนวตั กรรมในการแกป้ ญั หา สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา ด้านการเรียนรขู้ องนักเรียน เพอ่ื ปรับปรงุ และพฒั นาการจัดการเรยี นร้ขู องครูผสู้ อน 5. ผลการนำสอื่ นวตั กรรมฯไปแกป้ ญั หา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563” 6. สมาชิกร่วมกันปรบั ปรงุ แบบกจิ กรรมตามทีไ่ ดส้ ะท้อนผล และ ปรบั แผนกจิ กรรม นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่แก้ไขปรับปรุงตามคำแนะนำของครูร่วมเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ และหัวหน้ากลมุ่ สาระฯ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของครูผู้สอนหลัก เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564 คาบเรียนท่ี 5 ในรายวิชา ว12101 วิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/5 โดยมีชุมชนแห่งการเรียนรู้ เชิงวิชาชีพร่วมสังเกตการณ์ ซึ่งแผนการจัดการเรียนรู้นี้มีขั้นตอนสำคัญในการจัดกิจกรรมการพัฒนารูปแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูมอบหมายให้นักเรียนเป็นผู้ศึกษาตามขั้นตอน จากบทเรียนออนไลน์ ด้วยตนเอง ซึ่งครูจะทำหน้าที่ชี้แนะ และอธิบายเพิ่มเติม จากนั้นครูและนักเรียนจะร่วมกันสรุปองค์ความรู้ ท่ีไดจ้ ากการจดั กจิ กรรมภายในชนั้ เรยี น 7. กิจกรรมท่ไี ด้รว่ มทำ ผู้สอนนำเสนอผลการปฏิบตั ิการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้จากบทเรียนออนไลน์ จากน้ันครรู ่วมเรียนรู้ หัวหน้า กลุ่มสาระฯ และผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งให้คำแนะนำ ในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดขั้นตอนการสะท้อนคิดแล้ว ผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนคิด หลังปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากนั้นปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ และทำวิจัยปฏิบัติการ ในชน้ั เรยี นต่อไป 8. แนวทางการนำความรู้ไปใช้ ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย เพื่อแลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดที่ต้อง พัฒนาในการจัดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จากนั้นนำไปสู่การอบรมคูปองพัฒนาครู และนำผลการประชุมไป บันทึกเพือ่ เกบ็ เป็นหลกั ฐานในการรายงานตอ่ ไป เลกิ ประชมุ เวลา 17.30 น. ลงช่ือ ผบู้ นั ทกึ (นางสาวสวุ ภา เรอื งศลิ ป์) ลงชื่อ . ลงชือ่ ผ้รู บั รอง (นางสาวธิพาภรณ์ มสี ังข์) (นางสาวรงุ่ ทิวา หาดอา้ น) หวั หน้ากลุม่ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผ้อู ำนวยการโรงเรียน รักษาการในตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลตราด

แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นอนุบาลตราด ชือ่ กลุ่ม “PLC com science come together” คร้งั ที่ 16 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 วนั /เดอื น/ปี : 19 มนี าคม 2564 เริม่ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จสนิ้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั สิ้น 2 ช่ัวโมง กิจกรรมคร้งั นีอ้ ย่คู วามสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครือ่ งหมาย ✓ลงในช่อง )  ข้ันท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขั้นท่ี 2 ปฏิบัติและสังเกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขัน้ ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู เี่ ข้าร่วมกิจกรรม 8 คน โดยมรี ายชือ่ และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังน้ี ที่ ชื่อ-สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือชือ่ 1. นางสาวรงุ่ ทิวา หาดอา้ น รองผู้อำนวยการโรงเรยี นฯ 2. นางสุชาดา ใจชนื่ ผู้เชยี่ วชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มีสังข์ หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทพิ ย์ ครูรว่ มเรยี นรู้ 5. นางสาวสุวภา เรอื งศลิ ป์ ครรู ว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวีณิน ครรู ว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บวั ขาว ครรู ว่ มเรยี นรู้ 8. นายจีรเดช ช่างตอ่ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 1. งาน/กิจกรรม การนำสกู่ ารปฏิบตั ิ และ การสะท้อนผล ครั้งท่ี 5 (การทดลองสมาชกิ 4) 2. ประเดน็ ปัญหา/ส่ิงท่ตี ้องการพัฒนา ปญั หาการจดั การเรยี นการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรน่า (COVID-19) 3. สมาชิกในกลุ่มรว่ มกันจดั ทำและปรับปรงุ แผนการจดั การเรียนรู้ จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูจรี เดช ชา่ งตอ่ ในการจัดการเรยี นการสอน รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียน การสอนออนไลน์ พบว่า ครูผู้สอนได้จัดทำสือ่ เพื่อนำมาใชศ้ ึกษาการปรับแตง่ วัตถุจากบทเรยี นออนไลน์ ส่งผลให้ นักเรียนเกิดความเข้าใจในเรื่องที่จะศึกษาง่ายยิ่งขึ้นทำได้และทำเสร็จในเวลาที่รวดเร็ว เ นื้อหาที่ใช้ในการจัด การเรียนการสอน ประกอบไปดว้ ยคลิปวดิ ีโอการสอน ใบความรู้ ใบงาน

4. สะท้อนผลการใช้ส่ือนวตั กรรมในการแก้ปัญหา สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา ด้านการเรยี นรู้ของนกั เรยี น เพอ่ื ปรบั ปรงุ และพัฒนาการจดั การเรียนรขู้ องครูผ้สู อน 5. ผลการนำสื่อนวตั กรรมฯไปแก้ปัญหา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยการใช้สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ DLTV รายวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563” เลิกประชุมเวลา 17.30 น. ลงชื่อ ผูบ้ นั ทกึ (นางสาวธนวรรณ ปญั จวณี ิน) ลงชอื่ . ลงชอื่ ผูร้ บั รอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มสี ังข์) (นางสาวรุง่ ทวิ า หาดอา้ น) หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผู้อำนวยการโรงเรยี น รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลตราด

แบบบันทกึ กจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนอนบุ าลตราด ชอื่ กลุ่ม “PLC com science come together” คร้ังท่ี 17 ภาคเรียนท่ี 2/2563 วนั /เดือน/ปี : 26 มีนาคม 2564 เริ่มดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จสนิ้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทัง้ สน้ิ 2 ชั่วโมง กิจกรรมคร้งั นอ้ี ยู่ความสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครือ่ งหมาย ✓ลงในชอ่ ง )  ขน้ั ท่ี 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ท่ี 2 ปฏิบัตแิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขน้ั ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูที่เขา้ ร่วมกจิ กรรม 8 คน โดยมรี ายช่อื และบทบาทต่อกิจกรรม ดังน้ี ท่ี ชื่อ-สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือชอ่ื 1. นางสาวรงุ่ ทวิ า หาดอ้าน รองผ้อู ำนวยการโรงเรียนฯ 2. นางสุชาดา ใจชื่น ผู้เช่ยี วชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มสี งั ข์ หัวหนา้ กลุม่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสริฐทิพย์ ครรู ่วมเรยี นรู้ 5. นางสาวสวุ ภา เรืองศลิ ป์ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวณี ิน ครูรว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บัวขาว ครูรว่ มเรียนรู้ 8. นายจีรเดช ช่างต่อ ครูรว่ มเรียนรู้ 1. งาน/กิจกรรม การสะท้อนผลการปฏิบัติของครูรว่ มเรยี นรู้ (After Action Review : AAR) 2. ประเด็นปัญหา/สงิ่ ทีต่ อ้ งการพัฒนา ปญั หาการจดั การเรยี นการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา่ (COVID-19) 3. ครผู สู้ อนหลกั (Model teacher) สะท้อนผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูข้ องตนเอง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2/2563 ได้พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ของครูผู้สอน พบว่าเป็นการจัดกิจกรรม ทสี่ ามารถตอบสนองความต้องการของผเู้ รียน มีความสนใจ กระตือรอื ร้นในการทำกิจกรรมต่างๆ เพราะบทเรียน ออนไลน์ เป็นสื่อที่มีความสวยงาม ทันสมัย และเข้าถึงได้ง่ายเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา และสามารถเข้าถึง กลมุ่ เป้าหมายไดเ้ ป็นอยา่ งดี

4. สะทอ้ นผลการใช้สอื่ นวตั กรรมในการแก้ปัญหา สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา ด้านการเรยี นรขู้ องนกั เรียน เพือ่ ปรับปรงุ และพฒั นาการจัดการเรยี นรขู้ องครผู ูส้ อน 5. ผลการนำสื่อนวัตกรรมฯไปแกป้ ญั หา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยการใช้สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ DLTV รายวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563” 6. สมาชกิ ร่วมกนั ปรับปรงุ แบบกิจกรรมตามทไ่ี ดส้ ะทอ้ นผล และ ปรับแผนกิจกรรม นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่แก้ไขปรับปรุงตามคำแนะนำของครูร่วมเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ และหัวหน้า กลุ่มสาระฯ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของครูผู้สอนหลัก เมื่อวันพุธที่ 10 มีนาคม 2564 คาบเรียนที่ 2 ในรายวิชา ว15101 วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2 โดยมีชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ ร่วมสังเกตการณ์ ซึ่งแผนการจัดการเรียนรู้นี้มีขั้นตอนสำคัญในการจดั กิจกรรมการพัฒนารปู แบบการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน ซึ่งครูมอบหมายให้นักเรียนเป็นผู้ศึกษาจากบทเรียนออนไลน์ ด้วยตนเอง ซึ่งครูจะทำหน้าที่ ชี้แนะและอธิบายเพิ่มเติม จากนั้นครูและนักเรียนจะร่วมกันสรุปองค์ความรู้ ที่ได้จากการจัดกิจกรรม ภายในชนั้ เรยี น 7. กจิ กรรมท่ีไดร้ ว่ มทำ ผู้สอนนำเสนอผลการปฏิบตั ิการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้จากบทเรียนออนไลน์ จากนนั้ ครรู ว่ มเรียนรู้ หัวหน้า กลมุ่ สาระฯ และผเู้ ช่ยี วชาญได้ให้ข้อคดิ เห็นเก่ียวกบั จุดเด่น จุดดอ้ ย ปญั หาและอุปสรรค รวมทง้ั ใหค้ ำแนะนำ ในการ พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดขั้นตอนการสะท้อนคิดแล้ว ผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนคิด หลังปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากนั้นปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ และทำวิจัยปฏิบัติการ ในชัน้ เรียนต่อไป 8. แนวทางการนำความรไู้ ปใช้ ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย เพื่อแลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดที่ต้อง พัฒนาในการจัดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จากนั้นนำไปสู่การอบรมคูปองพัฒนาครู และนำผลการประชุม ไปบันทกึ เพื่อเกบ็ เป็นหลักฐานในการรายงานตอ่ ไป เลิกประชุมเวลา 17.30 น. ลงชอื่ ผูบ้ ันทกึ (นางสาวศศิธร บวั ขาว) ลงชื่อ . ลงช่ือ ผู้รบั รอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มสี งั ข)์ (นางสาวรุง่ ทิวา หาดอ้าน) หัวหน้ากลุ่มสาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผู้อำนวยการโรงเรยี น รักษาการในตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนอนุบาลตราด

แบบบนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนอนุบาลตราด ช่ือกลุ่ม “PLC com science come together” ครั้งที่ 18 ภาคเรยี นที่ 2/2563 วนั /เดอื น/ปี : 2 เมษายน 2564 เรมิ่ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จสิ้นเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั สน้ิ 2 ชว่ั โมง กิจกรรมครง้ั นี้อย่คู วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครอื่ งหมาย ✓ลงในช่อง )  ขั้นที่ 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ที่ 2 ปฏบิ ตั แิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขน้ั ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ี่เข้าร่วมกจิ กรรม 8 คน โดยมีรายช่อื และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังน้ี ที่ ชือ่ -สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชอื่ 1. นางสาวรุ่งทวิ า หาดอ้าน รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นฯ 2. นางสุชาดา ใจช่ืน ผู้เช่ยี วชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มีสังข์ หัวหน้ากลุม่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทพิ ย์ ครูร่วมเรียนรู้ 5. นางสาวสุวภา เรืองศิลป์ ครูรว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวีณิน ครรู ว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวศศิธร บวั ขาว ครูรว่ มเรียนรู้ 8. นายจรี เดช ชา่ งตอ่ ครูร่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม สรุปรายงานผล ครงั้ ที่ 1 (การอภปิ รายผล) 2. ประเดน็ ปญั หา/ประเดน็ การพัฒนา จากปญั หาทส่ี ำคัญท่ีสดุ ของกลุ่ม คือ ปัญหาการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถจัดการเรยี นการสอนไดต้ ามปกติ จำเป็นต้องมีการเว้น ระยะห่างทางสังคม มีการแบ่งกลุ่มนักเรียน แบ่งเวลาเรียน ทำให้เวลาเรียนในห้องเรียนน้อยลงทำให้การจัดการ เรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ ครูผู้สอนและสมาชิกในกลุ่ม PLC ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพ่ือแก้ไขปญั หาดังกล่าว แลว้ นำไปใช้จดั กิจกรรมใหแ้ ก่ผู้เรยี น

3. สาเหตขุ องปัญหา เนื่องจากมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) ทำให้มีการเว้นระยะห่างทางสังคม มีการแบ่งกลุ่มนักเรียนแบ่งเวลาเรียน ทำให้เวลาเรียนในห้องน้อยลง ทำให้การจัดการเรียนการสอน ไม่ครอบคลุมตามเนอื้ หา 4. ความรู้หรอื หลักการทนี่ ำมาประยุกต์ใช/้ แนวทางการแก้ไขปญั หา ชุมชนแห่งการเรียนรู้ร่วมกันสะท้อนความคิดทั้งจุดเด่น จุดด้อย ปัญหา-อุปสรรค รวมทั้งแนะนำวิธีการ แก้ปัญหา โดยพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นแบบ distance learning การเรียนการสอน ทางไกล ใช้สื่อการเรียนออนไลน์ เช่น Google Classroom , Google Site มาช่วยเพิ่มเติมจากการเรียน ในห้องเรียนปกติ ทำให้นกั เรียนศึกษาบทเรียนยอ้ นหลังไดท้ ุกท่ี ทุกเวลา 5. กิจกรรมที่ไดร้ ว่ มทำ (อธิบายลกั ษณะของกจิ กรรม) ผู้สอนนำเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากนั้นครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และผู้เชี่ยวชาญให้ข้อคิดเหน็ เกี่ยวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งให้คำแนะนำในการพัฒนาการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดขั้นตอนการสะท้อนคิดแล้ว ผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนคิดหลังปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากน้ันปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ และทำวจิ ัยปฏบิ ตั ิการในชนั้ เรยี นตอ่ ไป 6. สมาชิกรว่ มกันอภปิ รายผล นำการจัดการเรียนการสอนออนไลน์มาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมการสอนด้วยสื่อการเรี ยนรู้ที่หลากหลาย น่าสนใจ และทำให้ผู้เรียนสามารถอ่านทบทวนเนื้อหาย้อนหลังได้และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้ทุกที่ ทกุ เวลา เลกิ ประชมุ เวลา 17.30 น. ลงชอื่ ผูบ้ ันทกึ (นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทพิ ย์) ลงชื่อ . ลงช่ือ ผรู้ ับรอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มสี งั ข)์ (นางสาวร่งุ ทวิ า หาดอา้ น) หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี น รกั ษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลตราด

แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนอนุบาลตราด ช่อื กลุ่ม “PLC com science come together” ครงั้ ที่ 19 ภาคเรียนที่ 2/2563 วนั /เดือน/ปี : 9 เมษายน 2564 เร่ิมดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสร็จส้ินเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 2 ชั่วโมง กจิ กรรมครง้ั น้ีอยู่ความสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครือ่ งหมาย ✓ลงในช่อง )  ขน้ั ท่ี 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขนั้ ท่ี 2 ปฏบิ ัติและสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)  ข้ันที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ่ีเข้ารว่ มกจิ กรรม 8 คน โดยมีรายชอ่ื และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังนี้ ท่ี ชื่อ-สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือช่อื 1. นางสาวรุ่งทวิ า หาดอ้าน รองผ้อู ำนวยการโรงเรียนฯ 2. นางสชุ าดา ใจช่ืน ผเู้ ชยี่ วชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มสี ังข์ หวั หน้ากล่มุ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสริฐทิพย์ ครรู ่วมเรียนรู้ 5. นางสาวสวุ ภา เรืองศิลป์ ครรู ่วมเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวณี นิ ครูร่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวศศิธร บวั ขาว ครูรว่ มเรยี นรู้ 8. นายจีรเดช ชา่ งต่อ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 1. สภาพหรือกลุ่มปัญหา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถจัดการเรยี นการสอนได้ตามปกติ 2. งาน/กิจกรรม สรปุ รายงานผล ครั้งที่ 2 (การสรุปผล และเสนอแนะแนวทางในการพฒั นา) 3. สรปุ สังเคราะหก์ ารเรียนรู้จากสมาชิกในทีม จดุ อ่อน จุดเด่นของการดำเนินการ 3.1 ประเดน็ ดา้ นผเู้ รียน - นักเรยี นมแี รงจูงใจในการเรียนและสามารถศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเองจากสื่อการสอน บทเรียนออนไลน์ และจากเว็บไซตต์ า่ ง ๆ ที่ครแู นะนำ ทำให้การจัดการเรยี นการสอนครอบคลุมตามเนอ้ื หาการเรยี นรู้ - ผูเ้ รยี นมคี วามรับผดิ ชอบ มคี วามกระตอื รือรน้ ในการเรียนมากกว่าปกติ มีความต้งั ใจใฝ่หาความรู้ใหม่ๆ ตรงกับระบบการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยมีผู้สอนเป็นเพียงผู้แนะนำ ที่ปรึกษาและแนะนำแหล่ง ความรูใ้ หมๆ่ ที่เก่ยี วข้องกบั การเรียน ผูเ้ รยี นสามารถทราบผลของการเรยี นรู้ความกา้ วหนา้ ได้จาก

การประเมินผลรวมที่ใช้การสอบแบบปกติในห้องเรียน เพื่อเป็นการยืนยันว่าผู้เรียนเรียนจริงและทำข้อสอบจรงิ ได้หรอื ไมอ่ ยา่ งไร 3.2 ประเดน็ ด้านกจิ กรรม - ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านสื่อเทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เป็นลกั ษณะการเรยี นรู้จากแหลง่ เรียนรูน้ อกชน้ั เรยี นท่ีทำใหผ้ ูเ้ รียนสามารถเรยี นรู้ไดท้ ุกท่ีทุกเวลา - การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนออนไลน์ทำใหก้ ารเรยี นการสอนครอบคลมุ ตามเนอ้ื หา 3.3 ประเด็นด้านครู - ครูจะทำหน้าที่คอยให้ความช่วยเหลือ ให้คำปรึกษา และดึงศักยภาพของผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ ได้ด้วยตนเอง สรา้ งแรงจงู ใจและแรงบนั ดาลใจในการเรยี น 3.4 ประเดน็ สือ่ การสอน - สื่อกจิ กรรมและแหลง่ การเรียนรู้มคี วามถกู ต้องเหมาะสมมีประสทิ ธภิ าพ (ดา้ นคุณภาพ) - สอื่ มคี วามเพยี งพอเหมาะสม (ด้านปรมิ าณ) - ผู้เรียน และผู้สอนสามารถเข้าถึงสื่อการเรียนการสอนได้ง่าย โดยจะใช้ web browser ใดก็ได้ ผู้เรียนสามารถเรียนจากเครื่องคอมพิวเตอรท์ ี่ใดก็ได้ และในปัจจุบันนี้การเข้าถึงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต กระทำได้ ง่ายข้นึ มาก และยงั มคี า่ เช่อื มตอ่ อนิ เตอร์เน็ตที่มรี าคาต่ำลงมากว่าแต่ก่อนอีกด้วย 3.5 ประเด็นดา้ นบรรยากาศ - การออกแบบบรรยากาศในห้องเรียนแบบออนไลน์ เป็นส่ิงท่สี ำคญั ท่ีจะทำใหผ้ ู้เรียนให้ความสนใจใคร่รู้ และพร้อมท่ีจะร่วมพูดคยุ แลกเปลย่ี นเรียนรอู้ ย่างมีส่วนรว่ มมากขึ้น จดุ แขง็ จุดออ่ นของการสอน - มีการนำเทคโนโลยเี ข้ามาบูรณาการ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน - กระบวนการทำงานพฒั นาวิชาชพี ครแู บบชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ มรี ะบบการทำงานตามรูปแบบ PDCA - เพิม่ ประสิทธภิ าพการเรยี นการสอน - สนับสนนุ การเรยี นการสอน - เนน้ การเรียนแบบผเู้ รยี นเปน็ ศูนย์กลาง ตรงตามหัวใจของการปฏริ ูปการศกึ ษา 4. ผลการดำเนินงาน นำการจัดการเรียนการสอนออนไลน์มาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรียน การสอน เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมการสอนด้วยสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย น่าสนใจและ ทำให้ผู้เรียนสามารถอ่านทบทวนเนื้อหาย้อนหลังได้และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้ทุกท่ี ทุกเวลา 5. รอ่ งรอย/หลักฐาน 5.1 แผนการจดั การเรยี นรู้ พร้อมบันทึกหลงั การสอน 5.2 ภาพการพูดคุย ปรึกษากับสมาชิกกลมุ่ PLC 5.3 ภาพกิจกรรมการเรยี นการสอน 5.4 แบบสังเกตการณ์จดั กจิ กรรมการเรียนการสอน 5.5 ภาพการนิเทศการสอน

6. ผลลัพธท์ ่ไี ดจ้ ากกิจกรรม 6.1 ผลลพั ธ์ทเ่ี กิดจากกระบวนการ 1) มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของสมาชิกเครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียน ไดอ้ ย่างเป็นรูปธรรม (สมาชกิ เครือข่ายมีการนำไปใช้ได้อย่างชดั เจน) 2) มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดขึ้น ของสมาชกิ เครือข่ายไปใช้ตลอดระยะทีด่ ำเนินโครงการทุกครง้ั ท่ีมีการแลกเปลี่ยนเรียนรโู้ ดยสมาชกิ ทุกคน 3) ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มาอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผูส้ ะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสำเร็จ จุดเด่นและ จดุ ที่ตอ้ งพฒั นาในการจดั การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 6.2 ผลลพั ธ์ทีเ่ กดิ กับผู้เรียน / ครู / สมาชกิ ทีเ่ ขา้ รว่ มเครอื ขา่ ย PLC 1) ผู้เรียนได้การเรียนรู้ตามเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ทุกประการ และมีความชัดเจน ทง้ั เชงิ ปริมาณและคุณภาพ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนดีขึ้น และทำให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเกิดคุณลักษณะ อย่างชัดเจน 3) ผู้สอนได้รบั ความรูแ้ ละประสบการณ์ ซึง่ เป็นประโยชนต์ อ่ การปรบั ปรงุ และพฒั นาแผนการจัดการ เรียนรู้ และผู้สอนได้รับนวัตกรรมและเร่มิ วางแผนจดั ทำวจิ ัยปฏบิ ัติการในชัน้ เรยี น 4) ผู้สอนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ และสามารถนำวัตกรรมการเรียนรู้ที่ได้รับจากการทำวิจัยปฏิบัติการ ในช้นั เรยี นไปใชพ้ ัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรียนรู้ 6.3 คณุ คา่ ทเ่ี กดิ ต่อวงการศกึ ษา 1) มีเครือข่ายที่ชัดเจน และการขยายเครือข่ายแล้วและมีความชัดเจน เป็นรูปธรรมและมีแนวโน้ม การเกิดเครือข่ายเพมิ่ ขน้ึ 2) การร่วมกันรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ให้ผลการเรียนรู้ที่ต้องการให้เกิดข้ึน ในตัวนกั เรยี น โดยครูทเี่ ป็นสมาชกิ ในชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ทุกคนวางเปา้ หมายร่วมกนั เลิกประชมุ เวลา 17.30 น. ลงช่ือ ผบู้ นั ทึก (นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทพิ ย์) ลงชอื่ . ลงชอ่ื ผรู้ ับรอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มีสงั ข์) (นางสาวร่งุ ทิวา หาดอา้ น) หัวหน้ากลมุ่ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผู้อำนวยการโรงเรยี น รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลตราด

แบบบันทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนอนบุ าลตราด ช่อื กลุ่ม “PLC com science come together” คร้ังที่ 20 ภาคเรยี นที่ 2/2563 วนั /เดือน/ปี : 16 เมษายน 2564 เรมิ่ ดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ ส้ินเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั ส้ิน 2 ชัว่ โมง กจิ กรรมครั้งนอ้ี ยู่ความสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทำเครอ่ื งหมาย ✓ลงในช่อง )  ขน้ั ที่ 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขัน้ ท่ี 2 ปฏบิ ัตแิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ข้นั ที่ 3 สะท้อนความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู เี่ ข้าร่วมกิจกรรม 8 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทต่อกจิ กรรม ดังนี้ ที่ ชื่อ-สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชอื่ 1. นางสาวร่งุ ทวิ า หาดอา้ น รองผูอ้ ำนวยการโรงเรียนฯ 2. นางสุชาดา ใจชนื่ ผ้เู ชยี่ วชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มีสังข์ หวั หน้ากลุม่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทพิ ย์ ครูรว่ มเรียนรู้ 5. นางสาวสุวภา เรืองศลิ ป์ ครูร่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวีณนิ ครูร่วมเรียนรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บวั ขาว ครูรว่ มเรียนรู้ 8. นายจรี เดช ชา่ งตอ่ ครรู ่วมเรยี นรู้ 1. สภาพหรือกลมุ่ ปญั หา ปัญหาการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ทำใหไ้ ม่สามารถจัดการเรยี นการสอนไดต้ ามปกติ 2. งาน/กิจกรรม เผยแพรก่ ิจกรรม/ชน้ิ งาน/นวัตกรรม (Best Practices) 3. ผลการดำเนนิ งาน 4.1 ได้นวัตกรรมในการแกไ้ ขปัญหา 4.2 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนกั เรียนดขี ึ้น หรอื เปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ตี กลงกนั ไว้ 4.3 พฤติกรรมการติดตามงานของนกั เรียนท่ีมปี ญั หาเปลีย่ นไปในทางที่ดขี ้นึ ตามข้อตกลงทตี่ ั้งไว้ 4.4 นำไปสู่การอบรมพฒั นาครู และรวบรวมส่ง เพอื่ เก็บเปน็ หลักฐานในการรายงานตอ่ ไป

4. ร่องรอย/หลกั ฐาน 4.1 แผนการจดั การเรียนรู้ พร้อมบันทึกหลังการสอน 4.2 ภาพการพูดคุย ปรึกษากับสมาชิกกล่มุ PLC 4.3 ภาพกจิ กรรมการเรียนการสอน 4.4 แบบสังเกตการณ์จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน 4.5 ภาพการนิเทศการสอน 5. การเผยแพร่กจิ กรรม/ช้ินงาน/นวัตกรรม 5.1 รวบรวมเอกสารร่องรอยหลักฐานต่าง ๆ ที่เกิดจากการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 5.2 จัดทำรปู แบบการนำเสนอเป็นหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ หรือ E-Book เพือ่ การนำเสนอท่ีน่าสนใจ 5.3 เผยแพร่ไฟล์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และสื่อสังคมโซเชียล จะทำให้การกระจายส่ือทำไดอ้ ย่างรวดเร็วและกวา้ งขวางกวา่ ส่ือท่ีอยู่ในรปู ส่อื สิง่ พิมพ์ เลกิ ประชุมเวลา 17.30 น. ลงช่ือ ผูบ้ ันทึก (นางสาวภารดี พรประเสริฐทพิ ย์) ลงช่ือ . ลงช่ือ ผู้รบั รอง (นางสาวธิพาภรณ์ มีสังข์) (นางสาวรุ่งทิวา หาดอา้ น) หวั หน้ากล่มุ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผู้อำนวยการโรงเรียน รกั ษาการในตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนอนุบาลตราด

ภาพการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม PLC


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook