Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปเฉาก๊วยนมสด

สรุปเฉาก๊วยนมสด

Published by Suttineej977, 2022-09-10 08:03:57

Description: สรุปเฉาก๊วยนมสด

Search

Read the Text Version

บันทกึ ข้อความ ส่วนราชการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางไทร ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๔๘๐๕/ วนั ที่ สงิ หาคม ๒๕๖๕ เรอ่ื ง รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาต่อเนื่อง รปู แบบกลุ่มสนใจ หลกั สูตรการทาเฉากว๊ ยนมสด จานวน 3 ชว่ั โมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ เรยี น ผ้อู านวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางไทร ตามที่ ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาอาเภอบางไทร ได้อนุมัติการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทาเฉาก๊วยนมสด จานวน 3 ชวั่ โมง ข้าพเจ้า นางสาวปิยรัตน์ สุขสมพืช ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล ผู้รับผิดชอบกิจกรรม การศกึ ษาต่อเนือ่ ง รปู แบบกล่มุ สนใจ หลักสตู รการทาเฉากว๊ ยนมสด จานวน 3 ชั่วโมง วันท่ี 13 มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ ศาลาประชาคม หม่ทู ี่ 3 ตาบลกระแชง อาเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา โดยมี เป้าหมาย ประชาชนผู้สนใจในตาบลกระแชงและตาบลชา้ งนอ้ ย จานวน ๖ คน จดั ได้ ๘ คน บัดน้ี โครงการ ดงั กลา่ ว ไดด้ าเนนิ การเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ จงึ ขอรายงานผลการโครงการ ดังเอกสารรูปเล่มแนบท้ายนี้ จึงเรยี นมาเพื่อโปรดทราบ (นางสาวปยิ รัตน์ สุขสมพชื ) (นางสาวศุทธนิ ี จนั ยะนยั ) ครู กศน.ตาบล ครู กศน.ตาบล (นางสาวฐติ พิ ร พาสี) หวั หน้างานการศึกษาต่อเนื่อง  ทราบ  อนื่ ๆ ………………………….. (นายสวสั ด์ิ บญุ พร้อม) ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอนครหลวง รกั ษาการในตาแหนง่ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางไทร

บทที่ ๑ บทนา ๑. ชอื่ กจิ กรรมการศกึ ษาต่อเนือ่ ง รปู แบบกล่มุ สนใจ หลักสูตรการทาเฉากว๊ ยนมสด จานวน ๓ ชวั่ โมง นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ นโยบายเรง่ ดว่ นเพอ่ื รว่ มขับเคลื่อนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ ๓. ยทุ ธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคนให้มคี ุณภาพ ๓.๕ ศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน สู่ “วสิ าหกจิ ชุมชน : ชมุ ชนพงึ่ ตนเอง ทาได้ ขายเป็น” ๑) ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพที่สอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความ ต้องการของตลาดรวมทั้งสร้างเครือข่ายการรวมกลุ่มในลักษณะวิสาหกิจชุมชน สร้างรายได้ให้กับชุมชน ให้ชมุ ชนพ่งึ พาตนเองได้” ๒) สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยีในการสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ ใหก้ บั สินคา้ การทาช่องทาง เผยแพรแ่ ละจาหน่ายผลติ ภัณฑ์ของวสิ าหกิจชมุ ชนให้เป็นระบบครบวงจร ๔. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา ๔.๕ พลิกโฉม กศน.ตาบล สู่ “กศน.ตาบล ๔G” ข้อ ๑) – ข้อ ๔) ๕. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นส่งเสริมและจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสรา้ งคณุ ภาพชวี ิตทเี่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อม ๕.๓ สง่ เสริมให้หนว่ ยงานและสถานศึกษาใช้พลงั งานท่ีเปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม รวมทง้ั ลดการใช้ทรัพยากรทีส่ ง่ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม จดุ เนนการดาเนินงานประจาปงบประมาณ พ.ศ. 256๕ 2. สงสริมการจดั การศกึ ษาและการเรียนรูตลอดชวี ติ สาหรับประชาชนทเี่ หมาะสมกับทุกชวงวยั 2.1 สงเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสราง นวัตกรรมและผลติ ภัณฑทีม่ คี ณุ ภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความตองการของประชาชน ผูรับบริการ และสามารถออกใบรับรองความรูความสามารถเพอ่ื นาไปใชในการพัฒนาอาชพี ได 3. พัฒนาหลักสูตร สอ่ื เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหลงเรียนรู และรปู แบบการจัดการศกึ ษาและ การเรียนรู ในทกุ ระดบั ทุกประเภท เพ่อื ประโยชนตอการจดั การศึกษาทเ่ี หมาะสมกบั ทุกกลุมเปาหมาย มคี วาม ทันสมัย สอดคลองและพรอมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปจจุบัน ความตองการของผูเรียน และสภาวะการ เรยี นรูในสถานการณตาง ๆ ทีจ่ ะเกิดขึ้นในอนาคต 3.2 พัฒนาแหลงเรยี นรูประเภทตาง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนยการเรียนรูทุกชวงวัย และศูนยการเรียนรูตนแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพ่ือให สามารถ “เรยี นรูไดอยางทว่ั ถงึ ทุกที่ ทกุ เวลา”

4. บูรณาการความรวมมือในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรูใหกับประชาชน อยางมคี ุณภาพ 4.1 รวมมอื กับภาคีเครอื ขายท้งั ภาครฐั เอกชน ประชาสงั คม และองคกรปกครองสวนทองถนิ่ รวมทั้ง สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชน อาทิ การสงเสริมการฝกอาชีพที่เปนอัตลักษณและบริบทของ ชุมชนสงเสริมการตลาดและขยายชองทางการจาหนายเพ่อื ยกระดับผลิตภัณฑ/สนิ คา กศน. 5. พัฒนาศกั ยภาพและประสิทธิภาพในการทางานของบคุ ลากร กศน. 5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถด านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills) ใหกับบุคลากรทุกประเภททุกระดับ รองรับความเปนรัฐบาลดิจิทัลอยางมีประสิทธิภาพ รวมท้ังพัฒนา ครูใหมีทักษะความรู และความชานาญในการใชภาษาอังกฤษ การผลิตส่ือการเรียนรูและการจัดการเรียนการ สอนเพื่อฝกทักษะการคิดวเิ คราะหอยางเปนระบบและมเี หตผุ ล เปนขน้ั ตอน ภารกจิ ตอเนอื่ ง 1. ดานการจัดการศึกษาและการเรยี นรู 1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน 1.3 การศึกษาตอเนอ่ื ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอยางยั่งยืน โดยใหความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อ การมีงานทาในกลุมอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ บรกิ ารรวมถงึ การเนนอาชีพชางพ้ืนฐาน ทส่ี อดคลองกบั ศกั ยภาพของผูเรยี น ความตองการและศกั ยภาพของแต ละพืน้ ทีม่ ีคณุ ภาพไดมาตรฐานเปนทีย่ อมรับ สอดรบั กับความตองการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสรางความเขมแข็งใหกับศูนยฝกอาชีพชุมชน โดยจดั ใหมกี ารสงเสริมการรวมกลุมวิสาหกิจชุมชน การ พัฒนาหน่ึงตาบลหน่ึงอาชีพเดน การประกวดสินคาดีพรีเม่ียม การสรางแบรนดของ กศน. รวมถึงการสงเสริม และจัดหาชองทางการจาหนายสินคาและผลิตภัณฑ และใหมีการกากับ ติดตาม และรายงานผลการจัด การศกึ ษาอาชพี เพอื่ การมงี านทาอยางเปนระบบและตอเนอื่ ง 2. ดานหลกั สตู ร สอื่ รูปแบบการจดั กระบวนการเรยี นรู การวดั และประเมนิ ผลงานบรกิ ารทางวชิ าการ และ การประกนั คณุ ภาพการศึกษา 2.1 สงเสรมิ การพฒั นาหลักสูตร รปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรูและกจิ กรรมเพอื่ สงเสรมิ การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และ หลกั สตู รทองถนิ่ ทส่ี อดคลองกบั สภาพบรบิ ทของพ้ืนท่แี ละความตองการของกลุมเปาหมายและชมุ ชน 2.2 สงเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน ส่ืออิเล็กทรอนิกสและสื่ออื่น ๆ ที่เอื้อตอการเรียนรูของผูเรียน กล่มุ เปาหมายทว่ั ไปและกลุมเปาหมายพิเศษ เพ่อื ใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดทุกที ทุกเวลา 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหไดมาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในท่ีสอดคลองกับบรบิ ทและภารกจิ ของ กศน. มากขนึ้ เพอื่ พรอมรับการประเมนิ คุณภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนักถงึ ความสาคัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ ดาเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาไดอยางตอเนื่องโดยใชการประเมินภายในดวยตนเอง และ จัดใหมีระบบสถานศึกษาพี่เล้ียงเขาไปสนับสนุนอยางใกลชิด สาหรับสถานศึกษาที่ยังไมไดเขารับการประเมิน คุณภาพภายนอก ใหพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานท่กี าหนด

6. ดานบคุ ลากรระบบการบริหารจดั การ และการมีสวนรวมของทกุ ภาคสวน 6.1 การพัฒนาบุคลากร 1) พัฒนาบคุ ลากรทกุ ระดบั ทกุ ประเภทใหมีสมรรถนะสงู ข้ึนอยางตอเนอื่ ง ทงั้ กอนและระหวางการ ดารงตาแหนงเพอ่ื ใหมีเจตคตทิ ดี่ ีในการปฏบิ ตั งิ านใหมีความรแู ละทักษะตามมาตรฐานตาแหนง ใหตรงกบั สาย งาน ความชานาญ และความตองการของบุคลากรสามารถปฏบิ ตั งิ านและบริหารจดั การการดาเนนิ งานของหน วยงานและสถานศกึ ษาไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพรวมทง้ั สงเสริมใหขาราชการในสังกดั พัฒนาตนเองเพื่อเลือ่ นตา แหนงหรอื เลือ่ นวทิ ยฐานะโดยเนนการประเมินวทิ ยฐานะเชงิ ประจักษ 3) พัฒนาหัวหนา กศน.ตาบล/แขวงใหมีสมรรถนะสูงข้ึน เพื่อการบริหารจัดการ กศน.ตาบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการเปนนักจัดการความรูและผูอานวย ความสะดวกในการเรยี นรูเพ่ือใหผเู รียนเกิดการเรียนรูทม่ี ีประสทิ ธภิ าพอยางแทจรงิ 4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เก่ียวของกับการจัดการศึกษาใหสามารถจัดรูปแบบการเรียนรูได อยางมีคุณภาพโดยสงเสริมใหมีความรูความสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู การวดั และประเมนิ ผล และการวิจัยเบ้ืองตน 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาแ ละการเรียนรู ใหมีความรู ความสามารถและมคี วามเปนมอื อาชีพในการจดั บรกิ ารสงเสริมการเรยี นรูตลอดชวี ิตของประชาชน 6) สงเสริมใหคณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสวนรวมในการบริหาร การดาเนนิ งานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน.อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ใหสามารถทาหนาท่ีสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยไดอยางมปี ระสิทธิภาพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางความสัมพันธระหวางบุคลากรรวมท้ังภาคีเครือขายท้ังในและตาง ประเทศในทกุ ระดบั โดยจัดใหมีกจิ กรรมเพ่ือเสรมิ สรางสัมพันธภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพในการทางานรวมกัน ในรปู แบบทห่ี ลากหลายอยางตอเน่อื งอาทิ การแขงขนั กฬี า การอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารพัฒนาประสทิ ธภิ าพ ในการทางาน 6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ 1) พฒั นาระบบฐานขอมูลใหมีความครบถวนถูกตอง ทนั สมยั และเช่อื มโยงกันทว่ั ประเทศอยาง เปนระบบเพื่อให หนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนาไปใช เปนเครื่องมือสาคัญในการบริหารการ วางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมท้ังจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอยางมีประสทิ ธภิ าพ 2) เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การงบประมาณ โดยพฒั นาระบบการกากับ ควบคมุ และเรงรดั การ เบิกจายงบประมาณใหเปนตามเปาหมายที่กาหนดไว 3) พัฒนาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเชื่อมโยง กันทั่วประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดทันความตองการเพ่ือประโยชนในการจัดการศึกษาใหกับผูเรียน และการบรหิ ารจดั การอยางมีประสิทธิภาพ 5) สรางความรวมมือของภาคีเครือขายทุกภาคสวน ท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมทั้งในประเทศ และตางประเทศ รวมท้ังสงเสริมและสนับสนุนการมสี วนรวมของชุมชนเพ่ือสรางความเขาใจ และใหเกดิ ความร วมมอื ในการสงเสรมิ สนับสนนุ และจดั การศึกษาและการเรยี นรูใหกับประชาชนอยางมคี ณุ ภาพ 7) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการใหทันสมัย มีความโปรงใส ปลอดการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ บริหารจัดการบนขอมูลและหลักฐานเชิงประจกั ษ มุงผลสัมฤทธมิ์ คี วามโปรงใส

6.4 การกากบั นิเทศติดตามประเมนิ และรายงานผล 1) สรางกลไกการกากบั นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั ใหเช่ือมโยงกับหนวยงาน สถานศึกษา และภาคีเครอื ขายทง้ั ระบบ 2) ใหหนวยงานและสถานศึกษาทเี่ ก่ียวของทุกระดับ พฒั นาระบบกลไกการกากับ ติดตามและรายงาน ผลการนานโยบายสูการปฏิบัติ ใหสามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแต ละเรื่องไดอยาง มีประสิทธภิ าพ 3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร และส่ืออ่ืน ๆ ทเ่ี หมาะสม เพื่อการกากับนิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยางมีประสทิ ธิภาพ 4) พฒั นากลไกการตดิ ตามประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคารบั รองการปฏิบตั ิราชการประจาปของ หนวยงาน สถานศึกษา เพ่ือการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคารับรองการปฏิบัติราชการประจาป ของสานักงาน กศน.ใหดาเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ เปนไปตามเกณฑ วธิ ีการ และระยะเวลาทีก่ าหนด 5) ใหมีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหนวยงานภายในและภายนอกองคกร ตั้งแต สวนกลาง ภูมิภาค กลุมจังหวัด จังหวัด อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพ่ือความเป นเอกภาพในการ ใชขอมูลและการพัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ๒. หลกั การและเหตุผล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ (แก้ไขเพ่ิมเติมพุทธศักราช ๒๕๔๕) และพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดจุดมุ่งหมายสาคัญในการพัฒนาคนไทยให้ได้รับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการ เปลี่ยนแปลงของสถานการณป์ ัจจบุ ันและอนาคต ทั้งดา้ นประชากร การเมอื งการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม รวมท้ังการเชื่อมโยงสังคมเศรษฐกิจภูมิภาคเอเชีย ระดับภูมิภาค และระดับโลก จึงจาเป็นท่ีจะต้องจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนได้รับการเรียนรู้ที่ สอดคล้องกบั การเปล่ียนแปลงของโลก ทั้งดา้ นการพฒั นาอาชพี การพฒั นาทกั ษะชวี ิต และการพัฒนาสงั คม และชมุ ชน ซึง่ จาเป็นต้องใชว้ ธิ กี ารและรูปแบบที่หลากหลาย ตามความต้องการและความสนใจของประชาชน ทุกกลุ่มวัย โดยเน้นกระบวนการคิดเพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจาวนั ตามหลักปรัชญาคิดเป็นและหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง การจัดการศึกษาเพ่ือตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ต้องมุ่งเน้นการพัฒนา เพ่ือเพ่ิมศักยภาพและขีดความสามารถของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ให้สามารถประกอบอาชีพ สร้างรายได้ ที่ม่ังคั่งและมั่นคง เป็นบุคคลท่ีมีวินัย เป่ียมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึกรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่นและสังคม เน้นการจัดการศึกษาที่ยึดพ้ืนท่ีเป็นฐาน โดยสถานศึกษาต้องวิเคราะห์ศักยภาพ ๕ ด้าน ของแต่ละพ้ืนที่ ได้แก่ ศักยภาพด้านทรัพยากรธรรมชาติ ศักยภาพด้านภูมิอากาศ ศักยภาพด้านภูมิประเทศ ศักยภาพด้านศิลปวัฒนธรรมประเพณี และศักยภาพด้านทรัพยากรมนุษย์ และวิเคราะห์ข้อมูลวิถีการดาเนิน ชีวิต ความต้องการ และประชาชนในภูมิภาคต่าง ๆ ที่เป็นผู้ใช้บริการผลผลิตของสถานศึกษา การวิเคราะห์ ขอ้ มลู ดังกลา่ วจะนามาส่กู ารกาหนดหลักสตู รอาชีพทส่ี ถานศกึ ษาจะจัดการเรยี นการสอน การจัดการศึกษาของสานักงาน กศน. เพื่อตอบสนองนโยบายดังกล่าว จึงต้องปรับเปล่ียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ ท่ีเน้นการปฏิบัติจริง มีการศึกษาดูงานเพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์ ในอาชีพโดยตรง ผู้สอนเป็นวิทยากรท่ีมีความรู้ ความสามารถ และเป็นผู้ประกอบการในอาชีพน้ัน ๆ ให้ความสาคัญต่อการประเมินผลการจบหลักสูตรที่เน้นทักษะ ความสามารถ และการมีผลงาน ชิ้นงาน ที่ได้ มาตรฐานออกสู่ตลาดได้ การพัฒนาหลักสูตรอาชีพ จึงต้องปรับใหม่โดยการพัฒนาให้ครบวงจร ประกอบด้วย ช่องทางการประกอบอาชีพ ทักษะของอาชีพ การบริหารจัดการ และโครงการอาชีพพร้อมแหล่งเงินทุน และ ให้ผู้เรียนท่ีเรียนจบจากหลักสูตรอาชีพมีความมั่นใจว่าจะสามารถประกอบอาชีพสร้างรายได้ ได้อย่างแท้จริง

จึงขอให้สถานศึกษาที่นาหลักสูตรที่ได้พัฒนาแล้วน้ัน นามาคัดเลือกให้เหมาะสมกับความต้องการของพ้ืนท่ี และนาไปอนมุ ตั ใิ ช้ในการจัดการเรียนการสอนต่อไป จากแนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ การพฒั นาศกั ยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้ เรอื่ ง ส่งเสริมสนับสนนุ ให้คนทุกช่วงวัย มีทักษะ ความรู้ ความสามารถและการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม เต็มตามศกั ยภาพในแตล่ ะช่วงวยั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร จึงได้นานโยบาย ยุทธศาสตร์และความจาเป็นดังกล่าวสู่การปฏิบัติเพ่ือการพัฒนาหลักสูตรอาชีพให้กับกลุ่มเป้าหมายและ ประชาชนมีรายได้และมีอาชีพเสริมการทาเฉาก๊วยนมสดสาหรับผู้ทีส่ นใจควรศึกษาหาความรู้และฝึกปฏิบัติจน เกิดความชานาญสามารถนาไปประกอบอาชีพให้กบั ตนเองได้ ดังนั้นการส่งเสริมสนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถและการพัฒนา คุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย และเพื่อตอบสนองความต้องการของ ประชาชน จึงได้จัดทาโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรการทาเฉาก๊วยนมสด ให้กับประชาชนและ ผู้สนใจให้สามารถนาไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว ต้องการได้รับการพัฒนา และใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ ๓. วัตถุประสงค์ ๓.๑ เพือ่ ใหป้ ระชาชนผรู้ บั บรกิ ารมคี วามร้คู วามเข้าใจการทาเฉากว๊ ยนมสด ๓.๒ เพื่อให้ประชาชนผรู้ บั บรกิ ารมีทกั ษะและมองเหน็ ชอ่ งทางการทาเฉาก๊วยนมสด ๔. กลุ่มเปา้ หมาย ๔.๑ เชิงปริมาณ ๔.๑.๑ ประชาชน และผสู้ นใจ ตาบลกระแชงและตาบล จานวน 8 คน ๔.๒ เชิงคุณภาพ ๔.๒.๑ ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ เกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในการทา เคก้ ลกู สม้ โดยเน้นการปฏบิ ตั จิ ริง ๔.๒.๒ ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีทักษะ และมองเห็นช่องทางในการทาเฉาก๊วยนมสด สามารถ นาความรไู้ ปปรับใช้ในการประกอบอาชพี ได้

๕. วิธดี าเนินการ กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุม่ เป้าหมาย พื้นที่ดาเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ ๑. ข้นั วางแผน ( Plan ) ๑.๑ สารวจกลุ่มเปา้ หมายและความตอ้ งการ ๑. เพอ่ื ให้ พฤษภาคม ค่าตอบแทน ๑.๒ รวบรวมและวิเคราะห์ขอ้ มูลเพ่อื จัด ประชาชน 2565 วิทยากร กระบวนการเรยี นรใู้ หต้ รงตามศกั ยภาพความ ผรู้ บั บริการมี ๑,๐๐๐ บาท ต้องการของผู้เรยี น ความรคู้ วาม ค่าวสั ดุ ๑.๓ ประชมุ วางแผนช้แี จงการปฏิบตั ิงาน เขา้ ใจการทา 600 บาท เฉาก๊วยนมสด - จัดทาหลักสตู รและอนุมัตหิ ลักสูตร - เตรียมสือ่ เอกสาร , วัสดุ ๒. เพื่อให้ ประชาชนและ ณ ศาลา 13 ๒. ขัน้ ดาเนินการ ( Do ) ประชาชน ผูส้ นใจตาบล ประชาคม มิถนุ ายน ๒.๑ ดาเนินการตามโครงการท่ีเสนอ ผู้รบั บริการมี กระแชงและ หมู่ 3 ๒๕๖๕ - กิจกรรมการศกึ ษาต่อเนือ่ ง ทกั ษะและ ตาบล ตาบลกระแชง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทาเฉากว๊ ยนม มองเห็นช่อง ชา้ งนอ้ ย อาเภอบางไทร สด ทางการทา จานวน 8 คน จังหวดั เคก้ ลูกส้ม พระนครศรีอยธุ ยา ๓. ข้ันตรวจสอบ ( Check ) ๓.๑ ประเมนิ ความพงึ พอใจ 15 มถิ นุ ายน ( แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์ ) ๒๕๖๕ ๓.๒ การนเิ ทศติดตามผล ๔. ขน้ั ปรับปรงุ แกไ้ ข ( Action ) 20 ๔.๑ รวบรวมและวเิ คราะห์ขอ้ มลู จาก มิถุนายน ๒๕๖๕ แบบสอบถามความพงึ พอใจและแบบ ประเมินผลความรู้ , แบบนิเทศการจัดกิจกรรม ๔.๒ ประชมุ คณะทางานเพื่อรบั ทราบผล การดาเนนิ งานท่ีผ่านมาในการจัดกิจกรรม ๔.๓ นาปัญหา/อุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ ในการจัดกจิ กรรมมาเปน็ แนวทางในการ วางแผนพฒั นาในการจดั กิจกรรมครัง้ ต่อไป ๖. งบประมาณ งบประมาณประจาปี 256๕ แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพ่ือสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคล่อื นการพฒั นาการศึกษาที่ย่ังยืน กจิ กรรมส่งเสริมศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน (กลุ่มสนใจ) รหัสงบประมาณ 20002350527000๒๓ รหัสกิจกรรมหลัก 200021400P2๕๗๙ แหล่งของเงนิ 6๕11500 ศนู ยต์ ้นทุน 2000200214 จานวนเงิน ๑,๖๐๐ บาท (หน่ึงพันหกบาทถ้วน) ๑. คา่ วิทยากร จานวน ๓ ช่วั โมง x ๒๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๐๐๐ บาท ๒. คา่ วสั ดุ เป็นเงิน 600 บาท รวมเปน็ เงินทงั้ สิ้น 1,6๐๐ บาท (หนึ่งพนั หกรอ้ ยบาทถว้ น) **หมายเหตุ ถัวจา่ ยทุกรายการ

๗. ระยะเวลา วนั ที่ 13 มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๕ ๘. สถานที่ ณ ศาลาประชาคม หมทู่ ี่ 3 ตาบลกระแชง อาเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ๙. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ ๙.๑ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางไทร ๙.๒ กศน.ตาบลกระแชงและตาบลชา้ งนอ้ ย ๑๐. โครงการทีเ่ กีย่ วข้อง ๑๐.๑ โครงการจดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ติ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ๑๐.๒ โครงการจดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาสังคมและชมุ ชน ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ๑๐.๓ โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ๑๐.๔ โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๕ ๑๑. หนว่ ยงานเครอื ขา่ ย ๑๑.๑ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลกระแชง ๑๑.๒ ผู้นาชมุ ชน ๑๑.๓ ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ๑๒. ผลลพั ธ์ (OUT COME) ๑๒.๑ ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในการทาเฉาก๊วยนมสดโดยเน้น การปฏิบัติจริง ๑๒.๒ ผเู้ รยี นมที ักษะ และมองเห็นชอ่ งทางในการทาเฉาก๊วยนมสด สามารถนาความรไู้ ปปรับใช้ ในการประกอบอาชพี ได้ ๑๓. ดชั นีช้ีวัดผลสาเรจ็ ของโครงการ ๑๓.๑ ตวั ชว้ี ดั ผลผลติ (OUTPUT) ๑๓.๑.๑ ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ เกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการทาเฉาก๊วย นมสดโดยเน้นการปฏิบตั จิ รงิ ๑๓.๑.๒ ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีทักษะ และมองเห็นช่องทางในการทาเฉาก๊วยนมสดสามารถนา ความรไู้ ปปรบั ใช้ในการประกอบอาชีพได้ ๑๓.๒ ตวั ช้ีวัดผลลพั ธ์ (OUTCOME) ๑๓.๒.๑ ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในการทาเฉาก๊วยนมสดโดยเน้น การปฏบิ ัตจิ ริง ๑๓.๒.๒ ผู้เรียนมีทักษะ และมองเห็นช่องทางในการทาเฉาก๊วยนมสดสามารถนาความรู้ไปปรับ ใชใ้ นการประกอบอาชพี ได้

๑๔. การติดตามและประเมินผล ๑๔.๑ แบบสารวจความพึงพอใจ ๑๔.๒ แบบประเมินผลความรู้ ๑๔.๓ แบบนเิ ทศติดตามงาน ๑๔.๔ แบบวดั ผลและประเมนิ ผล ๑๔.๕ ติดตามจากแบบรายงานผลการดาเนินโครงการฯ

บทที่ ๒ เอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง หลักสูตรการจัดการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง หลกั สูตรอาชีพ การทาเฉาก๊วยนมสด จานวน ๓ ชัว่ โมง หลักสูตรอาชพี อตุ สาหกรรมและหัตถกรรม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ความเปน็ มา ตามยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศง 2561-2580) ขอ้ 2 ยุทธศาสตรช์ าติด้านการสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน การพัฒนาอุตสาหกรรม เพิ่มทักษะอาชีพ พัฒนาแรงงานทั่วไปให้เป็นแรงงานที่มีคุณภาพ เป็นผู้เชี่ยวชาญตรงตามความต้องการของการตลาด ทาให้แรงงานมีโอกาสท่ีหลากหลายในการเลือกการ ประกอบอาชีพท่ีเหมาะสมกับชีวิต และความต้องการของตนเอง สอดคล้องกับจุดการดาเนินงานประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2565 ของสานกั งาน กศน. ขอ้ 2. ด้านการสรา้ งสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.2 พัฒนา หลักสูตรอาชพี ระยะส้ันทเี่ น้น Ner skill Up skill และ Re – lkill ที่สอดคล้องกับบริบทพ้ืนที่ ความตอ้ งการ ของกลุม่ เป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกล่มุ อาชีพใหมท่ ่ีรองรับ Disruptibve Techmology 2.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สนิ ค้าบริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น “สง่ เสริมความรู้ สร้างอาชีพ เพ่ิมรายได้ และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิปัญญา ท้องถ่ิน เพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิม พัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชนตลอดจนเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์และช่องทางการ จาหนา่ ย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร จัดทาหลักสูตรกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทาเฉาก๊วยนมสด เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจทักษะ หลักสูตรการทาการทาเฉาก๊วยนมสด สามารถบริหารจัดการ การทาเฉาก๊วยนมสด ได้อยา่ งถูกตอ้ งตามขั้นตอนเพ่ือให้ผู้เรยี นสามารถนาความรู้ไปใช้ ในการประกอบอาชพี และสรา้ งรายได้ หลกั การของหลกั สูตร 1. เปน็ หลกั สูตรทตี่ อบสนองความต้องการเรยี นรขู้ องประชาชนในเร่อื งของการทาเฉากว๊ ยนมสด 2. เป็นหลกั สูตรการประกอบอาชีพทสี่ ง่ เสริมการมีงานทาของประชาชน จุดมงุ่ หมาย 1. เพอ่ื ใหป้ ระชาชนผ้รู บั บริการมีความรู้ความเขา้ ใจการทาเฉากว๊ ยนมสด 2. เพอ่ื ให้ประชาชนผู้รบั บรกิ ารมที ักษะและมองเห็นช่องทางการทาเฉากว๊ ยนมสด เป้าหมาย ประชาชนและผ้สู นใจอาเภอบางไทร ระยะเวลา ภาคทฤษฎี 1 ชว่ั โมง ภาคปฏบิ ตั ิ 2 ชวั่ โมง รวม 3 ชวั่ โมง

โครงสร้างหลกั สูตร ท่ี เรอ่ื ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เน้ือหา การจดั กระบวน จานวนชั่วโมง การเรียนรู้ ทฤษฎี ปฎิบตั ิ 1 การทา 1. เพอื่ ใหผ้ เู้ รียน 1. ความสาคญั ในการ 1.ศกึ ษาขอ้ มูลจากเอกสาร 1 2 เฉาก๊วยนม มีความรู้ ความเขา้ ใจ ประกอบอาชพี การทา สถานประกอบการ สอื่ บคุ คล สด ในการทาเฉากว๊ ยนม เฉาก๊วยนมสด ในชมุ ชน เพอื่ นาขอ้ มลู มา สด 1.1 ความปลอดภัยใน วิเคราะหแ์ ละใช้ในการ 2. เพื่อให้ผู้เรียนนา การทาเฉากว๊ ยนมสด ประกอบอาชพี ที่มคี วาม ความรทู้ ไ่ี ดร้ ับในการ 1.2 การใชเ้ ครอ่ื งมอื และ เป็นไปไดใ้ นชมุ ชน ทาเฉาก๊วยนมสดไปใช้ อุปกรณ์ 1. วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรู้ ในชีวิตประจาวนั ได้ 1.3 วัสดุ-อุปกรณท์ ี่ใชใ้ น ในเร่อื งต่อไปนี้ การทาเฉากว๊ ยนมสด 1.1 ความปลอดภยั ในการทา 1.4 ความรู้เบอื้ งตน้ ในการ เฉาก๊วยนมสด ทาเฉาก๊วยนมสด 1.2 การใชเ้ คร่ืองมือและ 1.5 เทคนิคการทาเฉากว๊ ย อปุ กรณ์ นมสด 1.3 วัสดุ-อุปกรณ์ ทใ่ี ชใ้ น 1.6 การทาเฉาก๊วยนมสด การทาเฉากว๊ ยนมสด 2. ความเปน็ ไปไดใ้ นการ 1.4 ความร้เู บื้องตน้ ในการทา ประกอบอาชพี เคก้ ลูกส้ม 3. การลดตน้ ทนุ การผลติ 1.5 เทคนิคการทาเฉากว๊ ย แต่คุณภาพคงเดมิ นมสด 1.6 การทาเฉาก๊วยนมสด 2. วทิ ยากรและผเู้ รยี น รว่ มกันแลกเปลีย่ นเรยี นรู้การ ทาเฉากว๊ ยนมสด 3. วทิ ยากรบรรยายให้ความรู้ และสาธติ การทาเฉาก๊วยนม สด 4. ผู้เรียน เรยี นรแู้ ละฝกึ การ ทาเฉากว๊ ยนมสด 5. ดาเนนิ การตาม กระบวนการจดั การตลาด เช่น การคดิ ต้นทุนการผลิต การกาหนดราคาขาย และ การสง่ เสรมิ การขาย

สือ่ การเรียนรู้ 1. ส่อื บุคคล/วิทยากร 2. ตวั อย่างชิน้ งาน 3. เอกสารประกอบการเรยี น 4. ฝึกปฎบิ ัติจรงิ การวัดผลประเมินผล 1. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ 2. แบบประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง 3. แบบตดิ ตามผเู้ รยี นหลงั จบหลกั สตู รการศึกษาตอ่ เน่อื ง 4. แบบรายงานผลการจัดการศึกษาต่อเนอ่ื ง เกณฑก์ ารจบหลักสูตร 1. มเี วลาเรียนและฝึกปฎิบัติตามหลักสูตรไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80 2. มผี ลการประเมินผ่านตลอดหลักสตู รไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 60 3. มผี ลการประเมนิ ชน้ิ งานโดยวทิ ยากรไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80

บทที่ ๓ สรปุ ผลการดาเนินงาน ขั้นตอนการดาเนินงานในการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาต่อเนอื่ ง รูปแบบกลุม่ สนใจ หลักสตู รการทาเฉากว๊ ย นมสด เป้าหมาย จานวน ๖ คน จัดได้ 8 คน วันท่ี 13 มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ ศาลาประชาคม หมู่ท่ี 3 ตาบลกระแชง อาเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา มดี ังน้ี ๑. ข้นั วางแผน (Plan) ๑.๑ สารวจความตอ้ งการ วิเคราะห์ความตอ้ งการ ของกลุม่ เป้าหมาย ๑.๒ ประชุมชแี้ จงผเู้ ก่ียวข้องและแตง่ ต้งั คณะ ดาเนินงาน ๑.๓ จดั ทาหลกั สตู ร/ อนมุ ัติหลักสูตร ๑.๔ ประสานเครือขา่ ย ๒. ขน้ั ดาเนนิ การ (Do) ดาเนนิ การจัดกิจกรรม ๒.๑ จดั ฝึกอบรม กจิ กรรมการศกึ ษาต่อเนอื่ ง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลกั สูตรการทาเฉากว๊ ยนมสด จานวน 3 ช่ัวโมง ๓. ข้นั ตรวจสอบ (Check) ๓.๑ ประเมนิ ความพงึ พอใจ (แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์) ๓.๒ การนเิ ทศติดตามผล ๔. ขั้นปรับปรงุ แกไ้ ข (Action) ๔.๑ นาผลการนิเทศมาปรบั ปรงุ พฒั นา ข้อมูลผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ เป้าหมายผ้เู ขา้ รว่ มโครงการจานวนท้งั หมด ๖ คน จัดได้ 8 คน ๑. เพศ เพศชาย จานวน ๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐๐.๐๐ เพศหญิง จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน 8 คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ ๒. อายุ คิดเป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ โดยมีอายเุ ฉล่ยี ตง้ั แต่ ต่ากว่า ๑๕ ปี จานวน ๐ คน คิดเปน็ ร้อยละ 12.50 อายุ ๑๕ –๒๙ ปี จานวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 00.00 อายุ ๓๐ –๓๙ ปี จานวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 37.50 อายุ ๔๐ –๔๙ ปี จานวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 12.50 อายุ ๕๐ –๕๙ ปี จานวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 37.50 และอายุ ๖๐ ปีขนึ้ ไป จานวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน 8 คน

๓. ระดบั การศึกษา ตา่ กวา่ ประถมศกึ ษา จานวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 25.๐๐ คดิ เป็นร้อยละ 00.00 ประถมศกึ ษา จานวน 0 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.50 คดิ เป็นร้อยละ 25.๐๐ มธั ยมศึกษาตอนตน้ จานวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 25.๐๐ คดิ เปน็ ร้อยละ 12.50 มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 00.๐๐ คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ อนปุ รญิ ญา/ปว.ส. จานวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ ปรญิ ญาตรี จานวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 50.๐๐ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 25.00 สงู กวา่ ปริญญาตรี จานวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 00.00 คดิ เปน็ ร้อยละ 12.50 รวม จานวน 8 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.50 คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ ๔. ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการฯ โดยเฉล่ยี ประกอบอาชพี รับราชการ จานวน ๐ คน รับจา้ ง จานวน 4 คน เกษตรกร จานวน 2 คน คา้ ขาย จานวน 0 คน พ่อบ้าน/แม่บ้าน จานวน 1 คน อาชีพอืน่ ๆ จานวน 1 คน รวม จานวน 8 คน ผลการดาเนินงาน ๑. จานวนผู้เข้าร่วมโครงการฯ ท่ีตั้งเป้าหมายไว้ จานวน ๖ คน จัดได้ 8 คน ประกอบอาชีพตาม กลุม่ เป้าหมาย 8 คน ๒. วิทยากรให้ความรู้ โดยวธิ กี ารบรรยาย วธิ ีการสาธติ และวธิ ีการฝึกปฏบิ ตั ิจริง ๓. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ในระดับมากท่ีสุด (ตามเอกสารบทที่ ๔ แบบสอบถามความพงึ พอใจ และสรปุ แบบสอบถามความพงึ พอใจ) ปญั หาและอปุ สรรคในการปฏิบตั งิ าน งบประมาณในการจดั ซอ้ื วัสดมุ จี านวนจากดั วสั ดอุ ุปกรณ์ในการฝึกมจี านวนจากดั ข้อเสนอแนะ งบประมาณจดั สรรคา่ วสั ดุใหเ้ พียงพอต่อจานวนผเู้ รยี น

บทท่ี ๔ สรุปแบบสอบถามความพงึ พอใจ หลกั สูตร/โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน จานวน 3 ชว่ั โมง รปู แบบกลมุ่ สนใจ หลักสูตรการทาเฉากว๊ ยนมสด วันที่ 13 เดือน มถิ ุนายน พ.ศ. 256๕ สถานท่ีจดั ศาลาประชาคม หมทู่ ี่ 3 ตาบลกระแชง อาเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา ข้อมลู พน้ื ฐานของผูป้ ระเมินความพึงพอใจ คาชแ้ี จง แบบประเมินความพึงพอใจ มี ๒ ตอน ตอนที่ ๑ ขอ้ มูลท่วั ไป คาช้แี จง โปรดใสเ่ คร่ืองหมาย  ลงในชอ่ ง  ที่ตรงกบั ข้อมูลของท่านเพียงช่องเดียว เพศ  ชาย  หญิง อายุ  ต่ากวา่ ๑๕ ปี  ๑๕-๒๙ ปี  ๓๐-๓๙ ปี  ๔๐-๔๙ ปี  ๕๐-๕๙ ปี  ๖๐ ปขี ้ึนไป ระดับการศกึ ษา  ต่ากวา่ ประถมศกึ ษา ประถมศกึ ษา  มธั ยมศกึ ษาตอนต้น  มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย  อนุปริญญา/ปว.ส.  ปรญิ ญาตรี  สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี  อื่นๆ โปรดระบ.ุ ............................................................................................ ประกอบอาชีพ  ผนู้ าทอ้ งถนิ่  อบต./เทศบาล  พนกั งานรัฐวสิ าหกจิ  ทหารกองประจาการ  เกษตรกร  รบั ราชการ  คา้ ขาย  รบั จา้ ง  อสม.  แรงงานต่างดา้ ว  พ่อบา้ น/แม่บ้าน  อืน่ ๆ โปรดระบ.ุ .........................

ตอนท่ี ๒ ดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมและความพึงพอใจของผู้เรียน/ผูร้ ับบรกิ าร คาชแี้ จง โปรดใส่เครือ่ งหมาย  ลงในช่อง  ทต่ี รงกับความคดิ เหน็ ของทา่ นเพียงชอ่ งเดยี ว ขอ้ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 1 ความพงึ พอใจดา้ นเนือ้ หา มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย 1 เน้ือหาตรงตามความต้องการ ทีส่ ดุ กลาง ท่ีสดุ 2 เนื้อหาเพยี งพอตอ่ ความต้องการ 3 เนอื้ หาปัจจุบนั ทนั สมัย 4 เนื้อหามปี ระโยชน์ตอ่ การนาไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม 5 การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นอบรม 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เป้าหมาย 9 วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร 10 วทิ ยากรมคี วามรู้ความสามารถในเร่ืองท่ีถา่ ยทอด 11 วิทยากรมีเทคนคิ การถา่ ยทอดใช้ส่ือเหมาะสม 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มสี ว่ นร่วมและซักถาม ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก 13 สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก 14 การส่อื สาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่อื ให้เกดิ การเรยี นรู้ 15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ญั หา ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

บทท่ี ๕ สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ หลักสตู ร/โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน จานวน 3 ช่ัวโมง รปู แบบกล่มุ สนใจ หลักสูตรการทาเฉากว๊ ยนมสด วันท่ี 13 เดือน มิถนุ ายน พ.ศ. 256๕ สถานท่ีจัด ศาลาประชาคม หมทู่ ่ี 3 ตาบลกระแชง อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ตอนที่ ๑ ข้อมลู ทว่ั ไป ผู้เรยี นหลกั สูตรการทาเฉากว๊ ยนมสด จานวน 3 ช่วั โมง เป้าหมาย ๖ คน จดั ได้ 8 คน ๑. เพศ เพศชาย จานวน ๐ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๐๐.๐๐ เพศหญิง จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน 8 คน คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ ช่ือแผนภมู ิ 8 7 6 5 4 3 รวม หญิง 2 ชาย 1 0 คน ชาย หญิง รวม

๒. อายุ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๐๐.๐๐ โดยมีอายเุ ฉลี่ยตง้ั แต่ ต่ากวา่ ๑๕ ปี จานวน ๐ คน คิดเปน็ ร้อยละ 12.50 อายุ ๑๕ –๒๙ ปี จานวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 00.00 อายุ ๓๐ –๓๙ ปี จานวน 0 คน คดิ เป็นร้อยละ 37.50 อายุ ๔๐ –๔๙ ปี จานวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.50 อายุ ๕๐ –๕๙ ปี จานวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 37.50 และอายุ ๖๐ ปีขึน้ ไป จานวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน 8 คน ช่ือแผนภมู ิ 88 8 7 6 5 4 33 33 3 2 11 11 1 0 000 0 0 0 0 000 15-29 60 ปีขนึ้ ไป รวม 30-39 40-49 50-59 0 ต่ากวา่ 15 ปี ชาย หญิง รวม

๓. ระดบั การศกึ ษา ตา่ กว่าประถมศึกษา จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 25.๐๐ คิดเป็นรอ้ ยละ 00.00 ประถมศกึ ษา จานวน 0 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 12.50 คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.๐๐ มธั ยมศึกษาตอนตน้ จานวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 25.๐๐ คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.50 มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 00.๐๐ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ อนุปรญิ ญา/ปว.ส. จานวน 2 คน ปริญญาตรี จานวน 1 คน สูงกว่าปริญญาตรี จานวน 0 คน รวม จานวน 8 คน 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ชาย หญิง รวม

๔. ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการฯ โดยเฉลี่ยประกอบอาชพี รบั ราชการ จานวน ๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ คิดเป็นรอ้ ยละ 50.๐๐ รบั จ้าง จานวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 25.00 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 00.00 เกษตรกร จานวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 12.50 คิดเป็นร้อยละ 12.50 คา้ ขาย จานวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ พอ่ บา้ น/แมบ่ ้าน จานวน 1 คน อาชพี อนื่ ๆ จานวน 1 คน รวม จานวน 8 คน ช่ือแผนภมู ิ 8 7 6 5 4 3 2 รวม 1 หญิง ชาย 0 ชาย หญิง รวม

ตอนท่ี ๒ ความพงึ พอใจต่อการจัดกิจกรรมการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลกั สตู รการทาเฉากว๊ ยนมสด จานวน 3 ชัว่ โมง เป้าหมาย ๖ คน จดั ได้ 8 คน ข้อ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดบั ความพงึ พอใจ หมาย เหตุ ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจด้านเนอื้ หา มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย 1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ ทีส่ ดุ กลาง ทสี่ ุด 2 เน้ือหาเพยี งพอตอ่ ความต้องการ 3 เน้อื หาปัจจุบนั ทนั สมยั 53 - - - 4 เน้ือหามปี ระโยชนต์ ่อการนาไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต 53 - - - ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม 44 - - - 5 การเตรียมความพร้อมกอ่ นอบรม 53 - - - 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ 7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 71 - - - 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมาย 9 วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ 53 - - - ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร 10 วทิ ยากรมีความร้คู วามสามารถในเรื่องท่ีถ่ายทอด 53 - - - 11 วิทยากรมีเทคนิคการถา่ ยทอดใชส้ อ่ื เหมาะสม 12 วิทยากรเปดิ โอกาสให้มีสว่ นร่วมและซกั ถาม 53 - - - ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก 13 สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก 53 -- 14 การส่อื สาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรยี นรู้ 15 การบริการ การชว่ ยเหลอื และการแก้ปญั หา 62 - - - 62 - - - 71 - - - 62 - - - 53 - - - 53 - - - สว่ นประเมนิ ผลความพงึ พอใจด้วยเกณฑ์คะแนนเฉล่ยี รวม มคี า่ คะแนน ๑ คะแนนและเกณฑร์ ะดบั ความพึงพอใจเปน็ น้ี มีคา่ คะแนน ๒ มคี า่ คะแนน ๓ ระดับความพึงพอใจ / ความคดิ เหน็ ปรบั ปรุง มีคา่ คะแนน ๔ ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ พอใช้ มีคา่ คะแนน ๕ ระดบั ความพงึ พอใจ / ความคดิ เห็น ปานกลาง ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเห็น ดี ระดับความพงึ พอใจ / ความคดิ เห็น ดมี าก

และคา่ คะแนนเฉล่ียมเี กณฑด์ งั น้ี หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเห็น ปรบั ปรุง คะแนนเฉลีย่ ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถึง ระดบั ความพงึ พอใจ / ความคดิ เห็น พอใช้ คะแนนเฉลี่ย ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเหน็ ปานกลาง คะแนนเฉลย่ี ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถึง ระดับความพึงพอใจ / ความคดิ เห็น ดี คะแนนเฉลีย่ ๓.๕๐ – ๔.๕๐ หมายถึง ระดบั ความพงึ พอใจ / ความคิดเห็น ดีมาก คะแนนเฉลย่ี ๔.๕๐ – ๕.๐๐

สรปุ ความพงึ พอใจในภาพรวม จากการจดั กิจกรรม การจดั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง รปู แบบกลุ่มสนใจ หลกั สูตรการทาเฉากว๊ ยนมสด จานวน 3 ช่วั โมง เปา้ หมาย ๖ คน จัดได้ 8 คน พบว่าแบบสอบถามท้งั ๑๕ ข้อ ผู้เขา้ รว่ มโครงการมีความพงึ พอใจในระดบั “ดมี าก” ขอ้ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดบั ความพงึ พอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจด้านเนอื้ หา มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย 1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ ทีส่ ุด กลาง ท่สี ดุ 2 เนือ้ หาเพยี งพอต่อความตอ้ งการ 3 เน้อื หาปัจจุบนั ทันสมัย 53 - - - 4 เนอ้ื หามีประโยชน์ตอ่ การนาไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต 53 - - - 44 - - - 53 - - - 6 5 4 3 2 1 0 มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสดุ

ข้อ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดบั ความพงึ พอใจ หมาย เหตุ ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม มาก มาก ปาน น้อย น้อย 5 การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นอบรม ทีส่ ดุ กลาง ท่สี ุด 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ 7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 71 - - - 8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกล่มุ เปา้ หมาย 9 วธิ กี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ 53 - - - 53 - - - 53 - - - 53 -- ช่ือแผนภมู ิ 7 6 5 นอ้ ยที่สดุ 4 นอ้ ย 3 ปานกลาง 2 มาก 1 มากที่สดุ 0 มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสดุ

ขอ้ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวทิ ยากร มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย 10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรือ่ งทถี่ า่ ยทอด ท่สี ดุ กลาง ท่สี ดุ 11 วิทยากรมเี ทคนคิ การถา่ ยทอดใชส้ อ่ื เหมาะสม 12 วิทยากรเปดิ โอกาสให้มีสว่ นร่วมและซกั ถาม 62 - - - 62 - - - 8 71 - - - 7 6 5 4 3 2 1 0 มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสดุ

ขอ้ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย 13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก ทส่ี ดุ กลาง ท่ีสุด 14 การสอ่ื สาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ 15 การบริการ การชว่ ยเหลือและการแกป้ ัญหา 62 - - - 53 - - - 53 - - - ช่ือแผนภมู ิ 6 นอ้ ยท่ีสดุ 5 4 นอ้ ย 3 ปานกลาง 2 มาก 1 มากท่ีสดุ 0 มากที่สดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสดุ

ภาคผนวก

ภาพการจัดกจิ กรรมการจัดการศกึ ษาต่อเน่อื ง รปู แบบกลุม่ สนใจ หลักสตู รการทาเฉาก๊วยนมสด จานวน 3 ชั่วโมง ในวันที่ 13 มิถนุ ายน 2565 ณ ศาลาประชาคม ตาบลกระแชง อาเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

คณะผูจ้ ัดทา ที่ปรึกษา ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอนครหลวง นายสวสั ด์ิ บุญพรอ้ ม รกั ษาการในตาแหนง่ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางไทร บรรณารกั ษ์ชานาญการ นางสาววชิ ชุตา แก้วโมรา ครู นางสาวหทยั รตั น์ ศิรแิ กว้ ครผู ชู้ ่วย นางสาวฐติ ิพร พาสี คณะทางาน/ผรู้ วบรวมขอ้ มลู /สรปุ ผล/รายงานผล/จัดพมิ พ์รูปเลม่ นางสาวปยิ รตั น์ สขุ สมพืช ครู กศน.ตาบล นางสาวศทุ ธนิ ี จันยะนยั ครู กศน.ตาบล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook