บันทึกข้อความ สว่ นราชการ ศนู ย์ส่งเสริมการเรยี นรู้อาเภอบางไทร ที่ ศธ ๐๗๐๖๓.๐๕/ วันท่ี กรกฎาคม ๒๕๖๖ เรอื่ ง รายงานสรุปผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเน่ือง รูปแบบกลุม่ สนใจ หลักสูตรการทาขนมหม้อแกงถ่ัว จานวน ๕ ชว่ั โมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ เรยี น ผู้อานวยการศูนยส์ ่งเสรมิ การเรียนรู้อาเภอบางไทร ตามที่ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อาเภอบางไทร ได้อนุมัติการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเน่ือง รูปแบบ กล่มุ สนใจ หลกั สูตรการทาขนมหม้อแกงถ่ัว จานวน ๕ ชวั่ โมง ข้าพเจ้า นางสาวศุทธินี จันยะนัย ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล ผู้รับผิดชอบ กิจกรรมการจัดการศกึ ษา ต่อเนื่อง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทาขนมหม้อแกงถั่ว จานวน ๕ ชั่วโมง วันที่ ๒๐ มิถุนายน 256๖ ณ ท่ีทำกำรผู้ใหญ่บ้ำน หมู่ 3 ตำบลบ้ำนแป้ง อำเภอบำงไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ โดยมีเป้าหมาย ประชาชน ผู้สนใจในตาบลบ้านแป้ง จานวน ๖ คน จัดได้ ๖ คน บัดนี้กิจกรรม/โครงการ ดังกล่าวได้ดาเนินการเสร็จ เรียบรอ้ ยแล้ว จงึ ขอรายงานผลการจัดกจิ กรรม/โครงการ ดงั เอกสารรปู เลม่ แนบท้ายน้ี จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ (นางสาวศทุ ธนิ ี จันยะนยั ) ครู กศน.ตาบล (นางสาวฐติ พิ ร พาสี) หวั หนา้ งานการศกึ ษาต่อเน่ือง ทราบ อื่น ๆ ………………………….. (นางสาวหทัยรตั น์ ศริ ิแก้ว) ครู รักษาการในตาแหน่ง ผอู้ านวยการศูนย์สง่ เสรมิ การเรยี นรู้อาเภอบางไทร
คานา กศน.ตาบลบ้านแป้ง ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อาเภอบางไทร ได้ดาเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทาขนมหม้อแกงถ่ัว จานวน ๕ ชั่วโมง เพื่อให้ประชาชนผู้รับบริการมีความรู้ ความเข้าใจในการทาขนมหม้อแกงถ่ัว และเพ่ือให้ประชาชนผู้รับบริการมีทักษะและมองเห็นช่องทางการทา ขนมหม้อแกงถว่ั กศน.ตาบลบา้ นแปง้ ศนู ยส์ ง่ เสรมิ การเรยี นรู้อาเภอบางไทร หวงั เปน็ อยา่ งย่ิงว่าการจดั กิจกรรมการศึกษา ต่อเนื่อง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทาขนมหม้อแกงถ่ัว จานวน ๕ ช่ัวโมง จะเป็นประโยชน์กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม ในคร้งั นไ้ี มม่ ากก็น้อย และหากการจดั โครงการในครงั้ น้มี ขี ้อบกพร่องประการใด ทาง กศน.ตาบลบา้ นแปง้ ศูนย์สง่ เสรมิ การเรยี นรอู้ าเภอบางไทร ต้องขออภัยไว้ ณ ท่ีนดี้ ว้ ย รายงานสรุปฉบับนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลในการจัดทาโครงการ ภาพกิจกรรม ตลอดจนประเมินผล โครงการเพอ่ื เป็นการเพ่ิมพนู ความรแู้ ละเปน็ แนวทางในการจดั ทาโครงการในคร้งั ต่อไป ศทุ ธนิ ี จันยะนยั กรกฎาคม ๒๕๖๖
สารบัญ หนา้ เร่อื ง ๑ บนั ทกึ ขอ้ ความ 9 คานา ๑๒ สารบญั ๑๔ บทที่ ๑ บทนา ๑๖ บทท่ี ๒ เอกสารทเี่ กยี่ วขอ้ ง ๒๖ บทที่ ๓ สรปุ ผลการดาเนนิ งาน ๒๗ บทที่ ๔ แบบสอบถามความพึงพอใจ บทท่ี ๕ สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ ภาคผนวก รปู ภาพประกอบโครงการฯ รายงานผลการจบหลกั สตู รการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง ใบสมคั รผเู้ รยี นหลกั สตู รการจดั การศึกษาตอ่ เน่อื ง แบบสารวจความต้องการเรียนรู้การศึกษาต่อเน่ือง เอกสารอ้างองิ คณะผู้จดั ทา
บทท่ี ๑ บทนา ๑. ชอ่ื กจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง รูปแบบกลมุ่ สนใจ หลกั สตู รการทาขนมหม้อแกงถ่ัว จานวน ๕ ช่วั โมง นโยบายและจุดเนน้ การดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖ นโยบายเร่งดว่ นเพอ่ื ร่วมขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ ๓. ยทุ ธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคนให้มคี ุณภาพ ๓.๕ ศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน สู่ “วสิ าหกจิ ชมุ ชน : ชุมชนพงึ่ ตนเอง ทาได้ ขายเป็น” ๑) ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความต้องการ ของตลาดรวมทั้งสร้างเครือข่ายการรวมกลุ่มในลักษณะวิสาหกิจชุมชน สร้างรายไดใ้ ห้กับชุมชน ให้ชุมชนพึ่งพาตนเอง ได้” ๒) ส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยใี นการสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ใหก้ ับสินค้า การทาช่องทางเผยแพร่ และจาหน่ายผลติ ภณั ฑข์ องวสิ าหกิจชมุ ชนใหเ้ ป็นระบบครบวงจร ๔. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ๔.๕ พลิกโฉม กศน.ตาบล สู่ “กศน.ตาบล ๔ G” ข้อ ๑) – ขอ้ ๔) ๕. ยุทธศาสตรด์ า้ นส่งเสรมิ และจัดการศึกษาเพ่อื เสริมสร้างคณุ ภาพชีวิตทเี่ ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม ๕.๓ สง่ เสริมให้หนว่ ยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานท่ีเปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อม รวมท้งั ลดการใช้ ทรัพยากรทีส่ ่งผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ ม จุดเนนการดาเนินงานประจาปงบประมาณ พ.ศ. 256๕ 2. สงสริมการจัดการศึกษาและการเรยี นรูตลอดชวี ติ สาหรับประชาชนทเ่ี หมาะสมกบั ทกุ ชวงวยั 2.1 สงเสรมิ การจดั การศึกษาอาชพี เพื่อการมีงานทา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสรางนวตั กรรม และผลิตภณั ฑทม่ี ีคุณภาพ มคี วามหลากหลาย ทนั สมัย และตอบสนองความตองการของประชาชน ผูรบั บริการ และสามารถออกใบรบั รองความรูความสามารถเพอ่ื นาไปใชในการพัฒนาอาชพี ได 3. พัฒนาหลักสูตร สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหลงเรียนรู และรูปแบบการจัดการศึกษา และการเรียนรู ในทุกระดับ ทุกประเภท เพื่อประโยชนตอการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสมกับทุกกลุมเปาหมาย มีความ ทนั สมยั สอดคลองและพรอมรองรับกับบริบทสภาวะสงั คมปจจุบัน ความตองการของผเู รยี น และสภาวะการเรียนรูใน สถานการณตาง ๆ ท่จี ะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต 3.2 พัฒนาแหลงเรยี นรูประเภทตาง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนยการเรียนรูทุกชวงวัย และศูนยการเรียนรูตนแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อใหสามารถ “เรยี นรูไดอยางทัว่ ถงึ ทกุ ที่ ทุกเวลา
4. บูรณาการความรวมมือในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรูใหกับประชาชนอยางมี คุณภาพ 4.1 รวมมอื กับภาคีเครือขายทง้ั ภาครัฐ เอกชน ประชาสงั คม และองคกรปกครองสวนทองถ่นิ รวมท้ัง สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชน อาทิ การสงเสริมการฝกอาชีพที่เปนอัตลักษณและบริบทของชุมชน สงเสรมิ การตลาดและขยายชองทางการจาหนายเพอ่ื ยกระดับผลิตภณั ฑ/สินคา กศน. 5. พฒั นาศักยภาพและประสทิ ธิภาพในการทางานของบคุ ลากร กศน. 5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถดานเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills) ใหกับบุคลากรทุกประเภททุกระดับ รองรับความเปนรัฐบาลดิจิทัลอยางมีประสิทธิภาพ รวมท้ังพัฒนาครูใหมีทักษะ ความรู และความชานาญในการใชภาษาอังกฤษ การผลิตสื่อการเรียนรูและการจัดการเรียนการสอนเพื่อฝกทักษะ การคิดวิเคราะหอยางเปนระบบและมเี หตุผล เปนข้นั ตอน ภารกิจตอเน่ือง 1. ดานการจัดการศึกษาและการเรยี นรู 1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 1.3 การศึกษาตอเนื่อง 1) จดั การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอยางยง่ั ยืน โดยใหความสาคญั กับการจัดการศึกษาอาชีพเพือ่ การมงี าน ทาในกลุมอาชพี เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรอื การบรกิ ารรวมถึงการเน นอาชีพชางพื้นฐาน ที่สอดคลองกับศักยภาพของผูเรียน ความตองการและศักยภาพของแตละพ้ืนท่ีมีคุณภาพได มาตรฐานเปนที่ยอมรับ สอดรับกับความตองการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสรางความเข มแข็งใหกบั ศูนยฝกอาชพี ชมุ ชน โดยจัดใหมกี ารสงเสริมการรวมกลุมวิสาหกิจชุมชน การพฒั นาหนึง่ ตาบลหนึง่ อาชีพเด น การประกวดสินคาดีพรีเมี่ยม การสรางแบรนดของ กศน. รวมถึงการสงเสริมและจัดหาชองทางการจาหนายสินค าและผลิตภัณฑ และใหมีการกากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอยางเปนระบบ และตอเนือ่ ง 2. ดานหลกั สตู ร ส่อื รูปแบบการจัดกระบวนการเรยี นรู การวัดและประเมนิ ผลงานบรกิ ารทางวชิ าการ และการ ประกนั คณุ ภาพการศึกษา 2.1 สงเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรมเพ่ือสงเสริมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีหลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และหลักสูตรท อง ถิ่นทสี่ อดคลองกบั สภาพบริบทของพนื้ ที่และความตองการของกลุมเปาหมายและชมุ ชน 2.2 สงเสริมการพัฒนาส่ือแบบเรียน ส่ืออิเล็กทรอนิกสและสื่ออื่น ๆ ท่ีเอ้ือตอการเรียนรูของผูเรียนกลุ่มเปา หมายทว่ั ไปและกลุมเปาหมายพิเศษ เพื่อใหผเู รยี นสามารถเรียนรูไดทุกที ทกุ เวลา 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหไดมาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ภายในที่สอดคลองกบั บริบทและภารกิจของ กศน. มากขึ้น เพื่อพรอมรับการประเมินคณุ ภาพภายนอก โดยพัฒนาบคุ ลากรใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของระบบการประกันคณุ ภาพ และสามารถ ดาเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาไดอยางตอเน่ืองโดยใชการประเมินภายในดวยตนเอง และจัดใหมี ระบบสถานศึกษาพีเ่ ล้ียงเขาไปสนบั สนุนอยางใกลชิด สาหรบั สถานศึกษาท่ยี งั ไมไดเขารับการประเมินคณุ ภาพภายนอก ใหพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานทก่ี าหนด
6. ดานบุคลากรระบบการบริหารจดั การ และการมสี วนรวมของทุกภาคสวน 6.1 การพัฒนาบคุ ลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทใหมีสมรรถนะสูงข้ึนอยางตอเน่ืองท้ังกอนและระหวางการดารง ตาแหนงเพ่ือใหมีเจตคติท่ีดีในการปฏิบัติงานใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตาแหนงใหตรงกับสายงานความ ชานาญ และความตองการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดาเนินงานของหนวยงานและ สถานศึกษาไดอยางมีประสิทธภิ าพรวมท้งั สงเสริมใหขาราชการในสังกัดพฒั นาตนเองเพ่อื เลอ่ื นตาแหนงหรือเลื่อนวทิ ย ฐานะโดยเนน การประเมนิ วทิ ยฐานะเชิงประจักษ 3) พัฒนาหัวหนา กศน.ตาบล/แขวงใหมีสมรรถนะสูงขึ้น เพ่ือการบริหารจัดการ กศน.ตาบล/แขวง และการ ปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการเปนนักจัดการความรูและผูอานวยความสะดวกในการ เรยี นรูเพ่ือใหผเู รียนเกดิ การเรยี นรูทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพอยางแทจริง 4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เก่ียวของกับการจัดการศึกษาใหสามารถจัดรูปแบบการเรียนรูไดอยางมี คุณภาพโดยสงเสริมใหมีความรูความสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและ ประเมนิ ผล และการวิจัยเบือ้ งตน 5) พฒั นาศักยภาพบุคลากร ที่รบั ผดิ ชอบการบรกิ ารการศกึ ษาและการเรยี นรู ใหมคี วามรูความสามารถและมี ความเปนมอื อาชีพในการจดั บริการสงเสรมิ การเรยี นรูตลอดชีวิตของประชาชน 6) สงเสริมใหคณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสวนรวมในการบริหารการ ดาเนนิ งานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน.อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ใหสามารถทาหนาที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยไดอยางมีประสทิ ธิภาพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางความสัมพันธระหวางบุคลากรรวมท้ังภาคีเครือขายทงั้ ในและตางประเทศ ในทุกระดับ โดยจัดใหมีกิจกรรมเพื่อเสริมสรางสัมพันธภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพในการทางานรวมกันในรูปแบบท่ี หลากหลายอยางตอเนอื่ งอาทิ การแขงขันกฬี า การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการพัฒนาประสทิ ธภิ าพ ในการทางาน 6.3 การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การ 1) พัฒนาระบบฐานขอมลู ใหมคี วามครบถวนถูกตอง ทนั สมัย และเช่ือมโยงกันท่ัวประเทศอยาง เปนระบบเพื่อใหหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนาไปใชเปนเคร่ืองมือสาคัญในการบริหารการวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมทั้งจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย างมี ประสิทธิภาพ 2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากบั ควบคุม และเรงรัดการเบิกจ ายงบประมาณใหเปนตามเปาหมายทีก่ าหนดไว 3) พัฒนาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันท่ัว ประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดทันความตองการเพื่อประโยชนในการจัดการศึกษาใหกับผูเรียนและการ บริหารจดั การอยางมีประสิทธิภาพ 5) สรางความรวมมือของภาคีเครือขายทุกภาคสวน ท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมท้ังในประเทศและตาง ประเทศ รวมท้ังสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชนเพื่อสรางความเขาใจ และใหเกิดความรวมมือในการส งเสรมิ สนบั สนุน และจดั การศกึ ษาและการเรียนรูใหกบั ประชาชนอยางมีคุณภาพ 7) พัฒนาและปรบั ระบบวิธกี ารปฏิบัตริ าชการใหทนั สมยั มคี วามโปรงใส ปลอดการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ บรหิ ารจัดการบนขอมูลและหลกั ฐานเชิงประจกั ษ มุงผลสัมฤทธ์ิมีความโปรงใส
6.4 การกากับ นเิ ทศติดตามประเมนิ และรายงานผล 1) สรางกลไกการกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ และ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ใหเชอ่ื มโยงกบั หนวยงาน สถานศึกษา และภาคีเครอื ขายท้งั ระบบ 2) ใหหนวยงานและสถานศกึ ษาท่ีเกีย่ วของทุกระดบั พฒั นาระบบกลไกการกากบั ตดิ ตามและรายงานผลการ นานโยบายสูการปฏิบัติ ใหสามารถตอบสนองการดาเนนิ งานตามนโยบายในแตละเรือ่ งไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ 3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และส่อื อน่ื ๆ ท่ีเหมาะสม เพอ่ื การกากับนิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏบิ ัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการประจาปของหนวย งาน สถานศกึ ษา เพอื่ การรายงานผลตามตวั ช้วี ัดในคารับรองการปฏิบัติราชการประจาป ของสานกั งาน กศน.ใหดาเนนิ ไปอยางมีประสทิ ธิภาพ เปนไปตามเกณฑ วิธีการ และระยะเวลาท่กี าหนด 5) ใหมีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหนวยงานภายในและภายนอกองคกร ตั้งแตสวนกลาง ภูมิภาค กลุมจังหวัด จังหวัด อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพ่ือความเปนเอกภาพในการใชขอมูลและการพัฒนางาน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ๒. หลกั การและเหตุผล พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช ๒๕๔๒ (แก้ไขเพ่ิมเติมพทุ ธศักราช ๒๕๔๕) และ พระราชบัญญตั ิส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดจดุ ม่งุ หมาย สาคัญในการพัฒนาคนไทยให้ได้รับการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ปัจจุบัน และอนาคต ทั้งด้านประชากร การเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม รวมท้ังการเช่ือมโยงสังคมเศรษฐกิจภูมิภาคเอเชีย ระดับภูมิภาค และระดับโลก จึงจาเป็นท่ีจะต้องจัดการเรียนรู้ ตลอดชวี ิตเพื่อให้กลมุ่ เป้าหมายประชาชนได้รับการเรยี นรู้ท่ีสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลก ทัง้ ดา้ นการพัฒนา อาชีพ การพัฒนาทักษะชีวิต และการพัฒนาสังคมและชุมชน ซ่ึงจาเป็นต้องใช้วิธีการและรูปแบบที่หลากหลาย ตามความต้องการและความสนใจของประชาชนทุกกลุ่มวัย โดยเน้นกระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ตามหลักปรัชญาคิดเป็นและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ต้องมุ่งเน้นการพัฒนาเพื่อเพิ่ม ศักยภาพและขีดความสามารถของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ให้สามารถประกอบอาชีพ สร้างรายได้ท่ีมั่งคั่งและมั่นคง เป็นบุคคลที่มีวินัย เปี่ยมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึกรับผิดชอบต่อตนเองผู้อ่ืนและสังคม เน้นการจัด การศึกษาที่ยึดพ้ืนท่ีเป็นฐาน โดยสถานศึกษาต้องวิเคราะห์ศักยภาพ ๕ ด้าน ของแต่ละพื้นท่ี ได้แก่ ศักยภาพด้าน ทรัพยากรธรรมชาติ ศักยภาพด้านภูมิอากาศ ศักยภาพด้านภูมิประเทศ ศักยภาพด้านศิลปวัฒนธรรมประเพณี และ ศักยภาพด้านทรัพยากรมนุษย์ และวิเคราะห์ข้อมูลวิถีการดาเนินชีวิต ความต้องการ และประชาชนในภูมิภาคต่าง ๆ ที่เป็นผู้ใช้บริการผลผลิตของสถานศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวจะนามาสู่การกาหนดหลักสูตรอาชีพที่ สถานศึกษาจะจดั การเรยี นการสอน การจัดการศึกษาของสานักงาน กศน. เพื่อตอบสนองนโยบายดังกล่าว จึงต้องปรับเปล่ียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ ท่ีเนน้ การปฏบิ ตั จิ รงิ มกี ารศกึ ษาดงู านเพ่อื แลกเปล่ียนเรียนรจู้ ากผู้มีประสบการณ์ในอาชีพ โดยตรง ผู้สอนเป็นวิทยากรท่ีมีความรู้ ความสามารถ และเป็นผู้ประกอบการในอาชีพน้ัน ๆให้ความสาคัญต่อการ ประเมินผลการจบหลักสูตรที่เน้นทักษะ ความสามารถ และการมีผลงาน ช้ินงาน ท่ีได้มาตรฐานออกสู่ตลาดได้ การพัฒนาหลักสูตรอาชีพ จึงต้องปรับใหม่โดยการพัฒนาให้ครบวงจร ประกอบด้วย ช่องทางการประกอบอาชีพ ทักษะของอาชีพ การบริหารจัดการ และโครงการอาชีพพร้อมแหล่งเงินทุน และ ให้ผู้เรียนท่ีเรียนจบจากหลักสูตร อาชีพมีความม่ันใจว่าจะสามารถประกอบอาชีพสร้างรายได้ ได้อย่างแท้จริง จึงขอให้สถานศึกษาท่ีนาหลักสูตรที่ได้ พัฒนาแล้วนั้น นามาคัดเลือกให้เหมาะสมกับความต้องการของพื้นที่ และนาไปอนุมัติใช้ในการจัดการเรียนการสอน ต่อไป
จากแนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ การพฒั นาศกั ยภาพคนทกุ ช่วงวัย และการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ เรอื่ ง ส่งเสริมสนับสนุนให้คน ทุกช่วงวัย มีทักษะ ความรู้ ความสามารถและการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละ ชว่ งวยั ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อาเภอบางไทร จึงได้นานโยบายยุทธศาสตร์และความจาเป็นดังกล่าวสู่การ ปฏิบัติเพื่อการพฒั นาหลักสูตรอาชีพให้กับกลุ่มเป้าหมายและประชาชนมีรายได้และมีอาชีพเสรมิ การทาขนมหม้อแกง ถ่ัวสาหรบั ผทู้ ่สี นใจควรศกึ ษาหาความร้แู ละฝึกปฏิบัติจนเกิดความชานาญสามารถนาไปประกอบอาชีพให้กบั ตนเองได้ ดังน้ันการส่งเสริมสนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถและการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตอย่างเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย และเพ่ือตอบสนองความต้องการของประชาชน จึงได้จัดทา โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน หลักสตู รการทาขนมหม้อแกงถ่วั ใหก้ บั ประชาชนและผ้สู นใจให้สามารถนาไปประกอบ อาชีพ สร้างรายได้ใหก้ ับตนเองและครอบครวั ต้องการไดร้ บั การพฒั นา และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ๓. วตั ถุประสงค์ ๓.๑ เพ่อื ให้ประชาชนผรู้ ับบรกิ ารมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจการทาขนมหม้อแกงถว่ั ๓.๒ เพอ่ื ให้ประชาชนผรู้ บั บริการมีทกั ษะและมองเห็นช่องทางการทาขนมหมอ้ แกงถั่ว ๔. กล่มุ เป้าหมาย ๔.๑ เชิงปรมิ าณ ๔.๑.๑ ประชาชน และผสู้ นใจ ตาบลบ้านแป้ง จานวน ๖ คน ๔.๒ เชงิ คุณภาพ ๔.๒.๑ ผู้เรยี นร้อยละ ๘๕ เกดิ กระบวนการเรียนรู้ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการทาขนมหม้อแกงถวั่ โดยเน้นการปฏบิ ัติจริง ๔.๒.๒ ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีทักษะ และมองเห็นช่องทางในการทาขนมหม้อแกงถั่วสามารถนา ความรู้ไปปรับใชใ้ นการประกอบอาชีพได้
๕. วธิ ีดาเนนิ การ กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุม่ เป้าหมาย พื้นทด่ี าเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ ๑. ข้นั วางแผน ( Plan ) ๑. เพ่ือให้ ๑.๑ สารวจกลุ่มเป้าหมายและความตอ้ งการ ประชาชน พฤษภาคม ๑.๒ รวบรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มูลเพื่อจัด ผู้รบั บรกิ ารมี 256๖ กระบวนการเรยี นรใู้ หต้ รงตามศักยภาพความ ความรคู้ วาม ตอ้ งการของผู้เรียน เข้าใจการทา ขนมหมอ้ แกง ๑.๓ ประชมุ วางแผนชีแ้ จงการปฏิบัติงาน ถว่ั - จัดทาหลกั สตู รและอนุมัติหลักสตู ร - เตรียมส่ือเอกสาร , วัสดุ ๒. ขัน้ ดาเนินการ ( Do ) ๒. เพ่อื ให้ ประชาชนและ ณ ทที่ าการ คา่ ตอบแทน ๒.๑ ดาเนนิ การตามโครงการท่ีเสนอ ประชาชน ผูส้ นใจตาบล ผใู้ หญบ่ ้าน หมู่ 3 ๒๐ วิทยากร - กจิ กรรมการศึกษาต่อเนือ่ ง ผูร้ ับบริการมี บา้ นแปง้ ตาบลบา้ นแป้ง มถิ ุนายน ๑,๐๐๐ บาท รูปแบบกลมุ่ สนใจ หลักสูตรการทาขนมหม้อ ทกั ษะและ จานวน ๖ คน อาเภอบางไทร ๒๕๖๖ คา่ วสั ดุ แกงถัว่ มองเห็นช่อง จงั หวดั ๑,๐๐๐ บาท ทางการทาขนม พระนครศรีอยธุ ยา ๓. ขั้นตรวจสอบ ( Check ) หม้อแกงถวั่ ๑ ๓.๑ ประเมินความพึงพอใจ มถิ ุนายน ( แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ ) ๒๕๖๖ ๓.๒ การนิเทศตดิ ตามผล ๔. ขน้ั ปรบั ปรงุ แกไ้ ข ( Action ) ๔.๑ รวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมลู จาก ๓๑ แบบสอบถามความพงึ พอใจและแบบ มิถนุ ายน ประเมินผลความรู้ , แบบนเิ ทศการจัดกจิ กรรม ๒๕๖๖ ๔.๒ ประชมุ คณะทางานเพอื่ รบั ทราบผล การดาเนนิ งานทีผ่ ่านมาในการจัดกจิ กรรม ๔.๓ นาปญั หา/อปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะ ในการจดั กจิ กรรมมาเปน็ แนวทางในการ วางแผนพฒั นาในการจัดกจิ กรรมครงั้ ตอ่ ไป ๖. งบประมาณ งบประมาณประจาปี 256๖ แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพ่ือสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการศึกษาท่ีย่ังยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (กลุ่มสนใจ) ป ร ะ เ ภ ท ง บ ร า ย จ่ า ย อ่ื น ร หั ส ง บ ป ร ะ ม า ณ 20002340052005000033 ร หั ส กิ จ ก ร ร ม ห ลั ก 20002666164900000 แหล่งของเงิน 6611500 ศูนย์ต้นทุน 2000200214 จานวนเงิน ๒,๐๐๐ บาท (สองพนั บาทถว้ น) ๑. ค่าวิทยากร จานวน ๕ ชัว่ โมง x ๒๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๐๐๐ บาท ๒. ค่าวัสดุ เปน็ เงนิ ๑,๐๐๐ บาท รวมเปน็ เงินทง้ั สน้ิ ๒,๐๐๐ บาท (สองพันบาทถว้ น) **หมายเหตุ ถวั จา่ ยทกุ รายการ
๗. ระยะเวลา วันท่ี ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ ๘. สถานที่ ณ ทีท่ ำกำรผู้ใหญ่บ้ำน หมู่ 3 ตาบลบา้ นแป้ง อาเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ๙. ผูร้ ับผิดชอบโครงการ ๙.๑ ศนู ยส์ ง่ เสรมิ การเรยี นรู้อาเภอบางไทร ๙.๒ กศน.ตาบลบา้ นแปง้ ๑๐. โครงการท่ีเกี่ยวขอ้ ง ๑๐.๑ โครงการจดั การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาทักษะชีวติ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๖ ๑๐.๒ โครงการจดั การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาสังคมและชุมชน ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๖ ๑๐.๓ โครงการจดั กระบวนการเรียนรตู้ ามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๖ ๑๐.๔ โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๖ ๑๑. หน่วยงานเครอื ข่าย ๑๑.๑ องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลสนามชยั ๑๑.๒ ผนู้ าชุมชน ๑๑.๓ ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ๑๒. ผลลพั ธ์ (OUT COME) ๑๒.๑ ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในการทาขนมหม้อแกงถั่ว โดยเน้นการ ปฏบิ ัตจิ รงิ ๑๒.๒ ผู้เรียนมีทักษะ และมองเห็นช่องทางในการทาขนมหม้อแกงถั่วสามารถนาความรู้ไปปรับใช้ใน การประกอบอาชพี ได้ ๑๓. ดชั นีช้ีวดั ผลสาเร็จของโครงการ ๑๓.๑ ตวั ชวี้ ดั ผลผลิต (OUTPUT) ๑๓.๑.๑ ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ เกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการทาขนมหม้อแกงถวั่ โดยเนน้ การปฏิบัติจรงิ ๑๓.๑.๒ ผู้เรยี นรอ้ ยละ ๘๕ มีทักษะ และมองเหน็ ชอ่ งทางในการทาขนมหมอ้ แกงถ่ัวสามารถนาความรู้ ไปปรบั ใช้ในการประกอบอาชพี ได้ ๑๓.๒ ตัวชว้ี ดั ผลลัพธ์ (OUTCOME) ๑๓.๒.๑ ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในการทาขนมหม้อแกงถ่ัวโดยเน้นการ ปฏบิ ตั ิจรงิ ๑๓.๒.๒ ผู้เรียนมีทักษะ และมองเห็นช่องทางในการทาขนมหม้อแกงถ่ัวสามารถนาความรู้ไปปรับใช้ใน การประกอบอาชพี ได้
๑๔. การติดตามและประเมินผล ๑๔.๑ แบบสารวจความพึงพอใจ ๑๔.๒ แบบประเมินผลความรู้ ๑๔.๓ แบบนเิ ทศติดตามงาน ๑๔.๔ แบบวดั ผลและประเมนิ ผล ๑๔.๕ ติดตามจากแบบรายงานผลการดาเนินโครงการฯ
บทท่ี ๒ เอกสารที่เกย่ี วข้อง หลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง รปู แบบกลุ่มสนใจ ชอื่ หลักสตู รการทาขนมหมอ้ แกงถวั่ จานวน 5 ชว่ั โมง ศูนยส์ ่งเสริมการเรียนรอู้ าเภอบางไทร กลุ่มอาชีพดา้ นอตุ สาหกรรมหรือหตั ถกรรม ความเป็นมา โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เป็นโครงการสาคัญตามพระราชบัญญัติส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 มีความสอดคล้องกับแผน ระดับต่าง ๆ ในการดาเนินการขับเคลื่อนโครงการ ต ามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ .ศ. 2561- 2579) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ : ด้านการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชีวิต แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) ในการกาหนดทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 13 ให้ประเทศสามารถก้าวข้ามความ ท้าทายตา่ ง ๆเพ่อื ให้ “ประเทศไทยมคี วามมน่ั คง มัง่ คง่ั ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพฒั นาตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” ตามเจตนารมณ์ของยทุ ธศาสตร์ชาติ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การให้ความชว่ ยเหลือ กลุ่มเปราะบางให้มีโอกาสได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนเร้ือรังและป้องกัน การส่งต่อความยากจนไปยังลูกหลาน โดยเน้นส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาและการพัฒนาทักษะอาชีพที่มี คุณภาพแก่เด็กและเยาวชนจากครัวเรือนยากจน พร้อมท้ังพัฒนาหลักประกันและความคุ้มครองทางสังคมที่มี การบูรณาการอย่างเป็นระบบ เพื่อส่งเสริมความม่ันคงในชีวิตให้ทุกคนในสังคมได้รับความคุ้มครองทางสังคม อยา่ งเหมาะสมเพียงพอ สามารถหลุดพน้ จากความยากจนได้อยา่ งยง่ั ยนื ในส่วนของการลดความเหล่ือมล้าของ ศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจนั้น ควรมุ่งให้ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมให้สามารถแข่งขันได้ และมีการเติบโตที่ย่ังยืน โดยพัฒนาสภาพแวดล้อมให้ผู้ประกอบการไทย สามารถแข่งขันได้อย่างเป็นธรรม อาทิ การสนับสนุนทางเทคโนโลยีและกลไกทางการเงินที่เหมาะสมเพื่อให้ เข้าถึงแหล่งทุนได้อย่างท่ัวถึง การยกระดับมาตรฐานและพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์และบริการ การเพิ่มการ เข้าถึงบริการและการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ รวมถึงการสนับสนุนให้วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของไทย ยุทธศาสตร์ตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของกระทรวงศึกษาธิการ : ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ แผนงานยุทธศาสตร์เพ่ือสนับสนุนดา้ นการพฒั นา และเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ปีงบประมาณ 2566 จุดเน้นการดาเนินงานของ กศน. “กศน.เพื่อประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าว แห่งคุณภาพ” โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนให้ความสาคัญกับการจัดกิจกรรมฝึกอาชีพให้ประชาชนระดับ ฐานรากที่อาศัยอยู่ในตาบล โดยเน้นการจัดการศึกษาท่ียึดพื้นท่ีเป็นฐานในการพัฒนา ( Area – based Development) ใช้หลักสูตรอาชีพเป็นฐาน (Career – Based Education) ในหลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ หลักสูตรกลุ่มอาชีพด้านเกษตรกรรม ด้านอุตสาหกรรมหรือหัตถกรรม ด้านพาณิชยกรรมและบริการ ด้านความคิดสร้างสรรค์ และกลุ่มอาชีพเฉพาะทาง ให้ได้รับการพัฒนาสมรรถนะและทักษะในการประกอบ อาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน พัฒนาหลักสูตรอาชีพ ระยะส้นั ที่เนน้ Up – Skill Re – Skill และ New – Skill ท่ีสอดคลอ้ งกับความต้องการของผเู้ รียน
และ กลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology เพ่ือการมีรายได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี ต่อยอดภูมิ ปัญญาท้องถิ่น สร้างมูลค่าเพ่ิม และพัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้าให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด มีการบูรณาการกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายให้เกิดการรวมกลุ่มและจัดต้ังเป็นวิสาหกิจ ชุมชน เพื่อเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ และสนับสนุนให้เกิดช่องทางการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ในโครงการ ศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อาเภอบางไทร จัดทำโครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนหลักสูตรอาชีพเพือ่ การมีงานทำรูปแบบกลุ่มสนใจหลักสูตรการทาขนมหม้อแกงถ่ัว เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนที่มาจากการทาแบบสารวจความต้องการและเวทีชาวบ้าน เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจทักษะในการทาขนมหม้อแกงถั่วได้อย่างถกู ต้องตามขั้นตอน ผู้เรียนสามารถนำ ความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพและสร้างรายได้ และสามารถดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข สอดคล้อง ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการของหลกั สตู ร 1. มงุ่ พฒั นาประชาชนใหไ้ ดร้ ับการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชพี และการมีงานทาอย่างมคี ณุ ภาพ 2. เปน็ หลกั สูตรอาชีพท่ีเน้นการสรา้ งรายไดเ้ สริมในครัวเรอื น มีคุณภาพชีวติ ทดี่ ี และใช้เวลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์ จุดมุ่งหมาย 1. เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ ความเข้าใจและเกิดทักษะในการทาขนมหม้อแกงถ่ัว 2. เพ่ือให้ผู้เรยี นสามารถสร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ มคี ุณภาพชวี ติ ทด่ี ใี ห้กับตนเองและครอบครวั กล่มุ เป้าหมาย ประชาทั่วไปในอำเภอบางไทร ระยะเวลา จานวน 5 ชว่ั โมง - ภาคทฤษฎี จานวน 2 ชั่วโมง - ภาคปฏิบตั ิ จานวน 3 ช่ัวโมง
รายละเอียดโครงสร้างหลักสูตร เร่ือง จุดประสงค์การ เน้อื หา การจดั กระบวน จานวนชว่ั โมง เรยี นรู้ การเรียนรู้ ทฤษฎี ปฎบิ ตั ิ การทา ขนมหม้อ 1. เพอ่ื ให้ผเู้ รยี น 1. ความสาคญั ในการ 1.ศึกษาขอ้ มลู จากเอกสาร 23 แกงถั่ว มีความรู้ ความเข้าใจ ในการทาขนมหม้อ ประกอบอาชพี การทา สถานประกอบการ ส่ือบคุ คลใน แกงถัว่ 2. เพ่อื ให้ผู้เรยี นนา ขนมหม้อแกงถัว่ ชุมชน เพอื่ นาข้อมูลมาวเิ คราะห์ ความรทู้ ่ไี ดร้ บั ในการ ทาขนมหมอ้ แกงถว่ั 1.1 ความปลอดภยั ใน และใช้ในการประกอบอาชพี ที่มี ไปใชใ้ น ชีวติ ประจาวันได้ การทาขนมหมอ้ แกงถ่วั ความเปน็ ไปได้ในชุมชน 1.2 การใชเ้ ครื่องมอื และ 1. วิทยากรบรรยายให้ความรใู้ น อปุ กรณ์ เรอื่ งตอ่ ไปนี้ 1.3 วัสดุ-อปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ น 1.1 ความปลอดภยั ในการทา การทาขนมหมอ้ แกงถว่ั ขนมหม้อแกงถว่ั 1.4 ความรู้เบือ้ งต้นในการ 1.2 การใชเ้ ครื่องมอื และ ทาขนมหม้อแกงถ่วั อุปกรณ์ 1.5 เทคนคิ การทาขนมหมอ้ 1.3 วสั ดุ-อุปกรณ์ ทใ่ี ช้ในการทา แกงถว่ั ขนมหม้อแกงถวั่ 1.6 การทาขนมหม้อแกงถวั่ 1.4 ความร้เู บ้ืองตน้ ในการทา 2. ความเป็นไปได้ในการ ขนมหมอ้ แกงถั่ว ประกอบอาชีพ 1.5 เทคนิคการทาขนมหมอ้ แกง 3. การลดตน้ ทนุ การผลติ แต่ ถัว่ คุณภาพคงเดมิ 1.6 การทาขนมหมอ้ แกงถั่ว 2. วทิ ยากรและผเู้ รียนรว่ มกนั แลกเปล่ียนเรยี นรู้การทาขนม หม้อแกงถั่ว 3. วทิ ยากรบรรยายให้ความรู้ และสาธิตการทาขนมหม้อแกง ถัว่ 4. ผ้เู รียน เรยี นร้แู ละฝึกการทา ขนมหม้อแกงถว่ั 5. ดาเนนิ การตามกระบวนการ จดั การตลาด เช่น การคดิ ตน้ ทุน การผลติ การกาหนดราคาขาย และการส่งเสรมิ การขาย
สื่อการเรยี นรู้ 1. แผ่นพับ 2. ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน/วทิ ยากร 3. ตัวอยา่ งชิน้ งาน 4. วสั ดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการฝึกปฏบิ ตั ิจรงิ 5. สือ่ เทคโนโลยี เชน่ เว็บไซตค์ ลิปวิดโี อ การวดั และประเมินผล 1. แบบทดสอบความรเู้ รอื่ งการทาขนมหม้อแกงถว่ั 2. การประเมนิ จากการฝกึ ปฏิบตั ิ ชนิ้ งานหรือผลงานทเี่ กิดจากการจดั การเรยี นรู้ 3. แบบประเมินความพงึ พอใจ เกณฑ์การจบหลักสตู ร 1. มีเวลาเรยี นและฝกึ ปฏิบตั ิตามหลักสตู ร ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 2. มีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 ของหลกั สูตร 3. มีผลงานผ่านการประเมินทดสอบทีม่ ีคณุ ภาพตามหลักเกณฑ์
บทท่ี ๓ สรปุ ผลการดาเนนิ งาน ขั้นตอนการดาเนินงานในการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทา ขนมหม้อแกงถั่ว เป้าหมาย จานวน ๖ คน จัดได้ ๖ คน วันที่ ๒๐ มิถุนายน 2๕๖๖ ณ ท่ีทาการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 3 ตาบลบา้ นแป้ง อาเภอบางไทร จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา มดี งั น้ี ๑. ขน้ั วางแผน (Plan) ๑.๑ สารวจความต้องการ วเิ คราะหค์ วามต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย ๑.๒ ประชมุ ช้ีแจงผเู้ กย่ี วข้องและแตง่ ตงั้ คณะ ดาเนินงาน ๑.๓ จดั ทาหลกั สตู ร/ อนมุ ตั หิ ลักสตู ร ๑.๔ ประสานเครอื ขา่ ย ๒. ข้นั ดาเนนิ การ (Do) ดาเนินการจดั กิจกรรม ๒.๑ จดั ฝกึ อบรม กิจกรรมการศกึ ษาตอ่ เนื่อง รูปแบบกลุม่ สนใจ หลกั สูตรการทาขนมหมอ้ แกงถว่ั จานวน ๕ ช่วั โมง ๓. ข้นั ตรวจสอบ (Check) ๓.๑ ประเมินความพงึ พอใจ (แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ)์ ๓.๒ การนเิ ทศตดิ ตามผล ๔. ขน้ั ปรับปรุงแก้ไข (Action) ๔.๑ นาผลการนเิ ทศมาปรับปรงุ พฒั นา
ข้อมูลผ้เู ข้ารว่ มโครงการ เป้าหมายผูเ้ ข้ารว่ มโครงการจานวนทั้งหมด ๖ คน จดั ได้ ๖ คน ๑. เพศ เพศชาย จานวน ๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ เพศหญงิ จานวน ๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน ๖ คน แคดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ ๒. อายุ คิดเปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ โดยมอี ายเุ ฉลี่ยตั้งแต่ ต่ากว่า ๑๕ ปี จานวน ๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๖.๖๐ อายุ ๑๕ –๒๙ ปี จานวน ๑ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๖.๖๐ อายุ ๓๐ –๓๙ ปี จานวน ๑ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ อายุ ๔๐ –๔๙ ปี จานวน ๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๖.๖๐ อายุ ๕๐ –๕๙ ปี จานวน ๑ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๕๐.๐๐ และอายุ ๖๐ ปีขึน้ ไป จานวน ๓ คน คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน ๖ คน ๓. ระดบั การศกึ ษา ตา่ กวา่ ประถมศึกษา จานวน ๓ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๕๐.๐๐ คิดเป็นรอ้ ยละ ๓๓.๔๐ ประถมศกึ ษา จานวน ๒ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จานวน ๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๖.๖๐ คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ อนุปรญิ ญา/ปว.ส. จานวน ๑ คน ปรญิ ญาตรี จานวน ๐ คน สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี จานวน ๐ คน รวม จานวน ๖ คน ๔. ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการฯ โดยเฉลยี่ ประกอบอาชพี รบั ราชการ จานวน ๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ คดิ เป็นร้อยละ ๕๐.๐๐ รบั จา้ ง จานวน ๓ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๖.๖๐ คิดเปน็ ร้อยละ ๐0.00 เกษตรกร จานวน ๑ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๓๓.๔๐ คดิ เป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ คา้ ขาย จานวน ๐ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ พ่อบา้ น/แม่บา้ น จานวน ๒ คน อาชพี อ่ืน ๆ จานวน ๐ คน รวม จานวน ๖ คน
ผลการดาเนนิ งาน ๑. จานวนผู้เข้าร่วมโครงการฯ ท่ีต้ังเป้าหมายไว้ จานวน ๖ คน จัดได้ ๖ คน ประกอบอาชีพตาม กลุ่มเปา้ หมาย ๖ คน ๒. วทิ ยากรให้ความรู้ โดยวิธกี ารบรรยาย วิธีการสาธติ และวธิ ีการฝกึ ปฏบิ ตั จิ ริง ๓. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ในระดับมากที่สุด (ตามเอกสารบทท่ี ๔ แบบสอบถามความพึงพอใจ และสรปุ แบบสอบถามความพึงพอใจ) ปัญหาและอปุ สรรคในการปฏบิ ตั งิ าน งบประมาณในการจดั ซ้อื วสั ดุมีจานวนจากัด วสั ดอุ ุปกรณ์ในการฝกึ มจี านวนจากดั ไมเ่ พยี งพอต่อจานวนผู้เรยี น จานวนหลักสตู รบางหลกั สตู รจานวนชัว่ โมงมากเกินไป ข้อเสนอแนะ งบประมาณจัดสรรคา่ วสั ดุให้เพียงพอตอ่ จานวนผเู้ รียน
บทที่ ๔ สรุปแบบสอบถามความพงึ พอใจ หลกั สูตร/โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จานวน ๕ ช่วั โมง รูปแบบกล่มุ สนใจ หลักสตู รการทาขนมหมอ้ แกงถว่ั วนั ท่ี ๒๐ เดอื น มถิ ุนายน พ.ศ. 256๖ สถานทจ่ี ดั ทท่ี าการผ้ใู หญ่บ้าน หมู่ 3 ตาบลบ้านแป้ง อาเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรีอยุธยา ขอ้ มลู พื้นฐานของผูป้ ระเมนิ ความพงึ พอใจ คาชแ้ี จง แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ มี ๒ ตอน ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป คาชแ้ี จง โปรดใส่เคร่อื งหมาย ลงในช่อง ทต่ี รงกบั ขอ้ มลู ของท่านเพียงชอ่ งเดยี ว เพศ ชาย หญิง อายุ ตา่ กวา่ ๑๕ ปี ๑๕-๒๙ ปี ๓๐-๓๙ ปี ๔๐-๔๙ ปี ๕๐-๕๙ ปี ๖๐ ปีขนึ้ ไป ระดบั การศึกษา ตา่ กวา่ ประถมศกึ ษา ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย อนุปรญิ ญา/ปว.ส. ปรญิ ญาตรี สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี อื่นๆ โปรดระบุ............................................................................................. ประกอบอาชพี ผ้นู าทอ้ งถนิ่ อบต./เทศบาล พนกั งานรฐั วิสาหกิจ ทหารกองประจาการ เกษตรกร รับราชการ คา้ ขาย รับจ้าง อสม. แรงงานตา่ งดา้ ว พอ่ บา้ น/แมบ่ า้ น อ่ืนๆ โปรดระบุ..........................
ตอนท่ี ๒ ดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมและความพึงพอใจของผู้เรียน/ผู้รับบรกิ าร คาชแี้ จง โปรดใส่เครือ่ งหมาย ลงในช่อง ทต่ี รงกับความคดิ เหน็ ของทา่ นเพียงชอ่ งเดยี ว ขอ้ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 1 ความพงึ พอใจดา้ นเนือ้ หา มาก มาก ปาน น้อย น้อย 1 เน้ือหาตรงตามความต้องการ ทีส่ ดุ กลาง ท่ีสุด 2 เนื้อหาเพยี งพอตอ่ ความต้องการ 3 เนอื้ หาปัจจุบนั ทนั สมัย 4 เนื้อหามปี ระโยชน์ตอ่ การนาไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม 5 การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นอบรม 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เป้าหมาย 9 วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร 10 วทิ ยากรมคี วามรู้ความสามารถในเร่ืองท่ีถา่ ยทอด 11 วิทยากรมีเทคนคิ การถา่ ยทอดใช้ส่ือเหมาะสม 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มสี ว่ นร่วมและซักถาม ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก 13 สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก 14 การส่อื สาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่อื ให้เกดิ การเรยี นรู้ 15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ญั หา ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บทท่ี ๕ สรปุ แบบสอบถามความพึงพอใจ หลกั สูตร/โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน จานวน ๕ ชว่ั โมง รูปแบบกลุม่ สนใจ หลักสตู รการทาขนมหมอ้ แกงถวั่ วันที่ ๒๐ เดอื น มถิ ุนายน พ.ศ. 256๕๖ สถานทจี่ ัด ที่ทาการผใู้ หญ่บ้าน หมู่ 3 ตาบลบ้านแป้ง อาเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ตอนท่ี ๑ ข้อมลู ทัว่ ไป ผ้เู รยี นหลกั สูตรการทาขนมหมอ้ แกงถ่วั จานวน ๕ ชวั่ โมง เปา้ หมาย ๖ คน จัดได้ ๖ คน ๑. เพศ เพศชาย จานวน ๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ เพศหญงิ จานวน ๖ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน ๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ ช่ือแผนภูมิ 6 5 4 3 2 รวม 1 หญิง ชาย 0 คน ชาย หญิง รวม
๒. อายุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐๐.๐๐ โดยมีอายเุ ฉล่ียตัง้ แต่ ต่ากวา่ ๑๕ ปี จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๖๐ อายุ ๑๕ –๒๙ ปี จานวน ๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๑๖.๖๐ อายุ ๓๐ –๓๙ ปี จานวน ๑ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ อายุ ๔๐ –๔๙ ปี จานวน ๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๖.๖๐ อายุ ๕๐ –๕๙ ปี จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๐.๐๐ และอายุ ๖๐ ปขี ึ้นไป จานวน ๓ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน ๖ คน ช่ือแผนภมู ิ 66 6 5 4 33 3 2 11 11 1 11 1 000 0 0 00 0 0 0 15-29 30-39 40-49 50-59 60 ปีขึน้ ไป รวม 0 ชาย หญิง รวม ต่ากวา่ 15 ปี
๓. ระดับการศกึ ษา ต่ากว่าประถมศกึ ษา จานวน ๓ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๕๐.๐๐ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓๓.๔๐ ประถมศกึ ษา จานวน ๒ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ คิดเป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ มธั ยมศึกษาตอนตน้ จานวน ๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๖.๖๐ คิดเปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน ๐ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ อนุปรญิ ญา/ปว.ส. จานวน ๑ คน ปริญญาตรี จานวน ๐ คน สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี จานวน ๐ คน รวม จานวน ๖ คน 7 6 5 4 3 2 1 0 ชาย หญิง รวม
๔. ผูเ้ ข้าร่วมโครงการฯ โดยเฉลีย่ ประกอบอาชพี รับราชการ จานวน ๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ คดิ เป็นร้อยละ ๕๐.๐๐ รบั จา้ ง จานวน ๓ คน คดิ เป็นร้อยละ ๑๖.๖๐ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๐0.00 เกษตรกร จานวน ๑ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๓๓.๔๐ คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ คา้ ขาย จานวน ๐ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ พอ่ บา้ น/แมบ่ ้าน จานวน ๒ คน อาชีพอ่ืน ๆ จานวน ๐ คน รวม จานวน ๖ คน ช่ือแผนภูมิ 6 5 4 3 2 รวม 1 หญิง ชาย 0 ชาย หญิง รวม
ตอนท่ี ๒ ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการศกึ ษาต่อเน่อื ง รปู แบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทาขนมหม้อแกงถ่ัว จานวน ๕ ชวั่ โมง เป้าหมาย ๖ คน จดั ได้ ๖ คน ขอ้ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดบั ความพงึ พอใจ หมาย เหตุ ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจดา้ นเนื้อหา มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย 1 เนอื้ หาตรงตามความต้องการ ที่สุด กลาง ทีส่ ุด 2 เนือ้ หาเพียงพอต่อความต้องการ 3 เนอ้ื หาปัจจุบันทันสมัย ๕๑ - - - 4 เน้ือหามีประโยชนต์ ่อการนาไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ๔๒ - - - ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม ๕๑ - - - 5 การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นอบรม ๕๑ - - - 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา ๖๐ - - - 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 9 วิธกี ารวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ ๔๒ - - - ตอนที่ 3 ความพงึ พอใจต่อวทิ ยากร 10 วิทยากรมีความรคู้ วามสามารถในเรือ่ งท่ีถ่ายทอด ๔๒ - - - 11 วิทยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใช้ส่ือเหมาะสม 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ ีสว่ นรว่ มและซักถาม ๔๒ - - - ตอนที่ 4 ความพงึ พอใจดา้ นการอานวยความสะดวก 13 สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสง่ิ อานวยความสะดวก ๕๑ -- 14 การสื่อสาร การสรา้ งบรรยากาศเพือ่ ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ 15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ญั หา ๕๑ - - - ๕๑ - - - ๕๑ - - - ๕๑ - - - ๕๑ - - - ๕๑ - - - ส่วนประเมินผลความพึงพอใจด้วยเกณฑค์ ะแนนเฉล่ยี รวม มคี ่าคะแนน ๑ คะแนนและเกณฑร์ ะดบั ความพงึ พอใจเป็นน้ี มคี า่ คะแนน ๒ มีคา่ คะแนน ๓ ระดบั ความพึงพอใจ / ความคดิ เหน็ ปรบั ปรงุ มีคา่ คะแนน ๔ ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ พอใช้ มีค่าคะแนน ๕ ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเห็น ปานกลาง ระดบั ความพงึ พอใจ / ความคดิ เห็น ดี ระดบั ความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ ดมี าก
และคา่ คะแนนเฉล่ียมเี กณฑ์ดงั น้ี หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจ / ความคดิ เห็น ปรบั ปรุง คะแนนเฉลีย่ ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถึง ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเห็น พอใช้ คะแนนเฉลี่ย ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเหน็ ปานกลาง คะแนนเฉลย่ี ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถึง ระดับความพงึ พอใจ / ความคดิ เห็น ดี คะแนนเฉลีย่ ๓.๕๐ – ๔.๕๐ หมายถึง ระดบั ความพึงพอใจ / ความคิดเห็น ดีมาก คะแนนเฉลย่ี ๔.๕๐ – ๕.๐๐
สรุปความพึงพอใจในภาพรวม จากการจดั กิจกรรม การจัดการศกึ ษาตอ่ เนื่อง รปู แบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทาขนมหมอ้ แกงถัว่ จานวน ๕ ชว่ั โมง เป้าหมาย ๖ คน จัดได้ ๖ คน พบวา่ แบบสอบถามทงั้ ๑๕ ข้อ ผู้เขา้ รว่ มโครงการมีความพึงพอใจในระดบั “ดีมาก” ข้อ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 1 ความพงึ พอใจด้านเนื้อหา มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย 1 เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ ท่สี ุด กลาง ทส่ี ดุ 2 เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ 3 เนื้อหาปจั จุบันทนั สมยั ๕๑ - - - 4 เนือ้ หามีประโยชนต์ อ่ การนาไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ๔๒ - - - ๕๑ - - - ๕๑ - - - 6 5 4 3 2 1 0 มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสดุ
ข้อ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย 5 การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นอบรม ทีส่ ดุ กลาง ทีส่ ดุ 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ 7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา ๖๑ - - - 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย 9 วิธกี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ๔๒ - - - ๔๒ - - - ๔๒ - - - ๕๑ -- ช่ือแผนภมู ิ 6 5 4 นอ้ ยที่สดุ นอ้ ย 3 ปานกลาง 2 มาก 1 มากที่สดุ 0 มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยที่สดุ
ข้อ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดบั ความพงึ พอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจต่อวทิ ยากร มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย 10 วิทยากรมคี วามรูค้ วามสามารถในเร่อื งทถ่ี ่ายทอด ท่ีสดุ กลาง ทสี่ ดุ 11 วิทยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใชส้ อ่ื เหมาะสม 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ ีสว่ นรว่ มและซักถาม ๕๑ - - - ๕๑ - - - 6 ๕๑ - - - 5 4 3 2 1 0 มากที่สดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสดุ
ขอ้ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดบั ความพงึ พอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 4 ความพงึ พอใจด้านการอานวยความสะดวก มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย 13 สถานท่ี วัสดุ อุปกรณแ์ ละสง่ิ อานวยความสะดวก ท่ีสุด กลาง ทส่ี ุด 14 การส่ือสาร การสรา้ งบรรยากาศเพอ่ื ให้เกิดการเรยี นรู้ 15 การบริการ การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ญั หา ๕๑ - - - ๕๑ - - - ๕๑ - - - ช่ือแผนภมู ิ 42310.....55555531042 นอ้ ยท่ีสดุ นอ้ ย ปานกลาง มาก มากท่ีสดุ มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยที่สดุ
ภาคผนวก
ภาพการจดั กจิ กรรมการจดั การศกึ ษาต่อเนื่อง รปู แบบกลมุ่ สนใจ หลกั สตู รการทาขนมหม้อแกงถวั่ จานวน 5 ช่ัวโมง วนั ที่ 20 มิถนุ ายน 2566 ณ ทีท่ าการผู้ใหญบ่ ้าน หมู่ 3 ตาบลบา้ นแปง้ อาเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา วทิ ยากรโดย นางปทติ ตา จิตรโอฬาร
ทปี่ รกึ ษา คณะผูจ้ ัดทา นางสาวหทยั รตั น์ ศิรแิ กว้ นางสาววชิ ชุตา แก้วโมรา ครู รกั ษาการในตาแหนง่ ผ้อู านวยการ สกร.อาเภอบางไทร นางสาวฐติ ิพร พาสี บรรณารกั ษช์ านาญการ ครู คณะทางาน/ผู้รวบรวมขอ้ มลู /สรปุ ผล/รายงานผล/จดั พิมพ์รปู เล่ม นางสาวศทุ ธินี จันยะนยั ครู กศน.ตาบล
Search
Read the Text Version
- 1 - 35
Pages: