เขมรแดง
เหตกุ ารณส์ งครามกลางเมอื งกมั พูชา หรอื ทพ่ี วกเราเรียกว่า เขมรเเดง, เขมร 3 ฝ่าย ลว้ นมาจากเหตุการณ์เดียวกันทัง้ ส้นิ โดยหากจะพดู ถงึ สถานที่จับกุมเเละนานักโทษ ไปทรมาน ต้องมชี ือ่ น้ี คอื \"ตวล สเลง\" คุกที่ ไม่มีประตอู อก คกุ ทมี่ ชี ื่อเสยี งเรอ่ื งความ โหดรา้ ยมากที่สุด ในกรงุ พนมเปญ
สงครามเขมรเเดง มีบุคคลเข้ามา เก่ยี วข้องดว้ ยกันทั้งหมด หลายฝ่าย ซึง่ ในทีนี้มีกระบวนการเเทรกเเทรงมาจาก ต่างประเทศด้วย โดยเฉพาะจากทาง ประเทศมหาอานาจ อยา่ งสหรัฐอเมรกิ า ประเทศเวียดนาม ที่ คอยจะเขา้ มามอี ิทธพิ ลในทุกด้าน อีกท้งั ยงั มีจีนที่ให้การสนับสนุนการจัดตง้ั รฐั บาลพลดั ถน่ิ
เรามาทาความรู้จกั ตวั ละครกนั ก่อน ถา้ จะ อธิบายงา่ ยๆ โดย เปน็ ความขดั แย้งระหวา่ ง 1. พรรคคอมมวิ นสิ ตก์ ัมพชู า (เขมรแดง) ซ่งึ ผู้นา ของกลมุ่ เขมรเเดง คือ 1 .พล พต (ร้จู กั กนั ในชื่อเดมิ วา่ ซาลอธ ซาร์) 2.เอยี ง ซารี 3.เขยี ว สัมพนั 4.ซอน เซน 5.นวน เจีย
ผ้นู าของกลุ่มเขมรเเดง พล พต เอียง ซารี เขยี ว สมั พนั ซอน เซน นวน เจีย
2. สาธารณรัฐประชาธปิ ไตย เวียดนาม (เวียดนามเหนอื ) ซึ่งผนู้ า ของเวยี ดนามที่ให้มาเปน็ นายกรัฐมนตรีในตอนนัน้ อยา่ ง เฮง สัมรนิ ทมี่ บี ทบาทมากในตอนนน้ั ซ่งึ เเยกตัวมาจากกลมุ่ เขมรเเดง หรือ อีกช่อื คือเขมร 3 ฝ่ายขนึ้
3.เวียดกงฝา่ ยหนง่ึ กบั รฐั บาลสาธารณรฐั เขมรทีไ่ ดร้ ับการ สนบั สนนุ จากสหรฐั อเมรกิ า และสาธารณรัฐเวยี ดนาม (เวียดนามใต)้ ซงึ่ ผนู้ า ของฝ่ายท่ีอเมริการสนับสนุน 3.1อดตี นายกรัฐมนตรลี อน นอล ผ้รู ว่ มก่อ การรฐั ประหารยึดอานาจเจา้ สีหนุ 3.2 เจา้ สีสุวตั ถิ์ สริ มิ าตะ ผูร้ ่วมกอ่ การ รฐั ประหารยึดอานาจด้วยกับนายพล ลอน นอล
สาเหตขุ องสงคราม
กลุ่มปญั ญาชนปารีส (Paris Student Group) คือ กลุม่ นกั ศึกษาฝา่ ยซา้ ยชาวกัมพูชา ที่ ได้รับทุนการศึกษาจากรฐั บาลกัมพชู าให้มา ศกึ ษาต่อท่ีปารีส,ฝรง่ั เศส ในช่วงทศวรรษที่ 1950 พวกเขาไดร้ ่วมกนั จัดต้งั ขบวนการคอม มวิ นิส ลัทธมิ าร์กซิสต์-เลนินนิสต์ ของตนเอง ขึน้ กอ่ นที่จะเดินทางกลับส่แู ผน่ ดินเกิดและเป็น กาลังสาคญั ของพรรคคอมมวิ นิสต์เขมร กลุ่ม เขมรแดง ในการปฏวิ ตั ลิ ม้ ล้างรฐั บาล ลอน นอล ใน พ.ศ. 2518 ซ่งึ นาไปส่กู ารก่อตงั้ ระบอบ กัมพูชา ประชาธิปไตย ในเวลาต่อมา
หลงั จากทเ่ี จา้ สีหนุ(พระมหากษตั ริยข์ อง กมั พชู า) ก่อรัฐประหารประกาศยบุ สมชั ชา แหง่ ชาติ และเข้าดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ของกัมพชู า กลมุ่ ปัญญาชนปารีสก็เคลื่อนไหว ตอ่ ตา้ นการกระทาดังกลา่ ว ด้วยการออก แถลงการณ์ประณามการกระทาของพระองค์ และเรยี กร้องให้พระองค์สละราชสมบตั ิ พร้อมกนั น้ัน ซาลอธ ซาร์ ยังได้เขยี น บทความชอ่ื “ราชาธปิ ไตยหรอื ประชาธปิ ไตย?” (Monarchy or Democracy?) ลงในนติ ยสาร เพ่อื วพิ ากษ์การกระทาของเจ้าสหี นุอกี ด้วย จากการกระทาเหล่าน้ี สง่ ผลใหพ้ วกเขาโดน ระงบั ทนุ การศึกษา และหลังจากนั้นจึงเดินทาง กลับประเทศ และเปล่ียนช่อื พรรคตนเองเปน็ “พรรคแรงงานแห่งกัมพูชา”
ในเดือนกนั ยายน พ.ศ. 2509 พรรคแรงงานแหง่ กัมพชู าได้เปลย่ี นชอ่ื เปน็ \"พรรคคอมมวิ นิสต์ กมั พชู า\" ดว้ ยความชว่ ยเหลอื ทางดา้ นอาวธุ และท่ี พักจากฝา่ ยเวียดนามเหนอื พรรคคอมมวิ นิสต์ กมั พชู า ที่ประกอบด้วยกลุ่ม 3 กลุ่ม ได้แก่ กล่มุ เขมรแดง (กลมุ่ ปัญญาชนปารสี ) กลุ่มเขมรเวยี ด มินห์ และกล่มุ เขมรคอมมิวนสิ ต์ ก็เร่ิมใชก้ าลงั ต่อต้านรัฐบาลเจ้าสีหนุ โดยเริ่มจากการโจมตฐี านท่ี มัน่ ของฝ่ายพระองคก์ อ่ น ขณะเดียวกัน บรรดา นกั ศึกษาและครูในเมอื งจานวนมากก็รสู้ ึกไมพ่ อใจ กบั วธิ ีการปกครองของเจ้าสหี นุ และหนั มา สนับสนุนฝง่ั ตอ่ ต้านวา่ เปน็ ขบวนการทางเลือกท่ี ควรจะมาแทนการปกครองแบบเจา้ สีหนุ
ต่อมา หลงั จากเหตุการณ์รฐั ประหารยดึ อานาจเจ้าสหี นใุ นเดอื นมีนาคม พ.ศ. 2513 กลุม่ พลงั ฝา่ ยขวาซง่ึ อยูต่ รงขา้ มกบั ขบวนการ คอมมวิ นิสต์ กส็ ามารถเข้ากมุ อานาจทาง การเมืองของกมั พูชาไดแ้ ทบทงั้ หมด แต่อย่างไรกต็ าม ภายในชว่ งเวลา 4 ปขี อง การดารงอานาจ รฐั บาลฝา่ ยสาธารณรัฐกต็ ้อง เผชิญปญั หาหลายประการ ตรงกันขา้ มกบั ฝ่าย คอมมวิ นสิ ต์ที่ถงึ แม้ว่าจะถูกกดดนั แต่กย็ งั เปน็ ฝา่ ยที่สามารถเข้ายึดครองพ้ืนที่สว่ นใหญ่ใน กมั พูชาไดแ้ ละเจา้ สหี นเุ ปล่ียนจุดยืนมาสนับสนุน การต่อสขู้ องฝา่ ยคอมมิวนสิ ต์ ความนยิ มในเขต ชนบททม่ี ีต่อพระองคก์ ็เพิม่ มากขึ้น จนเป็นผลให้ การขยายอานาจของพรรคคอมมวิ นสิ ต์กัมพูชา เปน็ ไปอย่างง่ายดาย
ต้น พ.ศ. 2518 กองกาลงั คอมมิวนสิ ต์ไดว้ าง ระเบิดตัดเสน้ ทางชายฝ่ังแมน่ า้ ทีใ่ ช้ลาเลียงอาหาร และอาวธุ เขา้ ส่กู รงุ พนมเปญและนากาลังปิดลอ้ ม เมอื งหลวงเป็นเวลา 3 เดอื น เพอ่ื เตรียมการบกุ ยดึ ในทสี่ ุด หลังจากการหลบหนอี อกจากกัมพชู า ของนายกรฐั มนตรลี อน นอล ในเดอื นมนี าคม ของปีเดียวกัน และความพยายามของ สหรฐั อเมรกิ า ทีจ่ ะนาฝ่ายคอมมิวนสิ ตม์ าเจรจา กบั ฝา่ ยรฐั บาล ไมเ่ ปน็ ผล กองกาลงั พรรค คอมมิวนิสต์กัมพชู า ทีน่ าโดยกลมุ่ เขมรแดงของ ซาลอธ ซาร์ กเ็ ข้าบกุ ยดึ กรงุ พนมเปญ ในเชา้ ตรู่ วันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2518 ซ่งึ ตรงกับวนั ปใี หม่ ของชาวกมั พชู า
กมั พชู ายุคเขมรแดง
หลงั จากทบี่ ุกยดึ กรุงพนมเปญและ สาธารณรัฐกมั พชู าได้สาเรจ็ เขมรแดงได้ เปลีย่ นระบอบการปกครองของกมั พูชาให้ เป็นระบอบสังคมนิยมลัทธิคอมมิวนิสต์ โดย มคี ณะผปู้ กครองหลกั คือ พรรค คอมมวิ นิสตก์ ัมพูชา หรอื พรรคกมั พชู า ประชาธิปไตย และมกี ลมุ่ ผู้ปกครองสงู สุดท่ี เรียกตนเองวา่ \"องั การ์เลอ\" กลุ่ม คอมมิวนิสต์ประกาศยกเลกิ รัฐบาล ราชอาณาจักรกมั พชู าพลัดถ่นิ จนกระทงั่ มี การประกาศใช้รัฐธรรมนญู เมือ่ 5 มกราคม พ.ศ. 2519 เขมรแดงไดป้ ระกาศใช้ รัฐธรรมนูญกัมพชู าฉบบั ใหม่ ภายในนั้นได้มี การบัญญัติช่อื อย่างเปน็ ทางการของ ประเทศกมั พชู าวา่ \"กมั พูชาประชาธปิ ไตย\"
หลงั จากทเ่ี ขมรแดงขนึ้ มามอี านาจแล้ว สิ่งแรกทีท่ าคือ ประกาศใหช้ าวเขมรทุกคน ทิง้ ทกุ สิ่งทุกอย่าง ไมว่ า่ จะเปน็ บ้าน เงนิ ทอง หรอื แม้แตค่ นทต่ี วั เองรกั ทั้งหลาย เพอ่ื มา ทางานให้กบั คอมมูน (คอมมูนคือหน่วยย่อย ของเขมรแดง มีคอมมูนละ 10,000 คน) หน้าท่ีท่คี นในค่ายตอ้ งทาทุกวันคือทางาน ตามแต่ที่คอมมนู ใดจะสง่ั ลงมา แต่ทุกคอม มูนเหมอื นกันหมดคอื ทางานโดยใช้ แรงงานคนท้งั หมดโดยไมม่ ีเครือ่ งมอื ใด ๆ ช่วยท่นุ แรง และตอ้ งทางานเป็นเวลา 11 ชว่ั โมง เปน็ เวลา 9 วนั ส่วนวันท่ี 10 ตอ้ ง ฟงั เขมรแดงอบรมเรอ่ื งลทั ธคิ อมมวิ นิสต์
นอกจากน้ี เขมรแดงตอ้ งการให้ กัมพูชาเป็นประเทศทมี่ แี ต่คนเชื้อสาย เดยี ว คอื เช้อื สายกมั พชู าเทา่ น้นั จงึ เกดิ \"ทงุ่ สังหาร\" เพ่ือฆ่าล้างเผา่ พนั ธ์ุท้งั ชาว เวียดนาม ชาวจีน รวมถึงคนเขมรดว้ ย กนั เอง ซ่ึงมีการประเมินว่ามีผ้เู สียชีวิต ประมาณ 1.5-2 ล้านคน นับเป็นการฆ่า ล้างเผา่ พันธท์ุ ีเ่ ลวร้ายทส่ี ดุ ของ ศตวรรษที่ 20 รวมกับการใช้แรงงาน อยา่ งหนกั รวมแลว้ มีผูเ้ สียชวี ติ กวา่ 3,000,000 คน
ระหวา่ งการมีอานาจเหนือกัมพูชา ผู้นา เขมรแดงฝันจะรอื้ ฟ้ืนจักรวรรดิเขมรเมอ่ื พนั ปกี อ่ นโดยการเขา้ ครอบครองดินแดน บางสว่ นของไทยและเวยี ดนาม หลังจากที่ได้ ครองอานาจใน พ.ศ. 2518 ได้มีการปะทะ ระหว่างทหารเขมรแดงกบั ทหารเวียดนาม เมอื่ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2518 ซ่ึงเปน็ เวลา เดียวกบั ทส่ี หรัฐอเมรกิ าและเวยี ดนามโจมตี กัมพูชาทาใหพ้ ล พตและเอยี ง ซารตี ้องไป เยอื นฮานอย และไดล้ งนามในสนธสิ ญั ญา แสดงถงึ ความเปน็ มติ รของทง้ั สองประเทศ ในระหว่างทีเ่ ขมรแดงครองอานาจในกมั พูชา น้ี ชาวเวียดนามจานวนมากไดอ้ พยพออก จากกัมพชู า
ทางเขมรแดงไดต้ ดิ ตอ่ กบั เวยี ดนาม เหนอื ตั้งแตเ่ ดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2518 เพ่อื แกไ้ ขปญั หาพรมแดนและการ ยอมรบั กัมพูชาในฐานะประเทศเอกราช เนอ่ื งจากพรรคคอมมวิ นิสตเ์ วยี ดนาม ถือว่าเขมรแดงเป็นเพียงสาขาหนง่ึ ของ ตนและพรรคคอมมิวนิสตเ์ วยี ดนามเปน็ พรรคคอมมิวนิสต์หนง่ึ เดยี วในอินโดจีน อยา่ งไรก็ตาม ฝา่ ยเวยี ดนามไม่สามารถ ตกลงกบั เขมรแดงได้ เพราะเวียดนามไม่ ยอมถอนทหารออกจากบรเิ วณทเ่ี ขมร แดงถอื ว่าล้าเข้ามาในดนิ แดนของ กมั พชู า ซงึ่ คอื แนวเบรวเิ ญ่
การลม่ สลายและ หลังจากสูญเสยี อานาจ
ในวนั ท่ี 3 ธันวาคม พ.ศ. 2521 วทิ ยุ ฮานอยได้ประกาศการจัดตั้งแนวรว่ ม สามัคคปี ระชาชาติกู้ชาตกิ มั พูชา ซ่ึงเป็น กลุ่มผสมระหว่างพวกที่นิยมและไม่นิยม คอมมิวนสิ ต์ที่ไปลภี้ ยั ในเวยี ดนาม และ ต้องการโคน่ ลม้ ระบอบของพล พตโดยมี เวยี ดนามหนุนหลัง เวียดนามเร่มิ บกุ รกุ เขา้ มาในกัมพชู าเมื่อ 22 ธนั วาคม พ.ศ. 2521 และใช้เวลาไม่นานก็สามารถยดึ พนมเปญได้ ในวนั ท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2522 พล พต และกองกาลงั เขมรแดงหลบหนีมายังแนว ชายแดนไทยในเขตป่าเขาเพือ่ ฟื้นฟกู อง กาลังข้ึนใหม่ ส่วนแนวรว่ มท่เี วียดนามหนุน หลงั ได้จดั ตัง้ สาธารณรฐั ประชาชนกัมพูชา เพอ่ื ฟืน้ ฟูประเทศในดา้ นต่าง ๆ ต่อไป
แตอ่ ย่างไรก็ตาม ปฏบิ ัติการ เคล่อื นไหวแบบต่อตา้ นของเขมรแดง โดยเฉพาะบรเิ วณภาคตะวนั ตกของ กมั พชู า ซึ่งมฐี านที่ม่นั อย่ใู น ราชอาณาจกั รไทย ก็ยังคงดาเนิน ตอ่ มาในช่วงทศวรรษท่ี 90 จนกระทง่ั ปี พ.ศ. 2539 พล พต หวั หน้าขบวนการในขณะนน้ั กย็ ุตกิ าร ทางานของเขมรแดงลงอย่างเป็น ทางการ หลังจากท่มี กี ารลงนามใน ขอ้ ตกลงสันติภาพ
หลงั จากการเสยี ชวี ิตของพอล พต เมือ่ เดือนเมษายน พ.ศ. 2541 กองกาลังเขมร แดงสว่ นใหญไ่ ด้ยอมวางอาวธุ เขียว สัมพัน กบั นายเจยี ยอมจานนต่อฮุน เซนเมื่อเดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2541 ทาให้เหลือเพียงกอง กาลงั ตดิ อาวุธจานวนน้อยเทา่ น้นั เขียว สัม พันประกาศยกเลกิ รัฐบาลเฉพาะกาลเพอ่ื สหภาพแหง่ ชาติและการปลดปล่อยแหง่ ชาติ กัมพูชาหลงั การเสยี ชีวติ ของพล พต ใน พ.ศ. 2541 ตามอ็ กและกังเกก็ เอยี งที่เป็นผู้ บญั ชาการคุกตวล สเลง ที่ใชค้ มุ ขงั นักโทษ การเมืองในขณะทเี่ ขมรแดงเรอื งอานาจ ถูก ฝา่ ยรฐั บาลจบั ได้เมือ่ เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2542 ถกู ต้ังข้อหาฆา่ ลา้ งเผา่ พันธ์ุ
สมาชิกกลมุ่ นายกษิดศิ โกมุทพันธ์ุ เลขท่ี 2 ด.ช.กสมา กลา้ การขาย เลขที่ 3 ด.ช.กันตณัฐ จุลละทรัพย์ เลขที่ 4 หอ้ งม.3/3 นายชานน โฮเวลส์ เลขที่ 7 นายวชริ วิชญ์ สลับศรี เลขท่ี 15 นายศิวัช อ่ิมมาก เลขท่ี 17
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: