สงครามจตั รุ ัสเทยี นอนั เหมนิ
สาเหตุ • หู เหยาปง อดีตเลขาธิการพรรคคอมมวิ นสิ ต วยั 73 ป เสียชวี ิตดวยโรคหัวใจ นักศึกษาจํานวนมากออกมารวมตวั ทจ่ี ตั ุรัสเทียนอนั เหมนิ เพือ่ ไวอาลยั และแสดง ความไมพอใจทีก่ ารปฎริ ูปประเทศไปอยา งลาชา • ภาวะเงินเฟอ • การทุจรติ ทางการเมอื ง • คล่นื ประชาธิปไตยลกู ท3่ี • คติเหน็ แกญ าติ คอื การแสดงความลําเอยี งโดยความเปน ญาตพิ ่ีนองแทนทีจ่ ะวดั จากความสามารถหรือความเหมาะสม เชน วา จางหรือมอบตําแหนง ใหแ กญ าติพี่ นอ ง แทนท่ีจะมอบใหแกผ ทู ีม่ ีความสามารถมากกวา • ความไมสงบทางสงั คมในยุโรปตะวนั ออก
ลาํ ดบั เหตุการณ สงครามจตั รุ ัสเทยี นอนั เหมนิ 15 เมษายน พ.ศ.2532 หู เ ย า ป ง อ ดี ต เ ล ข า ธิ ก า ร พ ร ร ค คอมมิวนิสต วัย 73 ป เสียชีวิตดวยโรคหัวใจ นักศึกษาจํานวนมากออกมารวมตัวท่ีจัตุรัส เทียนอันเหมินเพ่ือไวอาลัยและแสดงความไม พอใจท่ีการปฏิรปู ประเทศเปน ไปอยา งลาชา หู เยาปง ถือไดวาเปนนักปฏิรูปในพรรค คอมมิวนิสต และไดรับการยอมรับในหมู ปญญาชนและนักศึกษาแนวเสรีนิยม อยางไรก็ ตาม เขาถูกบงั คบั ใหล าออกในป พ.ศ.2530
วนั ที่ 17 เม.ย. 2532 จํานวนผูประทวงในกรุงปกกิ่งเพ่ิมขึ้นเปนหลาย พนั คน นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยปกก่ิงและเหมินเหมิน ไปน่ังบริเวณหนามหาศาลาประชาคม เพื่อย่ืนคํารองให รัฐบาลประเมินคุณูปการของ หู เยาปง เสียใหม และให รั ฐ บ า ล เ ร ง ก ร ะ บ ว น ก า ร ป ฏิ รู ป ป ร ะ เ ท ศ ใ ห เ ป น ประชาธิปไตย จากน้ันการประทวงก็คอย ๆ ขยายวง กวางไปทัว่ ประเทศ วันท่ี 19 เม.ย. การนั่งประทวงเร่ิมขึ้นที่หนาซินหัวเห มิน ซ่ึงเปน ประตูหลกั ทางเขาทําเนยี บรฐั บาล
23 เม.ย. 2532 นกั ศึกษาจากกว่า 20 มหาวิทยาลยั ในกรุงปักกิง่ ประกาศ ว่าพวกเขาจะก่อต้งั สหภาพ นกั ศึกษาชวั่ คราว จะชมุ นุม ต่อเนอื่ งอย่างไม่มกี ําหนดเพอื่ ประทว้ งการเขา้ ควบคุมข่าวสาร ของรฐั บาล
26 เม.ย. 2532 นสพ.พเี พลิ สเ์ ดลี ของทางการจีนตีพมิ พบ์ ท บรรณาธิการชื่อ \"ความจําเป็ นทีต่ อ้ งมีจุดยนื ชดั เจนต่อความวุ่นวาย\" โดยกล่าวหาว่ามีคน ไม่กีค่ นทีม่ วี าระซ่อนเรน้ และใชน้ กั ศึกษาเป็ น เครือ่ งมอื ใหเ้ กิดความวุ่นวาย บทความน้ ีให้ นิยามอย่างเป็ นทางการต่อการประทว้ งของ นกั ศึกษาว่าเป็ น \"ความวุ่นวาย\" และ \"การ สมคบคิดทีม่ กี ารวางแผนมาแลว้ \" บทบรรณาธิการน้ ที ําใหผ้ ูป้ ระทว้ งโกรธแคน้ และส่งผลใหม้ คี นมาร่วมชมุ นุมเพมิ่ ข้ ึน
27-29 เม.ย. 2532 หลงั การตีพมิ พบ์ ทบรรณาธิการ นกั ศึกษา จากหลายมหาวิทยาลยั เขา้ ร่วมการ ประทว้ ง มีการปรบั โครงสรา้ งสหภาพ นกั ศึกษาชวั่ คราวใหก้ ลายเป็ นสหพนั ธ์ นกั ศึกษาปักกิง่ อิสระ นาํ โดย หวูเอ่อไคชี องคก์ ารนกั ศึกษาใหม่น้ ยี ืน่ ความ ตอ้ งการ 3 ประการ และใหม้ กี ารพูดคุย เจรจา 7 คร้งั เรียกรอ้ งใหท้ างการยอมรบั ว่าสหภาพเป็ นองคก์ รที่ถูกตอ้ งตาม กฎหมาย และใหถ้ อนบทบรรณาธิการเมือ่ วนั ที่ 26 เม.ย. หยวน มู่ โฆษกคณะรฐั มนตรี และ เจา้ หนา้ ที่รฐั บาลอื่น ๆ เจรจาพูดคุยกบั นกั ศึกษา 45 คน จาก 16 มหาวิทยาลยั ในกรงุ ปักกิง่ แต่ผูน้ าํ สหภาพ หวงั ตนั และ หวูเอ่อไคชี ไม่ ยอมรบั ขอ้ ตกลง
3-4 พ.ค. 2532 มี นั ก ศึ ก ษ า เ ข า ร ว ม ก า ร ป ร ะ ท ว ง เ พ่ิ ม ก อ น วั น ครบรอบ 70 ป เหตุการณการเคลื่อนไหว 4 พ.ค. (การประทวง ของนักศึกษาในปกก่ิงหลังสงครามโลกคร้ังที่ 1) จาว จ่ือห ยาง เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสตในตอนน้ันถูกมองวาเปน นักปฏิรูป สนับสนุนใหมีการพูดคุยเจรจากับนักศึกษา เขากลาว ในแถลงการณสองครั้งแสดงความเห็นใจนักศึกษา บอกวา สมเหตุสมผลแลวที่พวกเขาจะสนใจเรือ่ งปญ หาการทจุ รติ วนั พฤหัสบดี นักศกึ ษามหาวิทยาลัยเดนิ หนาไปยงั จตั ุรสั เทยี นอนั เหมนิ เพื่อเผยแพร \"การประกาศ 4 พ.ค.\" เรียกรองใหประเทศมี ประชาธิปไตย นอกจากในปกกิ่งแลว ยังมีนักศึกษาในเซี่ยงไฮ, นาน กิง และ กวางโจว ที่เริ่มเดินประทวง เรียกรองใหรัฐบาลหันมา พดู คยุ กบั นักศึกษา
นักศกึ ษาหลายรอ ยคน นําโดยผูนํานกั ศึกษาอยาง ไฉ หลงิ เรม่ิ ตนการประทวงอดอาหารอยา ง ไมมกี าํ หนด สองวนั กอนหนา ท่ีผูนาํ โซเวียต นายมิคาอลิ กอรบ าชอฟ จะมาเยือนจนี
15-16 พ.ค. 2532 คาอิล กอรบ าชอฟ เดนิ ทางมารว มการประชมุ สุดยอดจีน-โซเวยี ต เปนความพยายามทีจ่ ะจบ ความขัดแยง ระหวางสองประเทศทดี่ ําเนนิ ยาวนานถึงสามทศวรรษ อยา งไรก็ดี นกั ศึกษา ยังยึดจัตรุ ัสเทยี นอันเหมนิ อยู จนี จึงตอ งจัดพิธี ตอ นรบั ทสี่ นามบินแทน ซ่ึงเปนเรื่องนา อบั อาย สาํ หรบั ทางการ หลงั การประชมุ จาว จอื่ หยาง บอกกับส่ือ นานาชาติวา การแกไ ขปญ หาสาํ คญั ๆ ในจีนยงั ตอ งการการนาํ ของ เตงิ้ เส่ยี วผิง อยู ซึง่ แสดง ใหเหน็ ถงึ อิทธพิ ลของเขาแมจ ะเกษยี ณอายไุ ป แลว
18 พ.ค. 2532 หลี่ เผิง นายกรัฐมนตรีจีนในตอนนั้น ซ่ึงถือ ไดว า เปน ผยู ดึ ม่ันในหลักการ พดู คยุ กับ หวัง ตัน, หวู เออไคชี และตัวแทนนักศึกษาคนอื่น ๆ ท่ีมหาศาล ประชาคม วันท่ี 18 พ.ค. หลี่ เผิง เรียกรองให นั ก ศึ ก ษ า ห ยุ ด ป ร ะ ท ว ง อ ด อ า ห า ร แ ล ะ อ อ ก จ า ก จั ตุ รั ส ฝ า ย นั ก ศึ ก ษ า ข อ ใ ห เ ป ล่ี ย น คํ า ใ น บ ท บรรณาธิการ นสพ.พีเพิลสเดลี และใหยอมรับวา การเคลื่อนไหวของนักศึกษาเปน \"การเคล่ือนไหว แบบประชาธิปไตยเพ่ือชาติ\" อยางไรก็ตาม ท้ังสอง ไมส ามารถตกลงกันได
19 พ.ค. 2532 จา ว จ่ือหยาง สัญญากับนกั ศึกษาวา \"พรรคคอมมิวนสิ ต และรัฐบาลจะไมม วี ันตามแกแคน \" และขอใหน ักศกึ ษา หยดุ ประทว งอดอาหาร แตนักศึกษาปฏเิ สธ เม่อื การประทวงทวีความรนุ แรงขนึ้ จาว จือ่ ห ยาง เดินทางไปหานักศึกษาทจี่ ัตุรัสเทียนอนั เหมนิ และ เรยี กรองใหห ยดุ การประทวงอดอาหารอกี เขาไปท่ีน่นั พรอมกบั เวนิ เจยี เปา ผูก ลายมาเปนนายกรัฐมนตรใี น เวลาตอ มา \"เราอยทู ี่น่ี แตมันก็สายไปแลว\" จาว บอกกับ ผชู มุ นุม นีเ่ ปนการปรากฏตัวตอ หนา สาธารณะครงั้ สดุ ทายของ จาว จื่อหยาง ดวย
20 พ.ค. 2532 ทางการจีนประกาศกฎอยั การ ศึก และกองกําลังทหาร จํานวนมากก็ไปประจําการใน กรงุ ปกกิ่ง อยางไรกต็ าม คน จาํ นวนมากลอ มรถถังไวพ รอม กบั สรางสิ่งกีดขวางบนทอ ง ถนนดว ย
24 พ.ค. – 4 มิ.ย. 2532 การชุมนุมประทวงยงั ดาํ เนิน ตอ ไป เรม่ิ มีความขัดแยง ระหวา ง นกั ศกึ ษาวา ควรจะปกหลักหรอื ออก จากจตุรสั เทียนอันเหมนิ ทางการจนี พิจารณาวาจะเร่ิม ปฏิบตั กิ ารทางทหารเพื่อไลผชู ุมนุม ออกและทวงพืน้ ทีค่ นื และยตุ คิ วาม วนุ วายในเมืองหลวง
2 มิ.ย 2532 หลิว เส่ียวโป อาจารยมหาวิทยาลัยปกก่ิงนอร มอล, หาว เดอ-เจ้ียน และบุคคลผูมีช่ือเสียง อีก 2 คน ทําการประทวงอดอาหารที่จัตุรัส เทียนอันเหมินเพื่อสนับสนุนนักศึกษา โดยบอก วาจะทําการประทวงนาน 72 ช่ัวโมง สมาชิก อาวุโสในพรรคคอมมิวนิสตลงมติเห็นชอบให ยุตกิ ารชมุ นุมประทวงโดยใชก าํ ลัง 3 มิ.ย. 2532 ชวงคํ่า กองกําลังทหารจํานวนมากพรอมรถถัง และรถหุมเกราะเริ่มขับไลนักศึกษาออกจาก พื้นที่ ทหารบางหนวยเริ่มใชกระสุนจริง ทําให พลเรือนที่ไมไดพกอาวุธจํานวนมากเสียชีวิต และบาดเจ็บ ทหารบางคนถูกผูชุมนุมทําราย ดว ยเชนกนั
4 มิ.ย. 2532 ห ลั ง จ า ก ค่ํ า คื น แ ห ง ก า ร น อ ง เลือด ทางการจีนยึดจัตุรัสเทียนอันเหมินคืน ได ยังมีเสียงปนเปนคร้ังคราวตลอดวัน ถึงทุก วันนี้ ยังไมแนชัดวามีผูเสียชีวิตกี่รายกันแน เนือ่ งจากรฐั บาลจีนปฏิเสธทจี่ ะเปดเผยเอกสาร ที่เกี่ยวของ มีการชุมนุมประทวงใหญตอ เหตุการณนี้ในหลายเมืองในจีน รวมถึงที่ ฮอ งกง และมาเกา ดวย
13 มิ.ย. 2532 รัฐบาลจีนออกหมายจับ ผูนํานักศึกษา 21 คน นักศึกษา ห ล า ย ค น ลี้ ภั ย ผ า น ป ฏิ บั ติ ก า ร ช ว ย เ ห ลื อ ใ น ฮ อ ง ก ง ที่ มี ชื่ อ วา Operation Yellow Bird
ผล • การบงั คบั ใชก้ ฎอัยการศึกที่นายกรัฐมนตรีหลี่ เผิงประกาศในบางพ้ ืนที่ของกรุงปักกิ่ง ดําเนินการโดยใชบ้ งั คบั ต้งั แต่ 3 มิถุนายน 2532 (ประกาศ 20 พฤษภาคม 2532 – 10 มกราคม 2533 รวม 7 เดือน 3 สปั ดาห)์ • มผี ูเ้ สียชีวิตหายแสนคน และไดร้ บั บาดเจ็บหลายพนั คนท้งั ในและนอกจตั ุรสั เทียนอนั เหมิน • ผูก้ ่อจลาจลฆ่าทหารหลายนาย และมีหลายพนั นายไดร้ ับบาดเจ็บในวันที่ 3 และ 4 มถิ ุนายนหลงั พลเรือนถูกฆ่า • ประหารชีวิตผูก้ ่อจลาจลที่ถูกต้งั ขอ้ หาอาชญากรรมรุนแรงในอีกไม่กีเ่ ดือนต่อมา • จา้ ว จือหยางถูกถอดออกจากตําแหน่งเลขาธิการและคณะกรรมการบริหารสูงสุดของพรรค • การปฏิรูปตลาดล่าชา้ • การควบคุมสือ่ เขม้ งวดข้ ึน • การปฏิรูปการเมืองหยุดชะงกั ขอจบการรายงานเพียงเท่าน้ีครับ/ค่ะ
สมาชิกมดี งั นี้ 1. เดก็ ชายระพพี งษ์ แซ่ห่วง ม. 3/4 เลขที่ 13 2. เด็กหญงิ ขวญั ชนก วงจรัสพงศ์ ม.3/4 เลขที่ 25 3. เด็กหญงิ ชุตกิ าญจน์ โคมกระจ่าง ม.3/4 เลขท่ี 29 4. เดก็ หญงิ ณฐั ธิตา โอภาเสถียร ม.3/4 เลขที่ 31 5. เดก็ หญงิ มณนี ่าน ทพั ผดุง ม.3/4 เลขที่ 37
˚ÅƱ¨ Ë®®Ë —˽ۦ Î —ۙ˽˝Îà®±Ê1˝ É
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: