ข คำนำ กศน.ตำบลช้างใหญ่ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร ได้ดำเนนิ การ จัดกิจกรรม การจัดการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำโรตีกุหลาบ กศน.ตำบลช้างใหญ่ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในหลักสูตรการทำโรตีกุหลาบ ได้ และเพื่อให้ประชาชนสามารถนำ ความรไู้ ปประยุกตใ์ ช้กบั ชีวิตประจำวนั สร้างรายได้ให้กับตนเองและชุมชน กศน.ตำบลช้างใหญ่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร หวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดกิจกรรมการจัดการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำโรตีกุหลาบ โดย กศน.ตำบลช้างใหญ่ จะเป็นประโยชน์กับผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรมในคร้ังนี้ไม่มากกน็ ้อย และหากการจัดโครงการ ในครั้งน้ี มีข้อบกพร่องประการใด ทางศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร ตอ้ งขออภยั ไว้ ณ ท่ีนดี้ ว้ ย ผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) ฉบับนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลในการจัดทำโครงการ ภาพกิจกรรม ตลอดจนประเมินผลโครงการเพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้และเป็นแนวทางในการจัดทำโครงการ ในครัง้ ต่อไป นายชนะชยั อัยกลู ผู้จดั ทำ ผลการปฏบิ ตั ิงานทีเ่ ปน็ เลิศ (BEST PRACTICE) กศน.ตำบลช้างใหญ่
สารบญั ข เรอ่ื ง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข ความสำคญั และความเปน็ มา ๑ วตั ถุประสงค์ ๒ วิธีการดำเนินงาน ๒ ตัวชวี้ ดั ความสำเร็จ ๓ การประเมินผลและเครื่องมือการประเมินผล ๓ ผลการดำเนินงาน ๓ กลยุทธ์หรอื ปัจจยั ทีท่ ำให้ประสบความสำเร็จ ๕ ขอ้ เสนอแนะ ๖ การอา้ งองิ ๗ ภาคผนวก ผลการปฏบิ ัติงานที่เปน็ เลศิ (BEST PRACTICE) กศน.ตำบลชา้ งใหญ่
๑ ผลการปฏิบตั ิงานท่เี ป็นเลศิ (Best Practice) กศน.ตำบลช้างใหญ่ ชอ่ื ผลงาน : การสรา้ งอาชพี ให้ชุมชน หลกั สูตรการทำโรตกี หุ ลาบ ผู้รับผดิ ชอบ : นายชนะชยั อัยกลู ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล กศน.ตำบลช้างใหญ่ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร สำนักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ความสอดคล้อง แนวทางการปฏิบตั ทิ ี่ดี (Best Practice) เร่อื ง การทำโรตีกุหลาบ จัดทำโดยมีการวิเคราะห์ ความสอดคล้องกบั จดุ เน้น นโยบาย ของสำนักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ดงั นี้ - มีความสอดคล้องกบั พนั ธกิจ ของ สำนักงาน กศน.ดงั นี้ ๑. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ สอดคล้อง กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อยกระดับการศึกษา และพัฒนาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ให้พร้อมรับ การเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวในการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม ก้าวสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างย่งั ยนื ๒. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา การวัดและประเมินผลในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้และบริบท ในปจั จบุ ัน - มีความสอดคล้องกบั จุดเน้น ของ สำนักงาน กศน.ดังนี้ ๒. ส่งสรมิ การจดั การศึกษาและการเรียนรูต้ ลอดชีวิตสำหรับประชาชนทเี่ หมาะสมกับทุกชว่ งวยั ๒.๑ ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ ในรูปแบบ Re-Skill & Up-Skill และการ สร้างนวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความต้องการของประชาชน ผ้รู ับบรกิ าร และสามารถออกใบรับรองความรู้ความสามารถเพื่อนำไปใชใ้ นการพัฒนาอาชีพได้ ๒.๓ ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ การฝึกอบรมอาชีพ ที่เหมาะสมรองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมสมรรถนะผู้สูงวัย และหลักสูตร การดูแลผสู้ ูงวยั โดยเนน้ การมสี ่วนร่วมกบั ภาคีเครือข่ายทุกภาคสว่ นในการเตรียมความพร้อมเข้าสูส่ งั คมสูงวยั ผลการปฏบิ ตั ิงานทเี่ ปน็ เลิศ (BEST PRACTICE) กศน.ตำบลช้างใหญ่
๒ ความสำคญั และความเป็นมา การฝกึ อาชพี ในปัจจบุ นั มคี วามสำคญั มาก เพราะเป็นการพัฒนาประชาชนในพนื้ ทีใ่ ห้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่ เศรษฐกิจชุมชน ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ และภารกิจที่จะพัฒนายกระดับการจัด การศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง โดยสำนักงาน กศน.ได้กำหนดหลักการในการจัดกระบวนการเรียนรู้ในกลุ่มอาชีพ ได้แก่ เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม พาณชิ ยกรรม เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ รวมถงึ กลมุ่ จัดการและการบริการโดยเน้นการบรู ณาการให้ สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ โดยมุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำ อยา่ งมีคณุ ภาพ ท่ัวถงึ และเทา่ เทยี มกนั สามารถสรา้ งรายได้ทีม่ น่ั คง กศน.ตำบลช้างใหญ่ในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการศึกษาในระดับตำบล ได้นำนโยบายและยุทธศาสตร์ดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติเพื่อจัดการศึกษาส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชน ในพื้นที่ตำบลช้างใหญ่จึงได้สำรวจความต้องการของประชาชนถึงต้องการเรียนและประกอบอาชีพอะไร โดยคน้ พบว่าอาชีพการทำโรตีกหุ ลาบ สามารถพฒั นาอาชีพให้มีความมั่นคงต่อไปได้ กศน.ตำบลช้างใหญ่จึงจัด หลักสูตรกลุ่มสนใจหลักสูตรการทำโรตีกุหลาบ เพื่อเป็นศูนย์กลางในการฝึกพัฒนาสาธิต ทักษะการทำโรตี กุหลาบ อีกทั้งยังช่วยแก้ปัญหาคนว่างงาน และเปิดโอกาสให้ผู้ที่สนใจได้มาเรียนรู้ เพื่อนำไปต่อยอดพัฒนา อาชพี เดมิ หรอื นำไปประกอบเป็นอาชีพใหม่ สรา้ งเป็นรายได้ให้แกต่ นเอง ครอบครัวและชุมชนได้ วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพอ่ื สร้างอาชีพการทำโรตกี ุหลาบ ๒. เพอื่ พฒั นากลุ่มอาชีพให้มีความหลากหลายใหส้ ามารถผลติ อาหาร และจำหนา่ ย อย่างมคี ณุ ภาพ และมีรายได้เพ่ิมขึน้ ๒. เพอ่ื ให้ประชาชนได้เรยี นรวู้ ธิ ีการทำหลักสูตรการทำโรตกี ุหลาบ และนำไปประกอบอาชพี ได้ วธิ กี ารดำเนินงาน ๑. กำหนดกลมุ่ เป้าหมาย กลุ่มสตรี และประชาชนท่ีว่างเว้นจากการเกษตร การรับจ้าง และค้าขาย ในตำบลช้างใหญ่ อำเภอ บางไทร จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา จำนวน 9 คน ๒. การดำเนนิ การจดั กจิ กรรม ๒.๑ ครู กลมุ่ สตรี และประชาชนในชุมชนรว่ มกนั ศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการ โดยการจดั เวที ประชาคม จากนั้นนำข้อมูลมาวิเคราะห์ ทำให้ทราบว่าชุมชนมีภูมิปัญญาที่มีความรู้ ความชำนาญด้าน การทำอากหารและขนม ความต้องการของผู้บริโภค ตลาด อีกทั้งในชุมชนก็ยังมีวัสดุที่นำมาใช้ ในการทำโรตีกุหลาบ ๒.๒ ครู ผ้เู รียน และชมุ ชน ประชุมร่วมกันเพื่อวางแผนการดำเนนิ งาน ชี้แจงวัตถุประสงค์ ผลท่ีผู้ร่วม กจิ กรรมจะไดร้ บั ทำให้มีผู้สนใจเข้ารว่ มกจิ กรรม เปน็ กลุม่ สตรี และประชาชนในชมุ ชน จำนวน 9 คน ๒.๓ ศึกษาเอกสารข้อมูลเกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพในชุมชน จัดเตรียมสื่อ อุปกรณ์ และ วางแผน จัดกจิ กรรมการเรียนร้รู ่วมกับผู้เรยี น และวิทยากร ๒.๔ จัดทำหลักสตู รการทำโรตกี ุหลาบ ๒.๕ จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพโดยให้ความรู้เรื่องการทำโรตีกุหลาบ เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบตั ิจรงิ จนเขา้ ใจ และชำนาญ เน้นการผลติ สินค้าทมี่ ีคุณภาพ ใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ต่างๆ เพ่อื ให้เกิดความปลอดภัย ผลการปฏิบตั งิ านท่เี ป็นเลิศ (BEST PRACTICE) กศน.ตำบลชา้ งใหญ่
๓ ๒.๖ กศน.อำเภอบางไทร ได้มีนิเทศติดตามการจัดการศึกษาตอ่ เนื่อง เพื่อติดตาม ประเมินผลการ จัดกิจกรรม และครู กศน.ตำบล ได้มีการติดตามการดำเนินงาน โดยการใช้แบบติดตามผู้เรียน หลังจบ หลักสตู รการศึกษาตอ่ เนื่อง ๒.๗ สรุปผลการดำเนินโครงการที่ได้จากการติดตามผู้เรียนหลังจบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง เมื่อสินสุดโครงการ นำเสนอผลการจัดกิจกรรม และจุดที่ควรพัฒนา รวมทังข้อเสนอแนะ และจัดทำ รายงาน เพอ่ื นำเสนอแนวปฏิบตั ิทดี่ ี (Best Practice) ดา้ นการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาอาชพี ๒.๘ เผยแพร่ผลงานแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ โดย การนำเสนอผลงาน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะต่อที่ประชุม กศน.อำเภอ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการ วางแผน จัดกิจกรรมครั้งต่อไป ตวั ช้ีวัดความสำเรจ็ ผู้ที่ผ่านการอบรมหลักสตู รการทำโรตีกุหลาบ มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะสามารถนำความรู้ไป ใชใ้ นการพัฒนาอาชพี หรอื ปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ การประเมนิ ผลและเครือ่ งมอื การประเมินผล ประเมินผลงานการทำการทำโรตีกหุ ลาบ โดยวิทยากร และครู กศน.ตำบล ประเมนิ จาก การปฏิบัติ จริง ความชำนาญ และประเมนิ ความรู้ ความเข้าใจจากการลงมือปฏิบัติรายบุคคล ผลการดำเนินงาน ผู้ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการทำโรตีกุหลาบ มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการนำ ความรู้ไปใชใ้ นการพฒั นาอาชพี หรอื ปรบั ใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ บทสรุป หลักสูตร การทำโรตีกุหลาบ ที่จัดข้ึนในคร้ังนี้ ดำเนินการ ตามแนวทางวงจรคุณภาพ (Deming Cycle : PDCA) ดงั น้ี ด้านการวางแผน (P) ๑. ศึกษาสภาพปัญหา และวิเคราะห์ข้อมูลของชุมชนอย่างมีส่วนร่วมของครู ผู้เรียน และชุมชน โดย การจดั เวทีประชาคม เพ่อื นำมาวางแผนจัดกจิ กรรมที่สอดคล้องกบั สภาพบริบท ศักยภาพของชุมชน ปญั หา และความตอ้ งการทแ่ี ทจ้ ริงของผู้เรยี น ๒. วิเคราะห์งานตามบทบาทหน้าที่ และวิเคราะห์ความสอดคล้องที่เก่ียวข้อง เช่น ยุทธศาสตร์ และ จุดเน้นการดำเนินงานของ กศน. วิสัยทัศน์ พันธกิจ ระบบประกันคุณภาพสถานศึกษา ฯลฯ ซ่ึง จากการวเิ คราะห์งาน จะเหน็ ได้วา่ เปน็ งานตามบทบาทหน้าท่ีของครู กศน.ตำบล ทีจ่ ะตอ้ งจัด การศึกษา เพือ่ พัฒนาอาชพี ให้กับประชาชนในพนื ท่ี โดยต้องมีความสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการ และศกั ยภาพของแต่ละพ้ืนท่ี ผลการปฏบิ ัติงานทเี่ ปน็ เลศิ (BEST PRACTICE) กศน.ตำบลชา้ งใหญ่
๔ ๓. คน้ หา Best Practice โดยพจิ ารณาประเด็น ดงั นี เปน็ เร่ืองท่ีเกีย่ วข้องกับภารกจิ โดยตรงของบทบาทหน้าท่ี สนองนโยบายและจดุ เน้นการด้าเนินงานของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ด้านการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมี งานทำอย่าง ยั่งยืน โดยให้ความส้าคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำในกลุ่ม อาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง หรือการ บริการ ที่สอดคล้องกับศักยภาพ ของผเู้ รียน ความตอ้ งการและศักยภาพของแตล่ ะพ้ืนที่ มผี ลผลติ /ความสำเรจ็ เพิ่มข้ึน สามารถนำไปใช้เปน็ มาตรฐานการทำงานต่อไปได้ มีการพัฒนาปรบั ปรุงต่อไป จากการพจิ ารณาประเดน็ ตา่ งๆ ดงั กลา่ ว เพื่อคน้ หา Best Practice ในการจัดกิจกรรมที่ สอดคลอ้ ง กับสภาพปัญหา และความตอ้ งการของคนในชุมชน พบว่า เป็นเรอื่ งทีเ่ ก่ยี วข้องกบั บทบาทหนา้ ที่ โดยตรง ของ ครู กศน.ตำบล และเป็นการดำเนินงานที่สนองนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานของสำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ด้านการจัด การศึกษา ต่อเนื่อง จึงไดว้ างแผนเพื่อดำเนินการตามบทบาทภารกิจ ดงั น้ี ๑) ครู ผู้เรียน และชุมชน มีส่วนร่วมในการวางแผนและออกแบบกิจกรรมที่สอดคล้องกับสภาพ ปัญหา ความต้องการ โดยการประชุมร่วมกันเพื่อวางแผนการดำเนินงาน ช้ีแจงวัตถุประสงค์ ผลที่ผู้ร่วม กจิ กรรมจะได้รับ ทำใหม้ ผี ู้สนใจเขา้ รว่ มกจิ กรรม จำนวน 9 คน ๒) ศึกษาเอกสารข้อมูลเกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพในชุมชน จัดเตรียมสื่อ อุปกรณ์ และวางแผน จดั กิจกรรมการเรยี นรู้รว่ มกบั ผเู้ รยี น และวิทยากร ๓) ครูและผู้เรียนร่วมกันกำหนดทิศทางการดำเนินงาน และทำข้อตกลง คือ ต้องมีการจัดทำบัญชี รายรับ รายจ่าย ของกลุ่ม และกำไรที่ได้จากการขายสินค้าต้องมีการปันผลให้กับสมาชิก กลุ่ม และ นำบางส่วนเปน็ ทนุ หมนุ เวียนในการส่งเสริมอาชพี ตอ่ ไป ๔. นำข้อมูลจากการวิเคราะห์และพิจารณาในข้อ ๑ – ๓ มากำหนดกรอบการดำเนินงานที่ พจิ ารณาแลว้ วา่ เป็นแนวปฏบิ ัติทีด่ ี (Best Practice) โดยด้าเนนิ การ ดงั น้ี ๑) กำหนดวตั ถุประสงคข์ องโครงการ ๒) กำหนดตัวชีวัดความสา้ เร็จ ๓) กำหนดวธิ ีด้าเนนิ การ ๔) กำหนดวิธีการประเมนิ ผลและเครอื่ งมือการประเมนิ ผล ผลการปฏิบตั งิ านท่เี ป็นเลิศ (BEST PRACTICE) กศน.ตำบลชา้ งใหญ่
๕ ด้านการด้าเนินงาน (D) จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพตามที่ได้วางแผนและออกแบบกิจกรรมไว้ โดยการให้ความรู้ และ ฝกึ ปฏิบัติจริง ดังนี้ ๑) จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพโดยให้ความรู้เรื่อง ช่องทางการประกอบอาชีพการทำโรตีกุหลาบ โดยการอธิบาย จากใบความรู้ การสาธิตการทำ และเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงจนเข้าใจและชำนาญ เน้นการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ ใช้ วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและตรงความต้องการ ของผู้ซื้อ โดยมีการจำหนา่ ยตามรา้ นค้าในชมุ ชน ๒) ให้ความรู้เรื่องการจัดทำบัญชีรายรับ – รายจ่ายของกลุ่ม โดยมีครู กศน.ตำบล เป็นผู้ให้ คำปรึกษา แนะนำ ด้านการตรวจสอบและประเมนิ ผล (C) ๑) ประเมินผลงานการทำโรตีกุหลาบชนิดต่างๆ โดยวิทยากร และครู กศน.ตำบล ประเมิน จากการปฏิบัติจริง ความชำนาญ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ และประเมินความรู้ ความเข้าใจจากการลงมือ ปฏบิ ตั ิ ๒) กศน.อำเภอบางไทร ได้มีนิเทศติดตามการจัดการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อติดตาม ประเมินผลการ จัดกิจกรรม และครู กศน.ตำบล ได้มีการติดตามการดำเนินงาน โดยการใช้แบบติดตามผู้เรียนหลัง จบหลักสตู รการศกึ ษาต่อเน่อื ง ๓) สรุปผลการด้าเนินโครงการที่ได้จากการติดตามผู้เรียนหลังจบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง เมื่อส้ินสุด โครงการ นำเสนอผลการจัดกิจกรรม และจุดที่ควรพัฒนา รวมทังข้อเสนอแนะ และจัดทำ รายงาน เพอ่ื นำเสนอแนวปฏิบตั ิทด่ี ี (Best Practice) ด้านการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ ๔) เผยแพร่ผลงานแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ โดยการ นำเสนอ ผลงาน ปญั หา อุปสรรค ขอ้ เสนอแนะต่อท่ีประชุม กศน.อำเภอ เพ่ือใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการวางแผน จัดกิจกรรมครั้งต่อไป รวมท้ังนำเสนอผลงานในรูปแบบต่างๆ เช่น นำเสนอข้อมูลในศูนย์การเรียนฯ นำเสนอผ่าน เวบ็ เพจ กศน.ตำบลช้างใหญ่ ดา้ นการปรบั ปรุงและพัฒนาผลการปฏบิ ตั ิงาน (A) นำข้อเสนอแนะของผเู้ รียน ชมุ ชน และผ้ทู เี่ ก่ียวขอ้ ง มาปรบั ปรงุ รูปแบบ และวิธกี ารดำเนนิ งานการ ส่งเสริมอาชีพ เพื่อเผยแพร่ให้ชุมชนอื่นที่มีสภาพบริบทเหมือนหรือใกล้เคียงกัน ได้นำไปปรับใช้ในการ จัดกิจกรรม ส่งเสรมิ อาชีพต่อไป กลยุทธ์หรือปัจจัยที่ทำให้ประสบความสำเรจ็ ๑. การมสี ว่ นร่วมของครู ผู้เรยี น และชมุ ชนในการวเิ คราะหข์ ้อมลู พื้นฐานของชุมชน ทำใหร้ ูส้ ภาพ ปัญหา และความต้องการพฒั นา ใหไ้ ปสู่เปา้ หมายท่ตี อ้ งการได้ ๒. การนำเอาวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตลอดจนทรัพยากรในชมุ ชน เป็นองค์ความรู้พ้ืนฐาน ในการต่อยอดความรใู้ ห้เกดิ การพฒั นา ๓. หลักสูตรการทำโรตีกุหลาบ ดำเนินการตามแนวทางวงจรคุณภาพของ (Deming Cycle : PDCA) ซึ่งเป็นการดำเนินการอย่างเป็นระบบ สามารถตรวจสอบได้ในทุกข้ันตอน โดยเริ่ม ต้ังแต่การ วิเคราะห์สภาพ ปัญหา และความต้องการของชุมชนอย่างมีส่วนร่วมของครู ผู้เรียน และชุมชน รวมทั้ง การมีส่วนร่วมในการวางแผนและออกแบบกิจกรรมของครู ผู้เรียน ชุมชน และภูมิปัญญา ตลอดจนมีการ ติดตามประเมินผลทกุ ขน้ั ตอน จงึ ทำใหส้ ามารถพฒั นาผเู้ รียนได้บรรลตุ ามตัวช้ีวดั ความส้าเรจ็ ของโครงการ ผลการปฏบิ ตั งิ านที่เป็นเลศิ (BEST PRACTICE) กศน.ตำบลช้างใหญ่
๖ ขอ้ เสนอแนะ ๑. ควรสง่ เสรมิ ให้รกั ษา คุณภาพของผลติ ภัณฑอ์ ยา่ งตอ่ เน่อื ง ๒. ควรเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้ผู้ที่สนใจสามารถศึกษาข้อมูล เว็บไซต์ของสถานศึกษา สอ่ื ออนไลน์ ไดแ้ ก่ Facebook ผลการปฏิบตั งิ านที่เปน็ เลศิ (BEST PRACTICE) กศน.ตำบลชา้ งใหญ่
๗ การอา้ งองิ สถาบันพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ (๒๕๖๐) แนวทางการนำเสนอแนวปฎิบัติท่ดี ี (Best Practice) พิมพ์ครัง้ ที่ 1 บอยการพิมพ์ ศนู ยก์ ารเรยี นรดู้ ิจิทัลชมุ ชนเทศบาลตำบลแกง่ คอย จ.สระบุรี แหลง่ ข้อมลู : https://www.youtube.com/watch?v=NZBqKTptfII ผลการปฏบิ ัติงานทเี่ ปน็ เลิศ (BEST PRACTICE) กศน.ตำบลช้างใหญ่
๘ ภาคผนวก ผลการปฏบิ ตั ิงานทเี่ ป็นเลศิ (BEST PRACTICE) กศน.ตำบลชา้ งใหญ่
๙ คณะผ้จู ดั ทำ ทป่ี รึกษา ผู้อำนวยการ กศน. อำเภอภาชี นางสาวมกุ ดา แข็งแรง รกั ษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการ กศน. อำเภอบางไทร บรรณารักษ์ นางสาววชิ ชตุ า แก้วโมรา ครู นางสาวหทัยรตั น์ ศริ แิ กว้ ครผู ูช้ ว่ ย นางสาวฐติ พิ ร พาสี ผูร้ วบรวมข้อมูล/สรุปผล/รายงานผล/จดั พิมพ์รูปเล่ม นายชนะชัย อัยกูล ครู กศน.ตำบล ผลการปฏิบตั งิ านท่ีเป็นเลิศ (BEST PRACTICE) กศน.ตำบลช้างใหญ่
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: