คานา เอกสารน้ีจัดทาขนึ้ เพอ่ื ประกอบการประเมินคดั เลือก สาขา ภาคีเครอื ข่าย ประเภท ภมู ิ ปัญญา/ปราชญ์ชาวบา้ นดีเด่น โดยมกี รอบระยะเวลาในการพิจารณาผลงาน 1 ปี ( 1 กรกฎาคม 2562 – 30 มถิ ุนายน 2563 ) เพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการประเมิน เอกสารเล่มนี้ประกอบด้วยสว่ นสาคัญดงั ต่อไปน้ี ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทัว่ ไป ตอนที่ 2 ข้อมลู การประเมิน มี ๓ ดา้ น ดา้ นท่ี 1 ความรู้ ความสามารถเฉพาะด้าน ด้านที่ 2 การถา่ ยทอดความรู้ให้แก่ชมุ ชน สงั คม ด้านที่ ๓ การเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีของภมู ปิ ัญญา/ปราชญช์ าวบา้ น ตอนท่ี 3 ผลงานท่ีประสบความสาเรจ็ หวงั วา่ เอกสารเล่มน้จี ะเปน็ ประโยชน์ให้แกค่ ณะกรรมการประเมนิ และผอู้ า่ นไดเ้ ปน็ อย่างดี เพ่อื เป็นแนวทางในการพัฒนาคณุ ภาพในการบริหารและการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กศน.อาเภอชาติระการ พฤศจิกายน 25๖3
สารบญั หนา้ เรอื่ ง ก คานา ข สารบัญ ตอนที่ 1 ข้อมูลท่ัวไป 1 ตอนท่ี 2 ข้อมลู การประเมิน มี ๓ ดา้ น ๓ ด้านท่ี 1 ความรู้ ความสามารถเฉพาะด้าน ๔ ดา้ นที่ 2 การถา่ ยทอดความรู้ใหแ้ ก่ชมุ ชน สังคม ๑๒ ดา้ นที่ ๓ การเปน็ แบบอย่างที่ดีของภูมิปัญญา/ปราชญช์ าวบ้าน ๒๐ ตอนที่ 3 ผลงานท่ีประสบความสาเร็จ ๔๐ E – Book เอกสารประกอบการประเมนิ ๔๔ คณะผจู้ ัดทา ๔๕
ตอนท่ี ๑ ข้อมลู ทั่วไป
ตอนท่ี ๑ ข้อมูลทั่วไป ๑. ชอ่ื (นาย/นาง/นางสาว/ชน้ั ยศ)..........บวั ววิ .......................นามสกุล.......ลาสม............................... อายุ..............๕๐...............ปี ระดบั การศึกษา.........มัธยมศึกษาตอนปลาย.................................... ภมู ปิ ญั ญา/ปราชญ์ชาวบ้าน ดา้ น............หัตถกรรม......................................................................... ๒. ที่อยปู่ ัจจุบัน เลขที่.......๖๗/๑..........หม่ทู ี่.......๔..........ตาบล/แขวง..........ชาติตระการ.................. อาเภอ/เขต...........ชาติตระการ.............................จังหวดั .........พษิ ณุโลก....................................... โทรศัพท.์ ......................-...........................................โทรสาร...................-...................................... โทรศัพท์มือถอื .....๐๘๖-๒๐๓๐๐๖๗.......................E-mail………………-…………………………………… ๓. อาชีพ...........เกษตรกรรม................................................................................................................. สถานท่ที างาน........ศูนย์เรียนรู้ไรบ่ ัวเงนิ เลขที่ ๔๖/๓ ม.๙.......................................................... ตาบล/แขวง...........ชาติตระการ...............................อาเภอ/เขต........ชาตติ ระการ......................... จงั หวัด....................พษิ ณโุ ลก...................................โทรศพั ท์............๐๘๖-๒๐๓๐๐๖๗................ โทรสาร........................-......................................... E-mail…………………-………………………..………. ๔. ประวตั ผิ ลงาน ท่ใี หส้ นับสนนุ กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (โดยระบชุ ือ่ หนว่ ยงาน หรือองคก์ รที่ทา่ นเขา้ ร่วมกจิ กรรม) ๔.๑ กศน.ตาบลชาติตระการ กศน.อาเภอชาติตระการ จังหวดั พิษณุโลก ๔.๒ กศน.ตาบลบ่อภาค กศน.อาเภอชาติตระการ จังหวัดพษิ ณุโลก ๔.๓ สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอชาตติ ระการ จังหวัดพิษณโุ ลก ๔.๔ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลชาติตระการ อาเภอชาตติ ระการ จงั หวัดพิษณโุ ลก ๔.๕ องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลบอ่ ภาค อาเภอชาติตระการ จงั หวัดพษิ ณุโลก ๔.๖ สานักงานจัดหางานจงั หวัดพิษณุโลก ๔.๗ ศูนยเ์ รยี นรสู้ ตรีจงั หวัดพษิ ณุโลก ๔.๘ ศนู ยเ์ รียนรกู้ ารฝึกอาชีพสตรีและครอบครัวจงั หวัดลาปาง ๕. ชื่อสถานศึกษา/หนว่ ยงานทเ่ี สนอขอเข้ารับการประเมิน ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัยอาเภอชาติตระการ สังกัด สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดพิษณุโลก
ตอนที่ ๒ ขอ้ มูลการประเมนิ
ตอนท่ี ๒ ข้อมูลการประเมนิ ดา้ นท่ี ๑ ความรเู้ ชยี่ วชาญเฉพาะดา้ น ตัวชีว้ ัด 1. มีองคค์ วามรดู้ า้ น................หัตถกรรม................. องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินการทอผ้าพ้ืนเมืองถือเป็นศิลปะและหัตถกรรมหรืองานฝีมืออย่างหน่ึงของ ชุมชน การทอผ้าพื้นเมืองเป็นภูมิปัญญาที่มีมาแต่โบราณ มีการส่ังสมองค์ความรู้ขึ้นมาจากประสบการณ์ของ ชีวิต สังคม และในสภาพแวดล้อม ท่ีแตกตา่ งกัน และมกี ารถ่ายทอดสืบตอ่ กันมาเป็นวัฒนธรรม จากคนรุ่นหนึ่งสู่ คนอีกรุ่นหน่ึง ข้าพเจ้าในฐานะท่ีเป็นผู้นาชุมชน และเป็นผู้ท่ีมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ด้านการ ทอผ้าพื้นเมือง ซ่ึงเป็นเอกลักษณ์ของบ้านนาจาน ตาบลชาติตระการ อาเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก โดย ไดร้ ับการยกย่องเปน็ ปราชญช์ าวบา้ น องค์ความรดู้ ้านการทอผ้าพ้ืนเมือง จากหน่วยงานราชการต่างๆ เช่น กศน. อาเภอชาตติ ระการ พัฒนาชุมชนอาเภอชาติตระการ เป็นต้น ได้รบั การยกยอ่ งเปน็ ปราชญ์ชาวบา้ น องค์ความรู้ดา้ นการทอผา้ พื้นเมือง ศนู ยเ์ รียนรู้ด้านการทอผ้าพื้นเมือง
ตวั ช้วี ัดที่ 2. สบื สานและพัฒนาตอ่ ยอดองคค์ วามรู้ ข้าพเจ้าสืบสานและพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ด้านการทอผ้าพื้นเมือง ทั้งจากการศึกษาค้นคว้าหา ความรดู้ ้วยตนเองผา่ นชอ่ งทางตา่ งๆ ไมว่ ่าจะเปน็ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ องค์ความรู้ด้านทักษะการย้อมสี เทคนิค การทอผ้า และคิดค้นการทอผา้ ลายใหมๆ่ ตลอดจนการอนุรักษ์ลายดั้งเดิมของชุมชนไว้ การค้นหาข้อมูลจากส่ือ เทคโนโลยี และการเข้าร่วมอบรมกับหน่วยงานราชการต่างๆ ที่จัดกิจกรรมให้ความรู้เก่ียวกับการทอผ้า รวมถึง การศึกษาหาแนวทางการพัฒนาต่อยอดผ้าทอ การวางแผนธุรกิจ มีการแปรรูปการทอผ้าพื้นเมืองเป็น การตัด เย็บเสื้อผ้าสาเร็จรูปแบบต่างๆ การแปรรูปจากผ้าขาวม้ามาตัดเย็บเป็นย่ามและการตัดเย็บกระเป๋าแฟช่ัน เป็น ต้น รวมถึงการนาผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่เกิดจากการต่อยอดพัฒนาองค์ความรู้ผ่านช่องทางตลาดนัดออนไลน์ของ อาเภอชาตติ ระการ และ OOCC ของ กศน.ตาบลชาติตระการ การค้นคว้าหาความรู้อยู่เสมอสามารถนาความรู้ ทไี่ ด้รบั มาใช้ในการปรบั ปรุง และพัฒนาการจดั การเก่ยี วกับผลิตภณั ฑ์ให้มีคุณภาพ และตรงกับความต้องการของ ตลาดได้มากขนึ้ อบรมการบรหิ ารจดั การนา้ รว่ มกับหน่วยงานต่างๆ ในการต่อยอดองคค์ วามรูเ้ พอ่ื ชมุ ชน
การแสดงสนิ ค้าของชุมชน และแลกเปลยี่ นเรยี นรู้องค์ความรใู้ หม่ๆ QR Code การสืบสานและ พัฒนาต่อยอดองค์ความรู้
ตัวช้วี ดั ท่ี 3. นาเทคโนโลยีพ้นื บ้านมาพัฒนาองค์ความรู้ ข้าพเจ้าไดม้ ีการบรหิ ารจดั การ พัฒนาความรดู้ ้านการทอผา้ ของคนในชุมชน โดยการจัดตั้งกลุ่มทอผ้าขึ้น ในหมู่บ้านาจาน เพ่ือรวบรวมองค์ความรู้ด้านการทอผ้า การพัฒนาคน การพัฒนารูปแบบการทอผ้าให้เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพในชุมชน สามารถนาภูมิปัญญาพ้ืนบ้าน มาใช้ในการแก้ปัญหาและ พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของคนในชมุ ชน ช่วยให้เกดิ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ในชุมชนสามารถยกระดับความรู้ก่อให้เกิด การสร้าง ความรู้ใหม่ สร้างงานได้ เพิ่มคุณค่าทางจิตใจ หากมีการจัดการความรู้ท่ีสนองตอบต่อความต้องการ ของชมุ ชนและเครอื ข่ายตา่ งๆ ในสงั คมจะเปน็ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เป็นชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ซ่ึงเป็นฐาน รากทีม่ ่นั คงอันจะนาไปสู่ความเข้มแข็งทาง วฒั นธรรมทอ้ งถิน่ ขนึ้ ไดใ้ นสงั คมท้องถ่นิ การจดั แสดงสินค้าของกลมุ่ ทอผ้า เปน็ วทิ ยากรการทากระเปา๋ จากเส้นพลาสตกิ เป็นวทิ ยากรการทาตะกร้าจากเสน้ พลาสติก เปน็ อาสาสมัครการทาหนา้ กากอนามัย
ร่วมประชุม และถอดองค์ความรู้ ด้านการทอผา้ รว่ มกับหน่วยงานตา่ งๆ ตัวชี้วดั ที่ 4. นาเทคโนโลยที ที่ ันสมัยมาพัฒนาองคค์ วามรู้ การนาเทคโนโลยีมาใช้พัฒนาองค์ความรู้ด้านการทอผ้าพื้นเมือง ข้าพเจ้าดาเนินการให้ลักษณะการ จัดเกบ็ ขอ้ มลู องค์ความรู้ รูปแบบ ทักษะ เทคนิค วิธีการต่างๆ ในการทอผ้าพ้ืนเมืองให้เป็นหมวดหมู่ เป็นระบบ ง่ายต่อการค้นคว้าหาข้อมูลเพ่ิมเติม รวมถึงการคิดสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ เพ่ือทาให้การเรียนรู้การทอผ้าพ้ืนเมือง เป็นไปได้ง่ายขึ้น มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ผ่าน Internet หรือเรียกว่า Social Network ผา่ นชอ่ งทาง Facebook ในการประชาสมั พันธ์ขอ้ มูลข่าวสาร กิจกรรม และผลิตภัณฑ์ผ้าทอของทาง กลมุ่ อย่างต่อเนอ่ื ง พัฒนาองค์ความรู้ด้านการทอผ้าพนื้ เมือง
รว่ มงานถนนสายวฒั นธรรมวถิ ีชุมชนคนพิษณุโลก QR Code นาเทคโนโลยที ่ี ทันสมัยมาพัฒนาองค์ความรู้
ตวั ชวี้ ดั ท่ี 5. นาองค์ความร้ไู ปใชใ้ นการปฏบิ ัตจิ ริงและเกิดเปน็ รูปธรรม ข้าพเจา้ ได้รบั การสนบั สนุน และส่งเสรมิ จากหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งมีการพัฒนาความรู้จากองค์ความรู้ภูมิ ปัญญาพื้นบ้านในด้านการทอผ้าพื้นเมือง มีการพัฒนามาเป็นองค์ความรู้เฉพาะกลุ่ม ความรู้ท่ีมีเอกลักษณ์ของ กลุ่มและมีความโดดเด่น โดยการนาความรู้ด้ังเดิมที่มีมาใช้ในการทอผ้าพื้นเมือง และพัฒนาวิธีการทอ การย้อม ผ้า การออกแบบลวดลายให้สอดคล้องกับยุคสมัย รวมถึงการแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าทอเป็น ผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น กระเปา๋ จากผ้าทอพื้นเมือง เส้ือจากผ้าทอพ้ืนเมือง ของที่ระลึกจากผ้าทอพ้ืนเมือง เป็นต้น พร้อมทั้งการจัดตั้ง กลุ่มเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนท่องเท่ียว OTOP นวัตวิถี ใช้เป็นสถานที่แลกเปล่ียนเรียนรู้ของสมาชิกในกลุ่ม แหล่ง เรียนร้ขู องชุมชนบา้ นนาจาน ชุมชนตาบลข้างเคียง และแหล่งศึกษาดูงานของหน่วยงานต่างๆ เช่น การใช้เป็น สถานท่ีศึกษาดูงานการฝึกประสบการณ์เรียนรู้ตามสภาพจริงผู้เข้ารับการพัฒนาตามโครงการพัฒนาข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษาและรองผู้อานวยการ สถานศึกษา ณ กศน.อาเภอชาตติ ระการ นายยะฝาด สันหมาน กลุ่มเป็นศนู ย์เรียนรชู้ มุ ชนท่องเทีย่ ว OTOP นวตั วถิ ี และใช้เปน็ สถานท่ีแลกเปล่ียนเรยี นรู้ของสมาชิกในกลุ่ม
การใช้เปน็ สถานท่ีศกึ ษาดูงานการฝกึ ประสบการณเ์ รียนรู้ตามสภาพจรงิ ผ้เู ขา้ รบั การพฒั นาตาม โครงการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหน่งผู้อานวยการ สถานศกึ ษาและรองผู้อานวยการสถานศึกษา ณ กศน.อาเภอชาติตระการ นายยะฝาด สนั หมาน
ด้านที่ ๒ การถา่ ยทอดความรู้ใหแ้ ก่ชุมชน/สังคม ตวั ชีว้ ัดที่ 1. เผยแพร่องคค์ วามรู้ อย่างนอ้ ย ๑ คร้ัง/เดือน ขา้ พเจ้ามีการเผยแพร่องค์ความรกู้ ารทอผา้ พื้นเมอื งในรูปแบบการเป็นแหล่งเรยี นรู้ศึกษาหาขอ้ มูล เป็น วทิ ยากรฝกึ อบรมใหก้ ับหน่วยงานตา่ งๆ และเปน็ สถานที่อบรมใหค้ วามรู้แก่ประชาชนที่มคี วามสนใจ โดยการมี การเผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์กิจกรรมตา่ งๆ ขององคค์ วามรผู้ า่ น Internet ช่องทาง Facebook สว่ นตวั และ Line ของกลุ่มผนู้ าตาบล และ Line ของกล่มุ ของอาเภอภาอชาตติ ระการ เปน็ ต้น โดยเฉพาะการจัดกิจกรรม เผยแพร่องค์ความรู้ของขา้ พเจา้ อย่างน้อยได้ 1 ครั้งต่อเดือน การเผยแพร่องค์ความรผู้ ่าน Facebook การเผยแพร่องค์ความรใู้ นแหลง่ เรียนร/ู้ ฝกึ ปฏิบัติ QR Code การเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้
ตัวช้ีวดั ที่ 2. ไดร้ ับเชญิ เป็นวิทยากรถา่ ยทอดองค์ความรู้ ไมน่ อ้ ยกว่า ๕ ครั้ง/ต่อปี ข้าพเจ้าได้รบั การเชิญเป็นวทิ ยากรถา่ ยทอดองค์ความรู้เก่ียวกบั การทอผา้ พ้ืนเมอื ง และการตอ่ ยอด ผลิตภัณฑจ์ ากการแปรรปู ผา้ ทอ ทง้ั ผ้าทอลายดั้งเดิม ผ้าทอลายประยุกต์ ผา้ ขาวมา้ มาเปน็ เสื้อ กระโปรง กระเปา๋ ยา่ ม ตลอดจนการนาภูมปิ ัญญาการจักสานมากประยุกต์กบั ลายการทอผ้าพัฒนาต่อยอดให้ความร้ใู น การทาตะกร้าและกระเป๋าจากเสน้ พลาสติก เป็นต้น จานวน 7 คร้งั ดงั น้ี 1. วทิ ยากรสอนการตัดเย็บ ตาบลปา่ แดง ของ กศน.อาเภอชาตติ ระการ 2. วิทยากรสอนการสานกระเป๋าจากเสน้ พลาสติก ตาบลบอ่ ภาค
3. วทิ ยากรสอนการทอผ้าขาวม้าและตัดเย็บ ไรบ่ วั เงนิ ตาบลชาตติ ระการ 4. วทิ ยากรสอนการทาไม้กวาดดอกหญ้า ตาบลบอ่ ภาค
5. วิทยากรสอนตดั เย็บ ไร่บัวเงนิ ตาบลชาตติ ระการ 6. วทิ ยากรสอนตัดเย็บ ไร่บัวเงิน ตาบลชาตติ ระการ
7. วิทยากรสอนตัดเยบ็ ไร่บัวเงิน ตาบลชาตติ ระการ QR Code การเป็นวทิ ยากร ตวั ช้ีวดั ท่ี 3. มจี านวนผู้รับบริการ เฉล่ยี ๓๐ คน/เดือน จานวนผรู้ ับบรกิ ารในศูนย์เรียนรู้ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ที่ข้าพเจ้ารับผิดชอบดูแลอยู่น้ัน มีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เก่ียวข้องกับการทอผ้าพื้นเมือง การแปรรูปผ้าทอพ้ืนเมือง ผา้ ขาวมา้ รวมถงึ การอบรมตา่ งๆ อยา่ งน้อยเฉลี่ยเดือนละ 30 คน ทั้งในส่วนของ กศน.อาเภอชาติตระการที่จัด กิจกรรมการศึกษาต่อเน่ือง พัฒนาชุมชนอาเภอชาติตระการ ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัด ลาปาง และหนว่ ยงานในอาเภอชาตติ ระการ ตามภาพการเผยแพร่ ช่องทาง Facebook ส่วนตัว และ Line ของ กล่มุ ผ้นู าตาบล และ Line ของกล่มุ ของอาเภอภาอชาติตระการ เป็นตน้
QR Code การใหบ้ รกิ ารต่อเดอื น
ตัวช้ีวัดที่ 4. วัดความพึงพอใจของผู้รับบรกิ าร การวัดความพึงพอใจในการให้บริการตอ่ ผู้รับบริการ สว่ นใหญ่หน่วยงานท่ีจัดกจิ กรรมร่วมกับข้าพเจ้าจะ เป็นคนจดั ทารปู เล่มสรปุ ผลการดาเนนิ งาน ขา้ พเจา้ ขอยกตัวอยา่ งการวัดความพึงพอใจของผรู้ บั บริการใน โครงการ/กิจกรรมทรี่ ว่ มจดั กับ กศน.อาเภอชาติตระการ ดังนี้ ลาดบั โครงการ/กจิ กรรม หนว่ ยงานที่ เป้าหมาย ดาเนนิ การ ร้อยละ ความพงึ ท่ี รับผิดชอบ (คน) (คน) พอใจรอ้ ยละ ๑ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ตาบล หลกั สูตรชา่ งตดั เยบ็ ชาติตระการ ๑๓ ๑๕ ๑๑๕.๓๘ ๙๓.๔๐ กศน.อาเภอ ชาตติ ระการ ๒ ศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน กศน.ตาบล ๗ ๑๐ ๑๔๒.๘๖ ๙๕.๖๐ หลกั สตู รชา่ งตัดเยบ็ ชาตติ ระการ กศน.อาเภอ ชาติตระการ ๓ ศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน กศน.ตาบล ๗ ๑๐ ๑๔๒.๘๖ ๙๘.๒๐ หลกั สตู รช่างตัดเยบ็ บ่อภาค กศน.อาเภอ ชาติตระการ QR Code ภาพกิจกรรม/โครงการ
ตวั ชี้วดั ที่ 5. นาเทคโนโลยีมาใชใ้ นการถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการทอผ้าให้กับชุมชนโดยการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการถ่ายทอดองค์ ความรู้ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอย่างไม่หยุดย้ัง ทาให้มีสิ่งอานวยความสะดวก สบาย ในการดาเนินชีวิต อย่างมากมาย เทคโนโลยมี บี ทบาทสาคญั มากในการแกป้ ัญหา และพัฒนาชวี ติ โดยเฉพาะอย่างย่ิงเทคโนโลยีเพ่ือ การศึกษา และสร้างสรรค์เนื่องจากปัจจุบันอยู่ในยุคโลกไร้พรมแดนในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร การติดต่อ การตลาด การเก็บรวบรวมองค์ความรู้ด้ังเดิม และองค์ความรู้ใหม่ๆ ในกระบวนการทอผ้าพ้ืนเมือง กระบวนการ เรียนรู้ การแสวงหาความรู้ การสร้าง ความรู้ใหม่ รวมทั้งการจัดระบบหมวดหมู่ความรู้ แล้วนาไปแลกเปลี่ยน แบ่งปันกันผ่านเครื่องมือที่เหมาะสม เพ่ือให้เกิดการนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไปท้ังระดับ บุคคลและชุมชน สังคม ตวั ชว้ี ดั ที่ 6. มีส่ือเพ่ือใชใ้ นการเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ ส่ือในการเผยแพร่องค์ความรู้ของขา้ พเจา้ คือตัวข้าพเจ้าที่เป็นผถู้ ่ายทอดองค์ความรู้ การส่อื สารด้วย คาพูดโดยตรง เน้นการสาธติ และการฝึกการปฏบิ ัตใิ ห้กบั ผู้รบั บริการ เพ่ือให้ไดร้ บั ความรู้ทชี่ ดั เจนแนน่ อน นอกจากส่ือท่ตี ัวตวั บุคคลแล้ว ยังมีสถานทฝี่ กึ อบรมซ่ึงข้าพเจ้าได้ดาเนนิ การจัดเป็นหมวดหมใู่ นการให้บริการแต่ ละกิจกรรม เชน่ หมวดหมู่ขององค์ความร้ดู า้ นการทอผ้า จะมีอุปกรณ์การทอผ้าต้งั แตข่ ้ันตอนแรกจนถึงขั้นตอน สุดท้าย หมวดหมขู่ องการแปรรปู ผา้ ทอ มุมตัดเย็บผลติ ภัณฑ์ จะมีการฝึกสอนการออกแบบ การเขยี นแบบ ข้ันตอนการตดั เย็บ และการเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ผา่ นช่องทาง Internet
QR Code ส่ือเพอ่ื ใชใ้ นการ เผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ ด้านท่ี ๓ การเปน็ แบบอย่างทีด่ ขี องภูมปิ ัญญา/ปราชญ์ชาวบ้าน ตวั ชว้ี ัดที่ 1. มีแนวทางในการพฒั นาตนเอง การพัฒนาตนเองของข้าพเจ้าโดยการสะสมเป็นองค์ความรู้ ประสบการณ์ที่ได้รับถ่ายทอดมา จาก แนวความคิดทเ่ี ช่ือมั่นว่าคนในชุมชนคิดเอง ทาเอง แกป้ ัญหาเอง เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน และส่ังสมมาเป็น เวลานาน ขา้ พเจ้าไดห้ มน่ั ฝึกฝนและพฒั นาตนเองอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นการเข้าร่วมการอบรมกับหน่วยงานต่างๆ และการเป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ด้านการทอผ้าพ้ืนเมือง การตัดเย็บเสื้อผ้า การตัดเย็บกระเป๋า การสานเส้นพลาสติก เป็นต้น นอกจากนี้ข้าพเจ้ายังได้ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมเก่ียวกับเทคนิค ข้ันตอน ตา่ งๆ ที่เก่ยี วกบั การทอผ้า การตลาดผ่านทางช่องทางส่ือออนไลน์ต่างๆ เพื่อเก็บรวบรวมเป็นองค์ความรู้ รักษา และสืบทอดตอ่ ไป
ภาพตัวอยา่ งการอบรมการพัฒนาตนเอง ตวั ชวี้ ัดท่ี 2. มจี ติ อาสาที่จะเผยแพร่องคค์ วามรู้ ข้าพเจ้าในฐานะท่ีเป็นท้ังภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านหัตถกรรมการทอผ้าพื้นเมือง และในฐานะผู้นาชุมชน (ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 บ้านนาจาน) ทาให้ข้าพเจ้าได้มีโอกาสในการเผยแพร่องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้กับ หนว่ ยงานราชการต่างๆ และชุมชนของตนเอง และชุมชนใกล้เคยี ง การทางานจติ อาสาในการเผยแพร่องค์ความรู้ ให้ชุมชนนั้น เราสามารถปลูกจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และทรัพยากรธรรมชาติใน ชุมชนได้ จิตแห่งการให้โดยเต็มใจสมัครใจอิ่มใจ ซาบซ้ึงใจ ปีติสุข ที่พร้อมจะเสียสละเวลา แรงกาย แรง สตปิ ญั ญา เพอ่ื สาธารณประโยชนใ์ นการทากจิ กรรมหรอื สง่ิ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์แก่ผู้อ่ืนโดยไม่หวังผลตอบแทน และมี ความสขุ ทไ่ี ด้ชว่ ยเหลอื ผ้อู ่นื การสง่ เสริมองคค์ วามรู้ดา้ นการทอผ้า การต่อยอดอาชีพ การต่อยอดความรู้เรื่องการ ตัดเย็บในการหน้ากากอนามัยแบบผ้า มาช่วยแก้ปัญหาเร่ืองสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน เช่น การเกิดโรค ระบาดโควดิ -19 ถือว่าเปน็ การส่งเสริมคณุ ภาพชีวิตของคนในชุมชน
รว่ มเปน็ จติ อาสาในการทาหน้ากากอนามยั รว่ มกบั กองบัญชาการทหารไทย
ตัวช้วี ัดท่ี 3. มีเครือข่ายมารว่ มในการจดั การเรียนรู้ ข้าพเจ้ามีโอกาสท่ีได้ร่วมงานกับหน่วยงานภาคทั้งในอาเภอชาติตระการ ในจังหวัดพิษณุโลก และ หน่วยงานจากต่างจังหวัด ในการสนับสนุนส่งเสริมงบประมาณในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้การทอผ้า พื้นเมือง การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าทอพ้ืนเมือง ผ้าขาวม้าเป็นเสื้อ กระเป๋ารูปแบบต่างๆ และการสานต่อ ศลิ ปหัตถกรรม ท้งั หมดจานวน 7 หนว่ ยงาน ดังน้ี 1. องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลชาตติ ระการ รว่ มเปิดโครงการสร้างชีวิตให้กับสตรีและครอบครัว กิจกรรมทอผ้ามัดหม่ี บ้านนาจาน ณ ศูนย์เรียนรู้ ชุมชนท่องเท่ียว OTOP นวัตวิถี หมู่ ๙ ตาบลชาติตระการ อาเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก โดยศูนย์ เรียนรู้การฝึกอาชีพและครอบครัวจังหวัดลาปาง จัดสรรงบประมาณ เป้าหมาย จานวน ๓๖ คน มีการจัดการ เรยี นการสอน จานวน ๑๐๔ วัน
2. สานักงานจดั หางาน จังหวัดพิษณโุ ลก ได้รับงบประมาณในการจัดกิจกรรมสานักงานจัดหางาน จังหวัดพิษณุโลก และมอบวุฒิบัตรในการจัด กจิ กรรมการทอผา้ และแปรรูปทอผ้า ณ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนท่องเท่ียว OTOP นวัตวิถี หมู่ ๙ ตาบลชาติตระการ อาเภอชาตติ ระการ จงั หวดั พษิ ณุโลก เป้าหมาย จานวน ๒๐ คน การจดั การเรียนการสอน จานวน ๕ วนั
3. ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอชาติตระการ เข้าร่วมประชุมวิทยากรการศึกษาต่อเนื่องกลุ่มอาชีพของ กศน.อาเภอชาติตระการ เพ่ือรับทราบ เกี่ยวกับงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร และแนวทางการจัดกิจกรรมต่างๆ ของ กศน. ในการเบิกจ่ายค่าตอบแทน วทิ ยากรและค่าวสั ดุการจัดการเรียนรู้ ณ กศน.อาเภอชาติตระการ ตาบลป่าแดง อาเภอชาติตระการ จังหวัด พษิ ณุโลก
4. องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลบอ่ ภาค ๔.๑ เปน็ วทิ ยากรใหค้ วามรู้ในการจัดการเรยี นรู้การสานกระเป๋าจากเส้นพลาสติก ณ บ้านนาตอน หมู่ ๑ ตาบลบ่อภาค อาเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก โดยงบประมาณสนับสนุนจากแรงงานจังหวัด พิษณโุ ลก เปา้ หมาย จานวน ๒๐ คน มีการจัดการเรียนการสอน จานวน ๕ วนั ๔.๒ เป็นวิทยากรสอนการทาไม้กวาดดอกหญ้า ณ บ้านขวดน้ามัน หมู่ ๒ ตาบลบ่อภาค อาเภอชาตติ ระการ จังหวดั พิษณโุ ลก โดยงบประมาณสนับสนุนจากแรงงานจังหวัดพิษณุโลก เป้าหมาย จานวน ๒๐ คน มกี ารจัดการเรยี นการสอน จานวน ๕ วนั
5. สานักงานพัฒนาชมุ ชนอาเภอชาตติ ระการ กิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับคณะกรรมการหมู่บ้าน เรื่องกองทุนแม่ของแผ่นดิน ในการ จัดกิจกรรม/โครงการเก่ียวกับยาเสพติดที่จะได้รับจัดสรรมาเพ่ือให้สามารถจัดกิจกรรมในหมู่บ้านได้สอดคล้อง และเกิดประโยชน์สงู สดุ ตอ่ ชมุ ชนตามแนวทางการดาเนินงานของโครงการฯ
6. ศนู ยเ์ รียนรู้การฝึกอาชีพสตรแี ละครอบครวั จงั หวัดลาปาง โครงการสร้างชีวิตให้กับสตรีและครอบครัว กิจกรรม ทอผ้ามัดหม่ี บ้านนาจาน ณ ศูนย์เรียนรู้ชุมชน ท่องเท่ียว OTOP นวัตวิถี หมู่ ๙ ตาบลชาติตระการ อาเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก โดยศูนย์เรียนรู้ การฝึกอาชีพและครอบครัวจังหวัดลาปาง จัดสรรงบประมาณ เป้าหมาย จานวน ๓๖ คน มีการจัดการเรียน การสอน จานวน ๑๐๔ วนั
7. ศนู ยเ์ รยี นรสู้ ตรี จังหวดั พษิ ณโุ ลก โครงการแปรรูปผ้าทอและสานกระเป๋าจากเส้นพลาสติก กิจกรรมเย็บกระเป๋าจากผ้าทอ และสาน กระเป๋าจากเสน้ พลาสตกิ โดยได้รบั จดั สรรงบประมาณจากศนู ยเ์ รยี นรู้สตรี จังหวัดพิษณุโลก เป้าหมาย จานวน ๒๐ คน มกี ารจดั การเรียนการสอน จานวน ๕ วัน QR Code เครือข่ายมาร่วมในการ จดั การเรยี นรู้
ตัวชว้ี ัดที่ 4. มีผลงานเป็นท่ียอมรบั /เปน็ ท่ีศกึ ษาดงู าน การพัฒนาองค์ความรู้ให้เป็นท่ียอมรับใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพให้กับผู้ท่ีศึกษาเรียนรู้ ผู้รับบริการ ให้มีทักษะ มี ความรู้ และมีการขยายขอบเขตความรู้ความสามารถอย่างต่อเน่ือง โดยการถ่ายทอดความรู้ให้คนในกลุ่มก่อน แลว้ ต่อยอดไปในชมุ ชน สง่ ผลทาให้เกดิ กระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สมาชิกในกลุ่มเกิดการยอมรับความคิด ใหม่ๆ และแบ่งปัน พร้อมท้ังการสร้างองค์ความรู้รูปแบบต่างๆ เป็นการสร้างต้นทุนท่ีมีความคุ้มค่าให้กับชุมชน ชุมชนเต็มเป่ียมไปด้วยทุนความรู้ และเป็นที่ศึกษาดูงานให้กับหน่วยงานต่างๆ และบุคคลที่มีความสนใจได้ การ พัฒนาความรู้ของสมาชิกในกลุ่มสร้างองค์ความรู้แห่งความสุข ทาให้การศึกษาดูงานมีประสิทธิภาพบรรลุ วัตถุประสงค์ของการพัฒนาบุคลากร และองค์กรแห่งความสุขไปพร้อมๆ กัน ในการศึกษาเรียนรู้แบบพอเพียง และสงั คมน่าอยู่คู่องคค์ วามร้นู ่ารักษา - มผี ลงานเปน็ ที่ยอมรับ คอื ได้รับเกยี รติบัตร เพ่ือแสดงว่า บ้านนาจาน หมู่ ๔ ตาบลชาติตระการ อาเภอชาติตระการ จงั หวัดพิษณุโลก ได้พัฒนาตนเองตามระบบมาตรฐานงานชมุ ชน(มชช.) ประเภทชมุ ชน โดยสามารถเรียนร้พู ฒั นาชุมชนตามระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชนและผา่ น เกณฑ์การประเมินผล
- เป็นท่ศี ึกษาดูงาน QR Code สถานที่ศกึ ษาดงู าน
ตัวช้ีวดั ที่ 5. มีผูเ้ รียนนาองค์ความรไู้ ปปฏบิ ัติ ข้าพเจ้ามีโอกาสในการเป็นวิทยากรในการให้ความรู้ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น กศน.อาเภอ ชาติตระการ องค์การบรหิ ารส่วนตาบลชาตติ ระการ องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลบ่อภาค สานักงานพัฒนาชุมชน อาเภอชาตติ ระการ ศูนย์เรียนรู้สตรี จังหวัดพิษณุโลก สานักงานจัดหางาน จังหวัดพิษณุโลก และศูนย์เรียนรู้ การฝึกอาชีพสตรีและครอบครัว จังหวัดลาปาง ซ่ึงผู้เรียนสามารถนาองค์ความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติต่อยอดอาชีพ ของตนเองได้ จงึ ขอยกตัวอยา่ งดงั น้ี 1. นางใคร โคกน้อย บ้านเลขที่ ๒๖/๑ หมู่ ๔ บ้านนาจาน ตาบลชาติตระการ อาเภอชาติตระการ จังหวัดพษิ ณโุ ลก (การทอผา้ ) 2. นางลขิ ติ ยาจาปา บา้ นเลขที่ ๙/๑ หมู่ ๔ บ้านนาจาน ตาบลชาติตระการ อาเภอชาตติ ระการ จังหวดั พษิ ณุโลก (การทอผ้า) 3. นางแบน ภยั วงค์ ๖๘/๑ หมู่ ๔ บา้ นนาจาน ตาบลชาตติ ระการ อาเภอชาติตระการ จังหวัดพษิ ณุโลก (การทอผา้ )
4. นางลาไพร มาพันนะ บา้ นเลขที่ ๓๖ หมู่ ๔ บ้านนาจาน ตาบลชาตติ ระการ อาเภอชาตติ ระการ จงั หวัดพษิ ณุโลก (การตัดเย็บ) 5. นางสาวณฐกานต์ ทาสดี า ๑๒๖ หมู่ ๑ บ้านนาตอน ตาบลชาติตระการ อาเภอชาติตระการ จงั หวัดพษิ ณุโลก (ตดั เย็บ/สานกระเปา๋ จากเสน้ พลาสติก) QR Code ผู้เรยี นนาองคค์ วามรู้ไปปฏบิ ัติ
ตวั ชวี้ ัดท่ี 6. มกี ารประพฤติตนเป็นท่ยี อมรบั ของคนในชุมชน การเป็นแบบอย่างท่ีดีของภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านการทอผ้าพ้ืนเมือง ข้าพเจ้า มีการประพฤติตนเป็นท่ี ยอมรับของคนในชุมชน โดยการใฝ่หาความรู้ การศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพ่ิมเติมจากหลากหลายช่องทางไม่ว่า จะเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้รู้ในชุมชน การค้นคว้าจากส่ือ Internet การร่วมเป็นวิทยากรกับหน่วยงาน ต่างๆ การส่งเสริมความรูแ้ ละทักษะใหมๆ่ ในการประกอบอาชีพทอผา้ ใหม้ ีความหลากหลายร่วมสมัยควบคู่ไปกับ การอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถ่ิน ส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มการผลิตก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่เป็นท่ี ยอมรับของคนในชมุ ชน ทาบญุ ตักบาตรข้าวสารอาหารแหง้ เนื่องในวันเขา้ พรรษา ณ วัดนาจาน ตาบลชาตติ ระการ อาเภอ ชาตติ ระการ จังหวดั พิษณุโลก
รว่ มพธิ ีเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๓ และร่วมงานจิตอาสา ณ ศนู ย์ประสานแผนอาเภอชาติตระการ จงั หวัดพิษณโุ ลก
๑. ร่วมงานตอ้ นรบั ท่านอธิบดกี รมศาสนาและกระทรวงวัฒนธรรม ณ อุทยานแหง่ ชาตินา้ ตก ชาติตระการ อาเภอชาตติ ระการ จังหวัดพิษณโุ ลก ๒. รว่ มงานมอบถุงยังชพี ใหก้ ับผู้ประสบอทุ กภัยนา้ ท่วม จากผู้วา่ ราชการจงั หวดั พิษณโุ ลกและ เหลา่ กาชาดจังหวดั พิษณโุ ลก ณ องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลชาตติ ระการ อาเภอชาตติ ระการ จังหวดั พิษณุโลก ๓. อาสาสมัครคมุ ประพฤติ เยย่ี มบา้ น หมู่ ๓ บ้านปากรอง ตาบลชาตติ ระการ อาเภอ ชาตติ ระการ จังหวัดพิษณุโลก
ทาสวนเศรษฐกิจพอเพยี งมีทง้ั ปลกู ผกั สวนครวั รวั้ กนิ ได้ เลี้ยงปลาในสระ เพ่ือท่ีจะเอาไวบ้ รโิ ภคและถา้ เหลือจากการบรโิ ภคก็นามาขายและแจกจ่ายแก่ผูท้ ่ีมาเยี่ยมเยยี น ณ ศูนยเ์ รียนรชู้ มุ ชนทอ่ งเที่ยว OTOP นวตั วถิ ี หมู่ ๙ ตาบลชาตติ ระการ อาเภอชาตติ ระการ จงั หวัดพิษณุโลก
ร่วมสบื สานวฒั นธรรมประเพณีด้ังเดมิ และหาดยู าก การเล่นแม่นางด้ง โดยมีกระทรวงวัฒนธรรมจังหวดั พษิ ณโุ ลกมาจัดทารายการดังกล่าว ณ ศนู ย์เรียนรชู้ มุ ชนทอ่ งเท่ยี ว OTOP นวัตวถิ ี หมู่ ๙ ตาบลชาตติ ระการ อาเภอชาตติ ระการ จงั หวดั พิษณโุ ลก แกนนาสตรอี าเภอชาตติ ระการ เข้าพบ นายรณชัย จิตวิเศษ ผู้ว่าราชการจงั หวัดพิษณุโลกคนใหม่ ณ ศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก
รว่ มการทาฝายชะลอน้า รว่ มกบั หน่วยงานทางราชการ และประชาชนในชุมชน ทงั้ ๔ หมบู่ า้ น ไดแ้ ก่ หมู่ ๔, ๖, ๘, ๙ ณ บ้านนาจาน หมู่ 4 ตาบลชาติตระการ รว่ มงานพธิ ีการต่างๆท้งั ในหมู่บ้านและชุมชนอ่ืนๆ QR Code พฤตกิ รรมทีเ่ ป็นท่ี ยอมรับของคนในชุมชน
ตอนท่ี ๓ ผลงานท่ปี ระสบความสาเรจ็
ตอนที่ ๓ ผลงานทป่ี ระสบความสาเรจ็ ตวั ช้วี ดั การมผี ลงานดีเดน่ ที่เป็นประโยชน์ตอ่ ผู้รบั บรกิ าร ชุมชนและสังคม ผลงานท่ีประสบผลสาเร็จเป็นที่เป็นประโยชน์ต่อผู้รับบริการชุมชนและสังคมของข้าพเจ้าส่วนใหญ่เป็น วิทยากรให้กับหน่วยงานต่างๆ ในการอบรมให้ความรู้กับประชาชนท่ีมีความสนใจใฝ่เรียนรู้ และได้รับการ สนับสนุนงบประมาณในการศึกษาเรียนรู้ รวมทั้งเป็นสถานที่ในการอบรมและการศึกษาดูงานจากหน่วยงาน ต่างๆ รวมทั้งการใช้เป็นสถานท่ีศึกษาดูงานการฝึกประสบการณ์เรียนรู้ตามสภาพจริงผู้เข้ารับการพัฒนาตาม โครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้ งให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา และรองผู้อานวยการสถานศึกษา ของ สานักงาน กศน. พร้อมท้ังได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติจากการปฏิบัติงาน แบบอย่างทดี่ ใี ห้กับชุมชนและสังคม
QR Code ผลงานที่ประสบ ความสาเรจ็
E-BOOK แบบประเมินคดั เลือก สาขาภาคีเครอื ข่าย ประเภทภูมิปญั ญา/ปราชญ์ชาวบา้ น ดีเด่น ประจาปี 2563 กศน.อาเภอชาติตระการ E-BOOK แบบประเมนิ คัดเลือก สาขาภาคเี ครือขา่ ย ประเภทภูมปิ ญั ญา/ปราชญช์ าวบ้าน ดเี ดน่ ประจาปี 2563
คณะผจู้ ัดทา ทีป่ รกึ ษา กันตง ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอชาตติ ระการ ภาศรี ครวู ิทยฐานะครูชานาญการ 1. นางพรสวรรค์ 2. นายรุ้งภูธร ผใู้ ห้ขอ้ มลู ลาสม ภมู ปิ ัญญา/ปราชญ์ชาวบา้ น ภาศรี ครวู ทิ ยฐานะครชู านาญการ 1. นางบวั ววิ ล้วนมงคล ครผู ชู้ ว่ ย ๒. นายรงุ้ ภูธร วนั ช่นื ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ๓. นางสาวชมพนู ชุ ยศปัญญา ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น ๔. วา่ ท่ี พ.ต.บญุ ส่ง บญุ ประกอบ ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ๕. นางสาวภาณมุ าศ แต่งเนตร ครู กศน.ตาบลบา้ นดง ๖. นางสาวประยูร พระคาสอน ครู กศน.ตาบลชาตติ ระการ ๗. นางสาวสภุ าพร ม่ันหยวก ครู กศน.ตาบลสวนเมีย่ ง ๘. นางสาวนิภาพร พ่วงปิ่น ครู กศน.ตาบลป่าแดง ๙. นางสาวกัญญณชั แสงสีบาง ครู กศน.ตาบลทา่ สะแก ๑๐. นายอัษฎาพร ฟองจางวาง ครู กศน.ตาบลบ่อภาค 1๑. นางสาวเปียทิพย์ โคกนอ้ ย ครู ศรช.ตาบลป่าแดง 1๒. นางสาวสธุ าสินี แฟงวชั รกุล บรรณารักษ์อัตราจา้ ง 1๓. นางสาวพรพนา มว่ งทิม พนักงานบริการ 1๔. นางสาวนา้ ออ้ ย 1๕. นายทองคณู ผเู้ รยี บเรียง พระคาสอน ครู กศน.ตาบลชาติตระการ บญุ ประกอบ ครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน 1. นางสาวนิภาพร 2. นางสาวประยรู ผจู้ ัดทาภาพประกอบ / ออกแบบปก 1. นางสาวชมพนู ุช ลว้ นมงคล ครผู ชู้ ว่ ย 2. นางสาวนภิ าพร พระคาสอน ครู กศน.ตาบลชาติตระการ
Search
Read the Text Version
- 1 - 49
Pages: