คู่มือความปลอดภัยในการทางาน 20 ต.ค. 2564
คานา คู่มือน้ีกล่าวถึงขอ้ ควรระวงั ทที่ ุกคนควรปฏิบตั ิ เม่ืออยใู่ นบริเวณหน่วยงาน เพอื่ ป้องกนั การบาดเจบ็ หรืออุบตั เิ หตุ คูม่ ือความปลอดภยั ในการทางานฉบบั น้ียงั ไดอ้ ธิบาย หรือช้ีแจงถึงมาตรฐาน ของการ ปฏบิ ตั งิ านเพอ่ื ความปลอดภยั ตามจุดตา่ งๆ ที่หนา้ งาน ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั ขอ้ กาหนด WI (Work Instruction ) ดงั น้นั เน้ือหาในคูม่ ือ จึงเป็นส่วนหน่ึงในข้นั ตอนการปฏบิ ตั งิ านและ ดา้ นความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ใน การทางาน ท่ีทกุ คนจะตอ้ งถือปฏบิ ตั โิ ดยหนา้ ที่และความรับผดิ ชอบอยแู่ ลว้ พนกั งานจึงควรติดคูม่ ือใน กระเป๋ าหรือท่ีทจ่ี ะหยบิ อ่านไดส้ ะดวก หมน่ั อ่านและศกึ ษา และปฏบิ ตั ติ าม เมื่อกาลงั ทางานอยา่ งหน่ึงอยา่ งใด หรือก่อนเร่ิมทางานของแต่ละวนั ทกุ คนควรต้งั ปณิธานทจี่ ะทางานโดยไม่มอี ุบตั ิเหตุ เพราะการบาดเจบ็ หรือ เกิดอุบตั ิเหตุ อาจนาความเสียหายและความเศร้าโศกมาสู่ครอบครัวและเพอ่ื นร่วมงานได้ ขอให้ตระหนักและคดิ คานึงถึงเรื่องนี้อยู่เสมอ คณะกรรมการความปลอดภัย 20 ต.ค. 2564
สารบญั หน้า 1. ความรูเ้ บ้อื งตน้ เกี่ยวอุบตั เิ หตแุ ละความปลอดภยั 1 2. กฎทพี่ นกั งานใหม่ควรจดจา 2 3. อุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายส่วนบุคคล 3 4. กฎความปลอดภยั ในการทางาน 4 5. การจดั รักษาสถานทที่ างานใหเ้ ป็นระเบียบ 4 6. การใชเ้ ครื่องมือไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าใหป้ ลอดภยั 5 7. ความปลอดภยั ในการใชต้ ะเกียงแอลกอฮอล์ 5 8. ความปลอดภยั ในการทางานกบั การใชห้ วั เป่ าไฟ 5 9. ความปลอดภยั ในการใชเ้ คร่ืองเจียร 6 10. ความปลอดภยั ในการทางานกบั มอเตอร์ขดั 6 11. ความปลอดภยั ในการทางานกบั เคร่ืองเชื่อมไฟฟ้า 6 12. ความปลอดภยั เกี่ยวกบั เคร่ืองเชื่อมแก๊ส 7 13. ขอ้ พงึ ระวงั ในแต่ละข้นั ตอนกระบวนการผลิต 7 14. องคป์ ระกอบของไฟ 8 15. ประเภทของไฟ 9 16. วธิ ีการดบั ไฟ 10 17. ข้นั ตอนการปฏิบตั ติ นเม่ือพบเหตเุ พลิงไหม้ 10 18. ข้นั ตอนการปฏิบตั เิ มื่อบาดเจบ็ จากการทางาน 11 19. โรคจากการทางาน 12 20. การปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ 12 21. การบริหารร่างกายเพอื่ ลดความเมื่อยลา้ เบ้ืองตน้ 13
นโยบายความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน ดว้ ยบริษทั ชุน้ จวิ เวลร่ี จากดั มีความห่วงใยต่อชีวติ และสุขภาพของพนกั งานทกุ คน ดงั น้นั จงึ เห็นสมควรให้ มีการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั อาชีว อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ควบคูไ่ ปกบั หนา้ ท่ปี ระจาของ พนกั งาน จึงไดก้ าหนดนโยบายดงั น้ี 1. ความปลอดภยั ในการทางานถอื เป็นหนา้ ที่รบั ผดิ ชอบอนั ดบั แรกในการปฏิบตั งิ านของพนกั งานทกุ คน 2. บริษทั ฯ จะสนบั สนุนใหม้ ีการปรบั ปรุงสภาพการทางานและสภาพแวดลอ้ มใหป้ ลอดภยั 3. บริษทั ฯ จะสนบั สนุน ส่งเสริมใหม้ ีกิจกรรมความปลอดภยั ตา่ งๆท่ีช่วยกระตุน้ จิตสานึกของพนกั งาน เช่น การอบรม จูงใจ ประชาสมั พนั ธ์ การแขง่ ขนั ดา้ นความปลอดภยั เป็ นตน้ 4. ผบู้ งั คบั บญั ชาทุกระดบั จะตอ้ งกระทาตนใหเ้ ป็ นแบบอยา่ งทีด่ ี เป็ นผนู้ า อบรม ฝึกสอน จงู ใจ ใหพ้ นกั งานปฏิบตั งิ านดว้ ยวธิ ีท่ปี ลอดภยั 5. พนกั งานทุกคนตอ้ งคานึงถึงความปลอดภยั ของตนเอง เพอ่ื นร่วมงาน ตลอดจนทรัพยส์ ินของบริษทั ฯ เป็นสาคญั ตลอดเวลาทีท่ างาน 6. พนกั งานทกุ คนตอ้ งดูแลความสะอาดและความเป็ นระเบยี บเรียบรอ้ ยในพ้นื ท่ที ีป่ ฏิบตั ิงาน 7. พนกั งานทกุ คนตอ้ งใหค้ วามร่วมมือในโครงการความปลอดภยั อาชีวอนามยั ของบริษทั ฯและมีสิทธิเสนอ ความคดิ เห็นในการปรบั ปรุงสภาพการทางานและวธิ ีการทางานใหป้ ลอดภยั 8. บริษทั ฯจะจดั ใหม้ ีการประเมินผลการปฏบิ ตั ิตามนโยบายท่กี าหนดไวข้ า้ งตน้ เป็ นประจา
1 1. ความรู้เบือ้ งต้นเกย่ี วกับอุบตั ิเหตุและความปลอดภัย อุบตั เิ หตุ ( Accident ) หมายถึงเหตุการณท์ ่เี กิดข้ึนโดยมิไดม้ กี ารวางแผนไวล้ ่วงหนา้ ซ่ึงก่อใหเ้ กิดการบาดเจบ็ พิการ หรือ เสียชีวติ และทาให้ทรัพยส์ ินเสียหาย ( มผี ลกระทบกระเทอื นต่อกระบวนการทางาน ทาให้งานล่าชา้ เสียเวลา ) สาเหตุทอี่ าจก่อให้เกดิ อบุ ัตเิ หตุ คือ 1. อุบตั ิเหตุทมี่ สี าเหตุมาจากบคุ คล 2. อุบตั ิเหตุที่มสี าเหตุจากสภาพเครื่องจกั รกลและอุปกรณ์ 3. อุบตั ิเหตุทมี่ ีสาเหตุจากสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 1. อุบัตเิ หตทุ มี่ าจากบุคคล การเกิดอุบตั ิเหตุจากผปู้ ฏิบตั ิงานอาจเกิดจากสาเหตุดงั น้ี 1. การแต่งกายไม่เหมาะสม เช่น บุคคลที่ทางานกบั เคร่ืองจกั ร แต่ชอบไวผ้ มยาวโดย ไม่รวบผมหรือสวมหมวกคลุมผมให้ เรียบร้อย การสวมเครื่องประดบั สร้อยคอ แหวน นาฬิกาในขณะปฏิบตั ิงานเป็นตน้ อาจจะเป็นสาเหตุของการเกิดอุบตั ิเหตุ ท้งั ส้ิน 2. บคุ คลทม่ี ีเจตคติไม่ถูกตอ้ งต่อความปลอดภยั เช่น บางคนเห็นว่าการป้องกนั อุบตั ิเหตุไม่มีความจาเป็น ไม่ใชห้ นา้ กากป้องกนั แสงขณะเช่ือมโลหะ ไมใ่ ชเ้ ขม็ ขดั นิรภยั ขณะปฏิบตั ิงานในทส่ี ูง เพราะจะทาใหด้ ูเหมอื นวา่ เป็นคนไม่เก่ง เป็นตน้ 3. การใชเ้ ครื่องมือผดิ ประเภท 4. สภาพร่างกายไม่พร้อมท่ีจะทางาน เช่น ง่วงนอน เจบ็ ป่ วย ร่างกายอ่อนเพลีย ไม่มคี วามรู้และขาดประสบการณ์ 5. บุคคลมีอุปนิสยั การทางาน ไมด่ ี เช่น เป็นคนไมม่ รี ะเบยี บ วางเครื่องมือเกะกะ ไมต่ ดั กระแสไฟฟา้ ก่อนทจ่ี ะทางานซ่อมระบบ ไฟฟา้ 2. อบุ ัตเิ หตุทมี่ สี าเหตุจากสภาพเครื่องจักรกลและอุปกรณ์ การเกิดอุบตั ิเหตุทมี่ ีสาเหตุจากสภาพเครื่องจกั รกลและอุปกรณ์ ขณะปฏิบตั ิงานอาจเกิดจากสาเหตุ ดงั น้ี 1. การใชเ้ คร่ืองจกั ร ท่ไี ม่มีระบบป้องกนั อนั ตราย เช่นใชห้ ินเจียระไนลบั เครื่องมอื มคี มโดยไมม่ ี อุปกรณป์ ้องกนั หรือฝาครอบ ป้องกนั เศษวสั ดุ 2. เคร่ืองมอื อยใู่ นสภาพท่ีไม่พร้อมในการใชง้ านหรือชารุด 3. อบุ ัตเิ หตทุ ม่ี สี าเหตุจากสภาพแวดล้อมในการทางาน การเกิดอุบตั ิเหตุท่ีมสี าเหตุจากสภาพแวดลอ้ มในการทางานอาจเกิดจากสาเหตุ ดงั น้ี 1. บริเวณทวั่ ไปของโรงงาน โรงงานที่ดีควรมีการวางแผนท่ีดีเก่ียวกบั ระบบต่างๆภายในโรงงาน เช่น ระบบไฟฟ้า ประปา การ ระบายน้า การป้องกนั อคั คีภยั สถานทจ่ี อดรถ การขนส่งวสั ดุ เป็นตน้ 2. สภาพภายในโรงงานที่ไม่เป็นระเบียบ มีการวางวสั ดุสิ่งของเกะกะ บริเวณปฏิบตั ิงานไม่เหมาะสม การวางเครื่องจกั รกลไม่ ถูกตอ้ งเหมาะสม 3. การจราจรภายในโรงงาน การขนถ่ายวสั ดุสินคา้ มีการจดั ระบบที่ไม่ดี
2 4. การระบายอากาศ ภายในโรงงานมีการระบายอากาศไมด่ ี ทาให้อากาศร้อนอบอา้ ว มีกล่ิน มีฝ่นุ ละออง ความช้ืนจะไม่มีการ ระบายออกไปทาให้มผี ลต่อสุขภาพของพนกั งาน 5. แสงสวา่ ง ในโรงงานมแี สงสว่างไมเ่ พียงพอหรือมีแสงสว่างมากเกินไปทาใหเ้ กิดปัญหาการทางานและสายตา 6. เสียง ในโรงงานบางประเภทมีเสียงดงั จากการทางานของเคร่ืองจักร ในขณะทางาน ไม่มีระบบป้องกนั เสียงให้กบั พนักงาน จะทาให้พนกั งานมปี ัญหากบั การรับฟังและโสตประสาท 2. กฎท่ีพนักงานใหม่ควรจดจา กฎข้อท่ี 1 จงกระตือรือร้นและเอาใจใส่ต่อส่ิงท่ีคุณควรเรียนรู้ ถา้ คุณสนใจแต่สิ่งอ่ืนหรือไม่เต็มใจท่ีจะเรียนรู้ คุณย่อมเรียนรู้อย่างผิดพลาด ดงั น้นั จงสร้างความกระตือรือร้นและความอยากทจ่ี ะเรียนรู้ กฎข้อท่ี 2 จงถามส่ิงท่ีไม่เขา้ ใจจนเขา้ ใจอย่างชดั เจนอย่าอายท่ีจะทวนถามในส่ิงท่ีคุณไม่เขา้ ใจจนกว่าคุณจะเขา้ ใจอาจจะขอให้ผอู้ ธิบายดว้ ยรูป ตวั อยา่ ง หรือ ของจริง เพื่อใหเ้ ขา้ ใจอยา่ งถูกตอ้ งและหลีกเล่ียงการเขา้ ใจผดิ กฎข้อท3ี่ จงเรียนรู้ให้ถ่องแทใ้ นงานท่ีทาคุณตอ้ งเรียนรู้ในทุกเรื่องที่เก่ียวขอ้ งกบั การทางาน การจาข้นั ตอนการทางานได้ อย่างแม่นยาและ ปฏิบตั ิอย่างเคร่งคัดเป็ นเรื่องที่สาคัญอยา่ งยิง่ เมื่อใดที่คุณมีปญหาเกี่ยวกับเรื่องการทางานให้ถามเร่ืองที่ไม่ชดั เจนน้ัน กับเพื่อน ร่วมงานหรือหวั หนา้ งานและจงมนั่ ใจว่าคุณไดเ้ รียนรู้ในส่ิงทถ่ี ูกตอ้ งและทาในส่ิงทเี่ รียนรู้น้นั เป็นส่วนหน่ึงของความสามารถของคุณ กฎข้อท4ี่ จงปฏิบตั ิซ้าๆ เป็นเรื่องปกติท่ีคุณจะรู้สึกว่าเป็นการยาก ที่จะทางานให้ถูกตอ้ งตามที่ไดเ้ รียนมาในกรณีเช่นน้ี คุณควรฝึกซอ้ มหรือ ฝึกทาซ้าๆหลายๆคร้ังจนกวา่ คุณจะทางาน ไดส้ ะดวกราบรื่นความพยายามเช่นน้ี จะนาคุณไปสู่ความปลอดภยั และความสาเร็จ
3 1. การป้องกนั ตา 3. อุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายส่วนบคุ คล แว่นตาเพอื่ ป้องกนั เศษฝ่นุ และสารเคมที ี่ อาจจะกระเดน็ เขา้ ตา 2. การป้องกนั ระบบทางเดินหายใจและปอด การปฏิบตั ิงานในสถานท่ที ่ีมฝี ่ นุ ไอระเหยของสารเคมี ตอ้ งสวมหนา้ กากที่เหมาะสมเพื่อป้อง กนั มใิ ห้ฝ่นุ และไอระเหยเขา้ สู่ปอด 3. การป้องกนั มือ ตอ้ งสวมถุงมอื ทเ่ี หมาะสมทกุ คร้ังเม่อื ปฏิบตั ิงานกบั สารเคมี ของมคี ม หรือความร้อน 4. หมวก หมวกสวมใส่เพ่อื ป้องกนั เศษฝ่นุ และอุปกรณ์ทีม่ ีจุดหมุนป้องกนั เสน้ ผมพนั กบั เคร่ืองมอื 5. ปลก๊ั อุดหู ปลก๊ั อุดหู เพ่อื ลดเสียง
4 4. กฎความปลอดภยั ในการทางาน 1. พนกั งานตอ้ งแต่งกายดว้ ยชุดปฏิบตั ิงานที่เรียบร้อย 2. สวมใส่อุปกรณป์ ้องกนั อนั ตรายส่วนบคุ คลทเี่ หมาะสม ตลอดเวลาทป่ี ฏิบตั ิงานทุกคร้ังทม่ี กี ารผสมสารเคมอี นั ตราย 3. พนกั งานตอ้ งตรวจสภาพและความพร้อม ของเคร่ืองจกั รอุปกรณ์ก่อนลงมอื ปฏิบตั ิงานทกุ คร้ัง 4. ตอ้ งยดึ หลกั 5ส.ในการปฏิบตั ิงานอยเู่ สมอ (สะสาง สะดวก สะอาด สุขลกั ษณะ สร้างนิสยั ) 5. ห้ามปฏิบตั ิงานหรือเดินเครื่องจกั ร โดยไมม่ หี นา้ ที่เกี่ยวขอ้ ง 6. หา้ มถอดอุปกรณ์ความปลอดภยั ออกจากเคร่ืองจกั ร 7. ไมส่ วมเครื่องประดบั ทีจ่ ะก่อให้เกิดอนั ตราย เช่น สร้อยคอ สร้อยขอ้ มือแหวน นาฬิกา 8. ในการทางานจะตอ้ งวางเคร่ืองมอื วสั ดุ อุปกรณ์ ใหเ้ ป็นระเบยี บ ไมว่ างระเกะระกะและตอ้ งรักษาความสะอาดพ้นื ทีท่ ่ที างาน 9. ไม่หยอกลอ้ หรือทะเลาะวิวาทในขณะทางาน 10. ห้ามนาเครื่องมือทม่ี คี มหรือแหลมใส่ในกระเป๋ าเส้ือหรือกระเป๋ า กางเกง 11. เศษโลหะ เศษขยะ ควรเกบ็ ใส่ภาชนะทีจ่ ดั ไว้ 12. เม่ือพบเห็นส่ิงท่ีจะก่อให้เกิดอนั ตรายอยบู่ นพ้ืน เช่น น้ามนั หล่อล่ืนจาระบี หกอยู่บนพ้ืนจะตอ้ งเก็บทาความสะอาดทนั ที รวมท้งั ท่อนเหลก็ กลม 13. ปฏิบตั ิตามป้ายความปลอดภยั โดยเคร่งครัด 14. เมื่อพบสภาพผิดปกติให้หยุดเคร่ืองจักร เรียกหัวหน้างาน หรือ พนักงานซ่อมบารุงมาทาการแก้ไข และคอย จนกว่า ผรู้ ับผดิ ชอบจะมาถึง ห้ามทาการแกไ้ ขโดยลาพงั 15. หา้ มสูบบุหรี่ในท่ปี ฏิบตั ิงานภายในโรงงาน ยกเวน้ บริเวณทีก่ าหนด 16. หวั หนา้ งานควบคุมดูแลการปฏิบตั ิงานให้เป็นไปตามกฎ ความ ปลอดภยั 5. การจัดรักษาสถานทที่ างานให้เป็ นระเบยี บ 1. สถานทีป่ ฏิบตั ิงานตอ้ งปราศจากส่ิงท่จี ะก่อใหเ้ กิดอนั ตรายที่อาจจะเป็นอุปสรรคต่อการทางาน และตอ้ งไมม่ ีเศษขยะน้ามนั และ น้าบนพ้ืน 2. จดั ทางเดินใหโ้ ล่งเพ่อื ให้สามารถเขา้ ไปยงั ทีท่ างานไดอ้ ยา่ งปลอดภยั 3. หอ้ งน้าตลอดจนอ่างลา้ งมอื ตอ้ งอยใู่ นสภาพ ท่ีสะอาดและถูกสุขลกั ษณะ 4. อาหารตอ้ งไมจ่ ดั เก็บไวใ้ นสถานทป่ี ฏิบตั ิงาน 5. ขยะและของเหลือใชต้ อ้ งนาออกไปนอกเขตปฏิบตั ิงานทุกวนั 6. ห้ามจดั วางวสั ดุทง่ี ่ายต่อการลุกไหมใ้ กลก้ บั จุดติดต้งั หลอดไฟหรือวสั ดุ ที่มคี วามร้อน/มปี ระกายไฟ 7. ทนิ เนอร์ แอลกอฮอร์ ที่หกเร่ียราดบนพ้นื ตอ้ งรีบทาความสะอาดใหเ้ รียบร้อย 8. จดั เกบ็ วสั ดุบนพ้นื ทไี่ ดร้ ะดบั และอยใู่ นสภาพเรียบร้อยและมน่ั คง 9. จดั ทาล่ิมไมห้ มอน สาหรับรองวสั ดุทีเ่ ป็นรูปวงกลมเพอ่ื ป้องกนั การเคลื่อนตวั 10. การจดั รักษาให้เป็นระเบียบทด่ี ี จะช่วยป้องกนั อุบตั ิเหตุได้
5 6. การใช้เครื่องมือไฟฟ้าและอปุ กรณ์ไฟฟ้าให้ปลอดภยั 1. ติดต้งั อุปกรณ์ป้องกนั การใชก้ ระแสไฟฟา้ เกินพิกดั 2. ส่วนท่ีเป็นโลหะของแผงสวทิ ซต์ อ้ งต่อสายดิน 3. เคร่ืองมือท่ใี ชป้ ฏิบตั ิงานเก่ียวกบั ไฟฟ้าตอ้ งมีฉนวนหุม้ 4. อุปกรณไ์ ฟฟา้ ทีม่ ีเปลือกนอกเป็นโลหะตอ้ งต่อสายดิน 5. มีการตรวจสอบสภาพสายไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าเป็ นประจาเม่ือพบการชารุด หรือมีกระแสไฟฟ้าร่ัวตอ้ งรีบแจง้ เพ่ือแกไ้ ข ปรับปรุง 6. อยา่ ใชเ้ ครื่องมือหรืออุปกรณไ์ ฟฟา้ ขณะมอื เปี ยกน้า 7. ตรวจสอบสภาพเคร่ืองมือก่อนปฏิบตั ิงาน 7. ความปลอดภยั ในการใช้ตะเกยี งแอลกอฮอล์ 1. ตรวจเช็คตะเกียง ดูวา่ มีรอยรั่ว และ มฝี าปิ ดหรือไม่ 2. ควรเติมแอลกอฮอลค์ ร่ึงหน่ึงของตะเกียง 3. ไสต้ ะเกียงไมค่ วรยาวเกิน 1 ซ.ม. เพราะไฟจะลุกมากเกินไปไมเ่ หมาะกบั การใชง้ าน 4. จุดตะเกียงทกุ คร้ังตอ้ งจุดดว้ ย ไฟแช็ค ห้ามนาตะเกียงมาต่อไฟกนั 5. เวลารนคงั่ ใหเ้ วน้ ระยะห่างให้พอดี ไม่ควร รนใหต้ ิดกบั ไสต้ ะเกียงมากเกินไป เพราะชิ้นงานหรือคง่ั ที่ถูกเปลวไฟจะละลายและ ไหลไปติดกบั ไส้ตะเกียงเวลายกไมข้ ้ึนคง่ั ข้ึน ไส้ตะเกียงจะติดไมข้ ้ึนคงั่ ข้ึนมาดว้ ย ทาให้เกิดไฟลุกไหม้ หรือถา้ พนักงาน สะบดั มือให้ไส้ตะเกียงหลุดตะเกียงกจ็ ะลม้ ทาใหเ้ กิดอนั ตรายได้ 6. ห้ามหยอกลอ้ กนั ขณะปฏิบตั ิงาน 7. ดบั ตะเกียงทกุ คร้ังตอ้ ง ใชฝ้ าตะเกียงครอบดบั ไดท้ นั ที ห้าม ใชป้ าก มือโบก เพราะดบั ยาก และอาจทาใหต้ ะเกียงลม้ 8. ทาความสะอาดทุกคร้ังหลงั เลิกงาน 8. ความปลอดภยั ในการทางานกับหัวเป่ าไฟ 1. ทุกคร้ังทใ่ี ชง้ าน ใหต้ รวจสอบความเรียบร้อยก่อน 2. หา้ มทาน้ามนั หรือจาระบี ทหี่ ัวเป่ าไฟ 3. เมอ่ื จุดไฟท่หี ัวเป่ าไฟ ใหเ้ ปิดท่อแก็สก่อน จึงเปิดท่อออ๊ กซิเจนตาม 4. เม่อื หยดุ ใชง้ านให้ปิดท่ออ๊อกซิเจน ก่อน แลว้ ปิดท่อแก๊สตาม
6 9. ความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองเจียร 1. ผปู้ ฏิบตั ิงานตอ้ งแต่งกายให้เรียบร้อย 2. สวมผา้ ปิดจมูก และ แวน่ ตาป้องกนั เศษเหลก็ กระเดน็ เขา้ ตา ทุกคร้ัง 3. ก่อนใชเ้ คร่ืองเจียรทุกคร้ังตอ้ งตรวจดูความพร้อมทกุ คร้ังเสมอ 4. เริ่มลบั งานตามแบบ ในขณะลบั งานหากชิ้นงานยงั ร้อน ให้จุ่มน้าหล่อเยน็ แลว้ 5. จึงลบั ต่อไปทาเช่นน้ีไปเร่ือยๆ จนกวา่ การลบั ช้ินงานจะแลว้ เสร็จ 6. หลงั ใชง้ านทาความสะอาดเคร่ืองเจียรทุกคร้ัง 7. ถา้ ชิ้นงานมขี นาดเล็กควรใชค้ ีมจบั แทนใชม้ ือ ไม่ควรป้อนชิ้นงานเขา้ ดา้ นขา้ งของหินเจียร เพราะจะทาให้หินเจียรแตกง่าย 8. อยา่ กดชิ้นงานกบั หินเจียรแรงมากไป เพราะจะทาให้หินเจียรชารุดหรือช้ินงานสะบดั ออก 9. หลงั เลิกใชเ้ คร่ืองเจียรใหป้ ิ ดสวติ ซ์มอเตอร์ทกุ คร้ัง 10. ความปลอดภยั ในการทางานกับมอเตอร์ขดั 1. พนกั งานตอ้ งระมดั ระวงั ห้ามหยอกลอ้ กนั ในขณะปฏิบตั ิงาน 2. ตรวจสอบสภาพ ความพร้อมของถุงมือที่ใชใ้ ห้เรียบร้อยก่อนเริ่มงาน ตอ้ งไม่มีเศษดา้ ยโผล่ออกมา เพราะอาจเก่ียวกบั แกน มอเตอร์ 3. ทุกคร้ังทีเ่ ปลี่ยนผา้ ขดั หรือลูกขดั ตอ้ ง ปิ ดสวติ ท์มอเตอร์ ทกุ คร้ังเพอ่ื ความปลอดภยั ต่อตวั พนงั งานและเพ่ือนร่วมงานดว้ ย 4. สวมผา้ ปิดจมูก และ หมวก ทกุ คร้ังในขณะปฏิบตั ิงาน 11. ความปลอดภยั ในการทางานกบั เคร่ืองเช่ือมไฟฟ้า 1. ห้ามเชื่อมในบริเวณทม่ี สี ารไวไฟหรือเช้ือเพลิงอาจลุกไหมไ้ ด้ 2. ห้ามเช่ือมภาชนะบรรจุ หรือเคยบรรจุน้ามนั เช้ือเพลิง หรือสารไวไฟ 3. ห้ามเช่ือมในทอี่ บั อากาศ เวน้ แต่ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารระบายอากาศที่เหมาะสม 4. รักษาความสะอาดบริเวณท่ีทาการเชื่อม 5. ตรวจสภาพสายไฟบ่อยๆ หากสายร้อนแสดงว่ามกี ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นเกินอตั รา หรือสายชารุด ควรเปล่ียนสายใหม่ 6. สวมอุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภยั ส่วนบุคคลตามสภาพงานเพ่ือป้องกนั เศษวสั ดุกระเด็นเขา้ ตาและป้องกนั ประกายไฟจาก การเชื่อม 7. ระวงั อยา่ ใหเ้ ส้ือผา้ ทส่ี วมใส่เป้ือนน้ามนั เพราะทาให้ติดไฟง่าย 8. รักษาเคร่ืองเชื่อมอยา่ ให้ช้ืน 9. อยา่ ปรับกระแสไฟฟา้ ของเคร่ืองเชื่อมขณะทกี่ าลงั เชื่อมอยู่ 10. ในกรณีเคร่ืองชารุด อยา่ พยายามซ่อมเอง ควรให้ช่างท่รี ับผดิ ชอบโดยตรงทาการตรวจเช็คและซ่อม 11. หัวหนา้ งานมหี นา้ ทีต่ อ้ งควบคุมพนกั งานปฏิบตั ิตามกฎดงั กล่าว
7 12. ความปลอดภยั เกี่ยวกับเคร่ืองเช่ือมแก๊ส 1. หา้ มเชื่อมแก๊สในบริเวณที่มีสารไวไฟ และเช้ือเพลิงที่อาจลุกไหมไ้ ดง้ ่าย ในกรณีท่ีจาเป็น ตอ้ งมีมาตรการป้องกนั อคั คีภยั ท่ี เหมาะสม 2. หา้ มนาอุปกรณท์ ่ีรั่วหรือชารุดมาใชง้ าน 3. ระวงั อยา่ ให้สายแก๊สพนั เป็นปมหรือเกลียว 4. หา้ มเช่ือมโดยไม่ใส่แวน่ สาหรับงานเช่ือม 5. ห้ามแขวนหัวเชื่อมบนอุปกรณป์ รับความดนั 6. ห้ามเชื่อมภาชนะบรรจุ หรือท่ีเคยบรรจุ น้ามนั เช้ือเพลิงสารไวไฟ 7. หา้ มซ่อมวาลว์ หรือปรับความดนั ใหเ้ ปล่ียนอุปกรณ์ทีช่ ารุดทนั ที 8. ตอ้ งระมดั ระวงั การขนยา้ ยถงั แกส๊ 9. หา้ มยกถงั แกส๊ โดยการผกู ทอ่ี ุปกรณ์ปรับความดนั หรือวาลว์ ปิดเปิด 10. หา้ มเชื่อมในบริเวณทอี่ บั อากาศ เวน้ แต่ไดจ้ ดั ให้มกี ารระบายอากาศทเ่ี หมาะสม 11. หากไม่แน่ใจวา่ ปลอดภยั ควรปรึกษาหวั หนา้ งานก่อน 12. หัวหนา้ งานมหี นา้ ที่ตอ้ งควบคุมพนกั งานปฏิบตั ิตามกฎดงั กล่าว 13. ข้อพึงระวังในแต่ละข้นั ตอนกระบวนการผลติ 1. การเตรียมงานตวั อย่าง(ออกแบบ) 2. การทาแม่พมิ พ์ยาง - ระมดั ระวงั อุปกรณท์ มี่ คี วามแหลมคม 3. การฉีดเทยี น - ระมดั ระวงั ความร้อนจากเทยี น 4. การทาต้นเทยี นชิน้ งาน - สวมผา้ ปิ ดจมกู เน่ืองจากมีกลิ่นและควนั จากการติดเทยี น 5. การทาแม่พมิ พ์ปูน(การผสมปนู ) - สวมผา้ ปิดจมูกเน่ืองจากมฝี ่นุ ละอองจากปนู ปลาสเตอร์ 6. การหล่อตวั เรือนโลหะ - สวมหนา้ กากชนิดป้องกนั ฟูมจากโลหะ - สวมถุงมือกนั ความร้อน 7. การอบแม่พิมพ์ปนู /ล้างงาน - ใส่ผา้ ปิดจมูก - ใส่ถุงมอื ป้องกนั สารเคมี จากการชะลา้ งปูนพลาสเตอร์ - ใส่แวน่ ตากนั สารเคมกี ระเด็นเมื่อผสมสารและลา้ งงานดว้ ยสารเคมี 8. การตดั ชิน้ งาน - ระมดั ระวงั ความคมจากกรรไกร
8 9. การตกแต่งตวั เรือน - ใส่ผา้ ปิดจมูกเพื่อป้องกนั ฝ่นุ - ระมดั ระวงั ความร้อนจากเปลวไฟ - ระมดั ระวงั เคร่ืองมือท่ีมีความแหลมคม 10. การฝังอญั มณี - ระมดั ระวงั เคร่ืองมือที่มีความแหลมคม 11. การขัดตวั เรือน - ระมดั ระวงั ถุงมือและปลอกน้ิวอาจเกี่ยวกบั มอเตอร์ขดั - สวมใส่ผา้ ปิ ดจมูกทุกคร้ังป้องกนั ฝ่นุ 12. การชุบ - ระมดั ระวงั สารเคมีกระเดน็ เขา้ ตา - สวมผา้ ปิ ดจมูกทุกคร้ังเพอื่ ป้องกนั ไอระเหยจากเคมี 14. องค์ประกอบของไฟ องค์ประกอบของไฟมี 3 อย่างคือ 1. ออกซิเจน ( Oxygen ) ไมต่ ่ากว่า 16 % (ในบรรยากาศ ปกติจะมอี อกซิเจนอยู่ ประมาณ 21 %) 2. เช้ือเพลิง ( Fuel ) ส่วนที่เป็นไอ (เช้ือเพลิงไม่มไี อ ไฟไม่ติด) 3. ความร้อน ( Heat ) เพียงพอทาให้เกิดการลุกไหม้ ไฟจะติดเมือ่ องคป์ ระกอบครบ 3 อยา่ ง ทาปฏิกิริยาทางเคมีต่อเนื่องเป็นลูกโซ่( Chain Reaction ) ระยะการเกดิ ไฟไหม้ 3 ระยะ ดังนี้ 1. ไฟไหมข้ ้นั ตน้ คือ ต้งั แต่เห็นเปลวไฟจนถึง 4 นาที สามารถดบั ไดโ้ ดยใชเ้ ครื่องดบั เพลิงเบ้ืองตน้ แต่ผใู้ ชจ้ ะตอ้ งเคย ฝึกอบรมการใชเ้ ครื่องดบั เพลิงมาก่อน จึงจะมีโอกาสระงบั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
9 2. ไฟไหมข้ ้นั ปานกลางถึงรุนแรง คือ ระยะเวลาไฟไหมไ้ ปแล้ว 4 นาที ถึง 8 นาที อุณหภูมิจะสูงมากเกินกว่า 400 องศาเซลเซียส หากจะใชเ้ คร่ืองดบั เพลิง เบ้ืองตน้ ตอ้ งมีความชานาญ และตอ้ งมอี ุปกรณ์ จานวนมากเพียงพอจึงควร ใช้ ระบบดบั เพลิงข้นั สูง จึงจะมคี วามปลอดภยั และมปี ระสิทธิภาพมากกวา่ 3. ไฟไหมข้ ้นั รุนแรง คือ ระยะเวลาไฟไหมต้ ่อเนื่องไปแลว้ เกิน 8 นาที และยงั มีเช้ือเพลิงอีกมากมายอุณหภูมิจะสูง มากกวา่ 600 องศาเซลเซียส ไฟจะลุกลามขยายตวั ไปทกุ ทิศทางอยา่ งรุนแรง 15. ประเภทของไฟ ไฟมี 4 ประเภท คือ A B C D ซ่ึงเป็ นข้อกาหนดมาตรฐานสากล ไฟประเภท A คือ ไฟท่ีเกิดจากเช้ือเพลิงท่ีมลี กั ษณะเป็นของแข็งเช้ือเพลิงธรรมดา เช่น ฟืน ฟาง ยาง ไม้ ผา้ กระดาษ พลาสติก หนงั สติ๊ก หนงั สัตว์ ปอ นุ่น ดา้ ย รวมท้งั ตวั เราเอง วธิ ีดับไฟประเภท A ท่ดี ีที่สุด คือ การลดความร้อนโดยใชน้ ้า ไฟประเภท B คือ ไฟท่เี กิดจากเช้ือเพลิงท่ีมีลกั ษณะเป็นของเหลวและก๊าซ เช่น น้ามนั ทกุ ชนิด แอลกอฮอล์ ไฟประเภท C ทนิ เนอร์ ยางมะตอยจาระบี และก๊าซติดไฟทุกชนิด ไฟประเภท D ไฟประเภท K วธิ ีดับไฟประเภท B ท่ีดีที่สุด คือ กาจดั ออกซิเจน ทาใหอ้ บั อากาศ โดยคลุมดบั ใชผ้ งเคมีแห้ง ใชฟ้ องโฟม คลุม คือ ไฟทเี่ กิดจากเช้ือเพลิงที่มลี กั ษณะเป็นของแข็งท่ีมีกระแสไฟฟา้ ไหลอยู่ เช่น อุปกรณ์ไฟฟ้า ทุกชนิด การอาร์คการสปาร์ค วธิ ีดบั ไฟประเภท C ท่ดี ีท่ีสุด คือ ตดั กระแสไฟฟ้าแลว้ จึงใชก้ า๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือ น้ายาเหลวระเหยที่ไมม่ ีCFCไล่ออกซิเจนออกไป คือไฟท่ีเกิดจากเช้ือเพลิงท่ีมีลกั ษณะเป็นโลหะและสารเคมีติดไฟ เช่น วตั ถุระเบิด, ป๋ ุยยเู รีย (แอมโมเนียมไนเตรต) , ผงแมกนีเซียม ฯลฯ วธิ ีดบั ไฟประเภท D ทด่ี ีท่ีสุด คือ การทาใหอ้ บั อากาศ หรือใชส้ ารเคมเี ฉพาะ (ห้ามใชน้ ้า) คือไฟทีเ่ กิดจากเช้ือเพลิงประกอบอาหาร เช่น น้ามนั พชื น้ามนั เตา วธิ ีดบั ไฟประเภท K การทาใหอ้ บั อากาศ หรือใชส้ ารเคมเี ฉพาะ (ห้ามใชน้ ้า)
10 16. วิธีการดบั ไฟ จึงมีอยา่ งนอ้ ย 3 วธิ ี คือ 1. ทาให้อบั อากาศ ขาดออกซิเจน 2. ตดั เช้ือเพลิง กาจดั เช้ือเพลิงให้หมดไป 3. ลดความร้อนทาใหเ้ ยน็ ตวั ลง ป้ายทาง อพย หนีไฟ พ ช่วยเหลือ จุดรวม ชีวติ พล ภาพแสดงการฝึ กซ้อมอพยพหนไี ฟ 17. ข้นั ตอนการปฏิบัตติ นเมื่อพบเหตุเพลงิ ไหม้ ถ้าดบั เองได้ แจ้งหวั หน้างาน ให้ใช้ถงั ดับเพลงิ ทอี่ ย่ใู กล้สุด รอฟังสัญญาณให้อพยพ ดับไฟได้ทนั ที คือ ประกาศเสียงตามสาย หรือ สัญญาณแจ้งเหตทุ ดี่ งั ถ้าดับเองไม่ได้ ตดิ ต่อกนั ยาวกว่า 10 วนิ าที ให้แจ้งหัวหน้างาน จากน้ันให้ไปรวมกันทจ่ี ดุ รวมพล
11 อปุ กรณ์ฉุกเฉิน สัญญาณแจ้งเหตเุ พลงิ ไหม้ ใช้ในกรณแี จ้ง เพื่ออพยพหนไี ฟไปยงั ทจี่ ุดรวมพล ดึง ปลด กด ส่าย ถงั ดับเพลงิ 18. ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิเมื่อบาดเจ็บจากการทางาน แจ้งหัวหน้างาน บาดเจ็บเลก็ น้อย บาดเจ็บรุนแรง บาดเจบ็ แต่สามารถ รุนแรงและ ตดิ ต่อที่ เคลื่อน ย้าย ไม่สามารถ กระเป๋ ายาใน ผ้ปู ่ วยได้ เคลื่อน ย้าย ผู้ป่ วยได้ พื้นที่ โทรศัพท์แจ้ง พยาบาล ตดิ ต่อห้อง วชิ าชีพ ที่ พยาลของ จุดปฐมพยาบาล และกระเป๋ ายา หมายเลข บริษัทฯ ภายใน 5503
12 19. โรคจากการทางาน โรคจากการทางาน หมายถึง โรคหรือความเจ็บป่ วยที่เกิดข้ึนกบั ผปู้ ฏิบตั ิงานในระหวา่ งปฏิบตั ิงานหรือนอกเวลาปฏิบตั ิงาน โดยมีสาเหตุมาจาก สภาวะแวดล้อมในการทางานท่ีไม่เหมาะสม หรือสภาพของงาน ตลอดจนการทางานท่ีใชแ้ รงงานหนักเกิน ความสามารถของร่างกาย การทจี่ ะตดั สินใจไดว้ ่าเป็น “โรคจากการทางาน” หรือไมน่ ้นั โดยสรุปจะตอ้ งประกอบดว้ ยสาเหตุหลกั ๆ ดงั ต่อไปน้ี 1. ตอ้ งมีอาการของโรคหรือความเจบ็ ป่ วยเกิดข้ึน ซ่ึงเป็นผลโดยตรงจากการทางาน 2. การทางานน้นั เป็นการทางานให้นายจา้ ง 3. อาการของโรคหรือความเจ็บป่ วยเกิดข้ึนในขณะปฏิบตั ิงานหรือเม่ือไดท้ างานน้นั มาเป็นระยะเวลาท่ีก่อให้เกิดโรคได้ หรือแมก้ ระทง่ั ลาออกจากงานน้นั แลว้ จึงเกิดอาการโรคข้ึนภายหลงั 4. ตอ้ งมสี าเหตุมาจากการทางาน - สภาวะแวดลอ้ มในการทางานท่ีไม่เหมาะสม เช่น มีฝ่นุ ละออง ไอระเหย เขมา่ ควนั เสียงดงั แสงจา้ เช้ือโรคต่างๆ ท่มี ีอยใู่ นบรรยากาศของการทางานเป็นจานวนมาก เป็นตน้ - สภาพของงานทป่ี ฏิบตั ิไม่เหมาะสม เช่น สภาพการนง่ั ทางานบนเกา้ อ้ีทอ่ี อกแบบไม่เหมาะสม สภาพเครื่องจกั รไม่ มีความสมดุลกบั โครงสร้างร่างกายของผปู้ ฏิบตั ิ สภาพการทางานทซ่ี ้าๆ ซากๆ ไม่เหมาะสมกบั สรีระของร่างกาย 20. การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้การรักษาพยาบาล หรือการช่วยเหลือแก่ผบู้ าดเจ็บหรือผปู้ ่ วยโรคกะทนั หัน เพื่อเป็นการ ช่วยชีวิตในข้นั ตน้ และเป็ นการป้องกนั ไม่ให้อาการของผบู้ าดเจ็บเลวร้ายลงไปกวา่ เดิม ก่อนท่ีจะนาส่งโรงพยาบาล หรือส่งให้แพทย์ รักษาต่อไป การปฐมพยาบาลเมื่อสารเคมถี ูกผวิ หนัง 1. ลา้ งดว้ ยน้าสะอาดนาน ๆ อยา่ งนอ้ ย 15 นาที 2. อยา่ ใชย้ าแกพ้ ษิ ทางเคมี เพราะความร้อนทีเ่ กิดจากปฏิกิริยาอาจทาให้เกิดอนั ตรายมากข้ึน 3. บรรเทาอาการปวดและรักษาอาการช็อค 4. ปิดแผล แลว้ นาส่งโรงพยาบาล การปฐมพยาบาลเมื่อสารเคมเี ข้าตา 1. หา้ มขย้ตี าเดด็ ขาดเพราะการขย้ตี าจะเป็นการเร่งปฏิกิริยาของสารเคมี 2. ถา้ สารเคมีเขา้ ตาซา้ ยก็เอียงหนา้ ดา้ นซา้ ยลงและเทน้าสะอาดไหลผา่ นตาปริมาณมากๆหรืออยา่ งน้อย 15 นาที โดยการ เปิดน้ากอ๊ กไหลรินค่อย ๆ 2. รีบไปพบจกั ษุแพทยท์ นั ที
13 การปฐมพยาบาล แผลไฟไหม้ นา้ ร้อนลวก 1. แช่บริเวณที่ถูกลวกในน้าเยน็ ที่สะอาด หรือใชผ้ า้ ชุบน้าเยบ็ ประคบ 2. ถา้ ผวิ หนงั ไมพ่ องหรือหลุดออก ใหล้ า้ งแผลให้สะอาด 3. ถา้ เป็นตุ่มพองไม่ควรเจาะ ปล่อยให้แห้งและหลุดร่อนไปเอง 4. ถา้ เป็นตุ่มพองใหญ่ใหเ้ จาะเอาน้าออกและทาแผลใหส้ ะอาด การปฐมพยาบาลผ้ถู ูกกระแสไฟฟ้าซ๊อต 1. รีบช่วยผบู้ าดเจ็บออกจากกระแสไฟฟ้าให้เร็วทส่ี ุด ดว้ ยวสั ดุทแ่ี หง้ ไม่เป็นสื่อทางไฟฟา้ 2. ให้ผบู้ าดเจบ็ นอนหงาย ถา้ ไมห่ ายใจใหร้ ีบผายปอด และรีบส่งโรงพยาบาลทนั ที 3. ถา้ ผบู้ าดเจบ็ หายเป็นปกติกต็ อ้ งนาผบู้ าดเจ็บส่งโรงพยาบาล เพราะอาจเกิดอาการชอ็ คข้ึนได้ การปฐมพยาบาลผู้ป่ วยทเี่ ป็ นลม 1. ห้ามคนมุงดู พาเขา้ ในท่ีร่มให้อากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก 2. คลายเส้ือผา้ ออกให้หลวม 3. จดั ให้นอนตะแคงหนา้ ไปขา้ งใดขา้ งหน่ึง เพอื่ ป้องกนั ในเรื่องของทางเดิน หายใจอุดตนั 4. ใชผ้ า้ ชุบน้าเชด็ หนา้ ผาก มอื และเทา้ ถา้ อาการไม่ดีข้ึน รีบนาส่งโรงพยาบาล 21. การบริหารร่างกายเพ่ือลดความเม่ือยล้าเบื้องต้น 1. ตา การดูแลสุขภาพตา 1. จดั สถานทที่ างานให้มีแสงสวา่ งเพยี งพอ และสบายตา 2. ไม่มองของสีขาวกลางแดด หรือมองแสงสวา่ งจา้ นานๆ 3. ไมเ่ อามือหรือผา้ สกปรกเช็ดหรือขย้ตี า 4. ไม่ไวผ้ มยาวปรกหนา้ เพราะจะทาให้มองไม่ถนดั และเป็นช่องทางใหค้ วามสกปรกเขา้ ตาได้ 5. เมอ่ื ทางานที่ตอ้ งใชส้ ายตาติดต่อกนั นานๆ ควรมีการพกั สายตาเป็นระยะ ๆ โดยการ - หลบั ตาท้งั สองขา้ งเป็นแบบหลบั ตาน่ิง - มองเหม่อโดยการมองไปขา้ งหนา้ ให้สุดสายตา ไม่มองจุดใดจุดหน่ึง เพ่ือให้กลา้ มเน้ือรูมา่ นตาไดพ้ กั และไดข้ ยาย เต็มท่ี - มองไกลเกิน 6 เมตร โดยมองผา่ นทางหน้าต่าง ดูภาพทีไ่ กลสุดสายตา แมจ้ ะต้งั ใจหรือไมก่ ็ตามกลา้ มเน้ือตาจะได้ พกั 6. รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ บารุงสายตา เช่น ผกั ใบเขียว และผลไมท้ ่ีมีสีเหลือง จะเป็ นแหล่งของวิตามินเอ และเบตา้ แคโรทีน ทบ่ี ารุงสายตาไดด้ ี
14 7. หลงั จากเลิกงานในแต่ละวนั ไม่ควรมีกิจกรรมที่ต้องใชส้ ายตามาก ๆ และควรมีเวลาพกั ผ่อนนอนหลบั ให้เต็มท่ี เพราะตาจะไดพ้ กั แบบผอ่ นคลายมากทส่ี ุด 2. คอ และ ไหล่ อาการปวดคอ และไหล่ เกิดจากหลายสาเหตุ ท้งั จากการที่กลา้ มเน้ือคอทางานมากเกินไป ดงั น้นั จึงมี ท่าบริหารคอและไหล่ เพ่อื ท่ีจะไดบ้ รรเทาจากการเจ็บปวด ท่าบริหารคอและไหล่ ท่าที่ 1 1. หมนุ ศีรษะไปทางขวาชา้ ๆคา้ งไว้ 3 วินาที 2. หมนุ กลบั มาหนา้ ตรงหยดุ 3. หมุนศีรษะไปทางซา้ ยชา้ ๆ คา้ งไว้ 3 วินาที ท่าท่ี 2 1. กม้ ศรี ษะพยายามใหค้ างสัมผสั อกหยดุ คา้ งไวส้ ักครู่ 3 วินาที 2. เงยหนา้ ข้ึนชา้ ๆ ไปดา้ นหลงั เท่าท่ีจะทาได้ ท่าท่ี 3 1. วางมือบนหนา้ ผาก ผลกั ศรี ษะตา้ นกบั มอื โดยศรี ษะ ไมเ่ คลื่อนไหว คา้ งไว้ 10 วินาที 2. ทาซ้ากนั 3 คร้ัง ท่าที่ 4 1. ประสานมอื บริเวณทา้ ยทอยผลกั ศรี ษะตา้ นกบั มือ โดยศรี ษะไม่เคลื่อนไหวคา้ งไว้ 10 วนิ าที ท่าท่ี 5 1. วางมอื ขวาทด่ี า้ นขวาของใบหนา้ ผลกั ศรี ษะตา้ นกบั มอื โดยศีรษะไมเ่ คลื่อน คา้ งไว้ 10 วนิ าที 2. พกั แลว้ เริ่มทาใหม่ ในดา้ นซา้ ย 3. ทาซ้ากนั 2-3 รอบ
15 ท่าท่ี 6 1. เอียงคอไปดา้ นขวา พยายามใหห้ ูเขา้ ใกลไ้ หล่ หยดุ พกั สักครู่ เอียงคอกลบั ศีรษะตรง 2. เอียงคอไปดา้ นซา้ ย เช่นกนั คิดเป็น 1 รอบ 3. ทาซ้า ขอ้ 1-2 ครบ 5 รอบ ท่าที่ 7 1. หมุนคอเป็นรูปวงกลมไปดา้ นขวา 3 รอบ 2. หมนุ คอรูปวงกลมไปดา้ ยซา้ ย 3 รอบ หยดุ พกั คิดเป็น 1 คร้ัง 3. ทาซ้าขอ้ 1-2 3 คร้ัง ท่าที่ 8 1. ยกแขน 2 ขา้ ง ออกนอกลาตวั งอขอ้ ศอกขนานกบั พ้นื น้ิวมือเก่ียวกนั ดึงตา้ นกนั นบั 1-10 2. ทาซ้า 3 คร้ัง ท่าท่ี 9 1. ยกแขน 2 ขา้ ง ออกนอกลาตวั งอขอ้ ศอกขนานกบั พ้ืน ฝ่ามือเสมอกนั ออกแรงตา้ นกนั นบั 1-7 3. ทาซ้า 3 คร้ัง ท่าท่ี 10 1. ยนื ตรง หายใจเขา้ ลึกๆ พร้อมกบั ยกไหล่ข้ึนสูงเท่าท่ี จะทาได้ 2. หายใจออกพร้อมกบั ลดไหล่ลง 3. ทาซ้า ขอ้ 1-2 20 คร้ัง
อุบตั ภิ ยั ไม่ใช่เคราะห์กรรม เกดิ จากการกระทาโดยประมาท จติ ใจทวี่ ติ กกงั วล ความเจบ็ ป่ วย การนอนหลบั พกั ผ่อนทไ่ี ม่เพยี งพอ อาจก่อให้เกดิ อุบัตเิ หตกุ บั ท่านได้ การไม่ฝึ กปฏบิ ตั ติ ามกฎ และระเบยี บในเร่ืองความปลอดภยั อาจจะเป็ นอนั ตรายต่อตวั ท่านและผ้อู ื่น การกระทาทไี่ ม่ปลอดภยั เป็ นสาเหตุหลกั ของอบุ ัตเิ หตทุ ง้ั ปวง ป้องกนั ดกี ว่าการแก้ไข คดิ ก่อนทา จาใส่ใจ ปลอดภยั ไว้ก่อน
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: