MATERNAL & NEWBORN MIDWIFRY NURSING PRACTICUM 1 : HISTORY TAKING DUANGPORN PASUWAN
ROADHOUSE MARKETING INC. PROJECT PROCESS PROJECT PROPOSAL 01 OUR COMPANY CONCEPTS With more than 2,700 active clients, we work Design concepts for the brand across the global economy. Our clients are remarkably diverse: large and small, private 02 and public, for-profit and nonprofit. We help them grow, sustain and transform: whatever it OPTIONS takes to embrace their future. Stakeholders understand the CONTACT US options www.roadhouse.com 03 [email protected] FINALISE (940) 761-5551 Design finalisation and completion 836 San Juan St. Hammonton, NJ 08037 04 THE CLIENT ASSESS Founded in 1984 in a guard shack in Los Angeles, Geisler grew to become California's Design to be assessed to the leading PC company, and then acquired IBM's stakeholders Personal Computing Division, the creators of the first personal computer. THE PROJECT Brand Development Brand Marketing Website Design and Development Website Maintenance
การซกั ประวัติ สตรตี ้ังครรภ์รายใหม่ การซกั ประวตั ิสตรตี ัง้ ครรภ์รายใหม่ การซักประวัติสตรตี ้งั ครรภ์รายใหม่นบั วา่ เป็นช่วงทส่ี าคัญมากช่วงหน่ึง ท้ังน้ีเพราะสตรี สามี และญาติ ที่มาโรงพยาบาล จะมอบความไวว้ างใจให้บุคลากรในโรงพยาบาล และในห้องฝากครรภ์ ดงั น้ันจึงมีความจาเป็น อย่างยง่ิ ที่พยาบาลจะต้องสรา้ งความประทบั ใจให้แกส่ ตรี สามี และญาติ โดยใหก้ ารต้อนรับ สตรีต้งั ครรภ์ให้รูส้ กึ อบอนุ่ เปน็ กันเองดว้ ยใบหน้าท่ียิม้ แยม้ เพ่ือความมนั่ ใจ และลดความวติ กกงั วลของสตรตี ้ังครรภ์ ญาติ นอกจากนย้ี ัง ตอ้ งให้การปฐมนเิ ทศสตรตี ้งั ครรภ์ และญาติเก่ยี วกับกฎระเบยี บต่างๆ ของโรงพยาบาล เช่น การเยย่ี ม ตลอดจน สถานท่ี เช่น หอ้ งน้า ห้องคลอด เคร่ืองใช้ เป็นต้น หลักการรับใหม่สตรีต้ังครรภ์ทกุ ราย พยาบาลจะดาเนินตามกระบวนการพยาบาล ได้แก่ ข้ันตอน ของการเก็บรวบรวมข้อมลู จากการซักประวัติ และการตรวจรา่ งกาย เพื่อคน้ หาปัญหา และใหก้ ารพยาบาลโดยการ เตรียมสตรีต้งั ครรภ์ รวมท้งั มีการบันทึกขอ้ มูลต่างๆ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน การให้การตอ้ นรับสตรที ี่มาฝากครรภ์ ผู้ที่รับสตรีต้ังครรภ์จะต้องให้การต้อนรับด้วยไมตรีจิต สุภาพ อ่อนโยน มารยาทเรียบร้อยมีความ ว่องไว กระฉับกระเฉง ม่ันใจในตัวเอง เพื่อให้สตรีต้ังครรภ์ได้รับความอบอุ่น มีความม่ันใจในตัวเรา และมองเห็น ว่าเราช่วยเหลือเขาได้จริงจัง และจริงใจ คาพูดถูกต้องหนักแน่น มีเหตุผลต่อสตรีต้ังครรภ์ สามีและญาติท้ังน้ีเรา ตอ้ งทราบสภาพจติ ใจของผทู้ ม่ี าฝากครรภ์ว่าขณะสภาพจติ ใจ มีความแตกต่างกัน ดงั นี้ 1 ดีใจเพราะจะไดส้ มาชิกใหม่เพิม่ ขน้ึ 2 กลัวการตั้งครรภ์ในรายที่ไม่เคยต้ังครรภ์ หรือเคยคลอดลาบาก กลัวความพิการเด็กที่ออกมาจะไม่ สมบรู ณ์ และไม่สมประกอบ 3 กังวล ตอ่ การปฏิบัติตวั ในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด วธิ กี ารเล้ยี งดบู ตุ รทีจ่ ะเกดิ ออกมา 4 มีบตุ รในเวลาทยี่ ังไมต่ ้องการ 5 ไดเ้ พศบตุ รทีไ่ ม่ต้องการ 6 ปัญหาการปรับตัวต่อสภาวะแวดลอ้ มเมื่อต้ังครรภ์ 7 ผลเลือดในขณะต้ังครรภ์ ดังน้ันเมื่อสตรีต้ังครรภ์เข้ามาแล้วควรมีมารยาทในการต้อนรับ และลดความวิตกกังวลความกลัว ตา่ งๆ จงึ ควรปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1 แนะนาการมาฝากครรภ์ การซักประวตั ิ การตรวจครรภ์ การเจาะเลือด 2 ให้ความรูเ้ รือ่ งธรรมชาติของการตัง้ ครรภ์ และปฏบิ ัติตวั ในระยะต้งั ครรภ์ 3 ให้กาลังใจในการตั้งครรภ์ ให้การต้ังครรภ์ดาเนินไปจนถึงระยะครบกาหนด (37 สัปดาห์ข้ึนไป ไม่ เกนิ 42 สปั ดาห)์ 4 ใหค้ าแนะนาการเจาะเลือด ตรวจปัสสาวะเพื่อตรวจหาความผิดปกติ ทัง้ ของสตรีตง้ั ครรภ์ และสามี 5 การแนะนาสถานท่ี วัน เวลา เปิด ปิด ห้องฝากครรภ์ แพทย์ พยาบาล สตรีต้ังครรภ์ ระเบียบการ มาฝากครรภ์
6 ควรตรวจร่างกาย ตรวจท้อง และ ตรวจเตา้ นม วัดหวั นม อยา่ งนุม่ นวล 7 รับฟัง และแก้ปัญหาบางอย่างที่เกิดข้ึน เข้าใจปัญหา โอนอ่อนผ่อนตามความเช่ือบางอย่าง ซึ่งไม่ ขดั ต่อการคลอด สิ่งเหล่านี้ ถ้าสตรีตั้งครรภ์ หรือผู้ที่รับสตรีตั้งครรภ์เข้าใจ ก็สามารถช่วยสตรีต้ังครรภ์ให้เกิดความ อบอ่นุ ม่ันใจในการต้ังครรภ์ครง้ั นไ้ี ด้ การซกั ประวัติ เป็นข้ันตอนแรกของการใช้กระบวนการพยาบาล ในการให้การพยาบาลสตรีต้ังครรภ์ทุกราย การรับ ใหมส่ ตรตี ้งั ครรภ์ ควรซักประวตั ติ ่างๆ ดงั ต่อไปน้ี 1. ประวัติจากสตรีต้ังครรภ์มาโรงพยาบาล เพื่อการวินิจฉัยว่าสตรีตั้งครรภ์ต้ังครรภ์จริงหรือไม่ ซึ่ง ประกอบด้วย 1.1 ประจาเดือนคร้ังสุดท้าย (LMP) ควรซักประวัติได้ว่าเป็นประจาเดือนคร้ังสุดท้ายก่อนท่ีจะไม่ มาอีก โดยการซักถามจากวันแรกของการมีประจาเดือนคร้ังสุดท้าย รอบของประจาเดือน และ จานวนวันของ ประจาเดือนครง้ั สุดทา้ ย ขอ้ มลู น้สี ามารถนามาคานวณอายคุ รรภ์ (GA) และวันกาหนดคลอด (EDC) ได้ 1.2 นา้ หนัก และสว่ นสูงก่อนต้ังครรภ์ เพ่อื คานวณ BMI 1.3 มนี า้ เดินหรือถงุ น้าแตก (Rupture of membranes) ถามวา่ มหี รือหรอื ไมม่ ี ถ้ามี เกิดขึ้นเม่ือไร ลักษณะเป็นอย่างไร จานวนเท่าไร โดยปกติแล้วถุงน้าทูนหัว (Bag of fore water) จะแตกใน ตอนท้ายของการคลอดระยะที่หนึ่ง หรือการคลอดระยะที่สอง แต่มีสตรีตั้งครรภ์เป็นจานวนมากท่ีมีน้าคร่าไหล ออกมากอ่ นระยะคลอด ซึง่ จะทราบไดโ้ ดย 1.3.1ประวตั ิมนี ้าออกทางช่องคลอดเปียกผ้านงุ่ 1.3.2น้าคร่าไหลซึมออกมาใหเ้ หน็ vernix caseosa ปนออกมาด้วย 1.3.3ตรวจทางทวารหนักไม่พบถุงน้าโป่งตึง คือ สามารถตรวจสว่ นนาไดช้ ดั เจน 1.3.4ตรวจได้ภาวะนา้ คร่าเป็นดา่ งอย่างออ่ น แต่รายท่ใี หป้ ระวัติวา่ มนี ้าเดนิ ควรซกั ประวัติแยกจาก 1.3.5มูก โดยถามถึงลักษณะนา้ ท่ีออกมาใสหรือเปน็ เมือก หรอื เปน็ มูก 1.3.6ปัสสาวะไหล ถ้าเป็นปัสสาวะไหลจานวนหน่ึงแล้วหยุดไป แต่ถ้าเป็นน้าเดินจะไหลรินๆ ขณะมดลกู คลายตัวและไหลมากขน้ึ เมอื่ มดลกู มกี ารหดรดั ตวั 2. ประวัตทิ างสตู กิ รรม ในรายที่เคยฝากครรภแ์ ล้ว ใหท้ บทวนรายงานการฝากครรภ์โดยตลอด รายที่ ฝากครรภ์ถามจาแนกจานวนของการฝากครรภ์ ผลเลือด ผลการตรวจปัสสาวะ น้าหนัก ความดันโลหิต อายุครรภ์ และภาวะแทรกซ้อนเมื่อฝากครรภ์ด้วย ถามประวัติของความผิดปกติหรือส่ิงผิดปกติท่ีตรวจพบขณะฝากครรภ์ ท้งั หมด และควรบันทึกไวใ้ นแผนบันทึกแรกรบั ถ้าสตรตี ัง้ ครรภ์ ไม่เคยฝากครรภ์ควรซกั ประวัติ ดงั น้ี 2.1 ข้อมูลส่วนตัว ไดแ้ ก่ อายุ ทีอ่ ยู่ อาชีพ ระยะการแต่งงาน 2.2 ประวตั กิ ารคลอดในอดีต ไดแ้ ก่ 2.2.1 การต้งั ครรภ์แตล่ ะครัง้ ปกติหรือไม่ ถา้ ผดิ ปกติเป็นอยา่ งไร
2.2.2 ประวตั ิการคลอดยาก เชน่ ทาผ่าตดั เอาทารกออกมาทางหน้าท้องเม่ือใด บตุ รคนท่ีเท่าใด ใช้คมี หรือเคร่ืองดดู สุญญากาศเม่ือใด บุตรคนทเ่ี ทา่ ใด ซ่ึงจาเปน็ ตอ้ งระวัง และตรวจดูสภาพของช่องเชิงกราน ให้ ละเอยี ดมากขน้ึ และควรถามระยะเวลาของการคลอดแตล่ ะคร้งั ด้วย 2.2.3 การแทง้ และการขูดมดลกู มคี วามสาคัญ เพราะอาจทาให้รกฝงั ตัวลกึ กว่าปกติ ซึ่งทาให้ การคลอดรกเปน็ ไปไม่ได้ 2.2.4 การล้วงรก ครรภ์ก่อนๆ เคยล้วงรกหรือไมค่ รรภน์ ี้อาจต้องล้วงรกออกเช่นกัน 2.2.5 การผ่าตดั เกย่ี วกับมดลูก เพราะอาจทาให้มดลูกแตกระหว่างการคลอด หรือ หลงั เด็ก คลอด แลว้ รกอาจคลอดไม่ได้จากการฝังตวั ลึกกว่าปกตบิ นผนังกลา้ มเนือ้ มดลกู ตรงตาแหน่งของรอยแผลผ่าตดั ครั้ง กอ่ น 2.2.6 การตกเลอื ดภายหลังคลอด มคี วามสาคัญมากเพราะผทู้ เ่ี คยตกเลือดหลงั คลอดมากอ่ น สว่ นมากการตกเลือดมกั จะมีอบุ ตั กิ ารณ์ซา้ ในการคลอดครั้งตอ่ ไป 2.2.7 การตายของทารกในครรภ์เมอ่ื แรกเกดิ หรอื ความพิการของทารกเน่ืองจากการคลอด 2.2.8 การมลี ูกยาก (Infertility) ทารกในครรภน์ ี้ย่อมมีความสาคญั ต่อชีวติ ครอบครัว เปน็ อย่างมาก 2.3 ประวตั กิ ารตง้ั ครรภ์ปัจจุบนั ไดแ้ ก่ 2.3.1 จานวนคร้ังของการต้งั ครรภ์ (Gravidarum) 2.3.2 จานวนคร้งั ของการคลอด (Parity) 2.3.3 จานวนครั้งของการแท้ง (Abortion) 2.3.4 จานวนบุตรทม่ี ีชวี ติ (Living child) 2.3.5 จานวนบตุ รท่เี สียชีวิต (Death fetus, Still birth, Neonatal death) 2.3.6 อายุครรภ์ และกาหนดคลอด 2.3.7 ทารกเรมิ่ ดน้ิ เมื่อไร 2.3.8 ภาวะแทรกซ้อนขณะต้ังครรภ์ เชน่ มเี ลือดออกทางช่องคลอด อาการบวมตาม ร่างกาย ปวดศีรษะ เปน็ ต้น 3. ประวัติความเจบ็ ปว่ ยทางอายรุ กรรม และศลั ยกรรม ทั้งปจั จุบัน และอดตี มีประวตั ิการเจบ็ ป่วยดว้ ยโรคใดบ้าง เรมิ่ เป็นเม่อื ไร ได้รบั การรกั ษาหรือไมอ่ ย่างไร การตรวจรา่ งกาย การตรวจร่างกายเป็นสงิ่ จาเป็นในข้ันการเกบ็ รวบรวมข้อมูลของกระบวนการพยาบาล ท่ีสามารถทราบสภาพของสตรตี ง้ั ครรภ์ ทารกในครรภ์ และการคลอด การตรวจร่างกายแบ่งออกเป็น 3 อย่างคือ 1การตรวจรา่ งกายทั่วไป 2การตรวจร่างกายเฉพาะที่ 3การตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร 1. การตรวจร่างกายท่วั ไป การรบั ใหมส่ ตรีตัง้ ครรภ์ควรตรวจส่งิ ต่อไปน้ี 1.1 รูปรา่ ง และโครงสร้างของรา่ งกาย ไดแ้ ก่ 1.1.1รปู ร่าง อ้วน ผอม ตัวโต ตวั เล็ก หรอื สันทดั เปน็ ต้น
1.1.2ความสงู ถ้าตัวเตีย้ กว่า 140 เซนติเมตร อาจมีปัญหาในการคลอดทางชอ่ งคลอด 1.1.3นา้ หนัก ควรเปรียบเทยี บกบั ครง้ั ก่อนๆ เพ่ือประเมนิ อาการบวมหรือ ในรายทน่ี า้ หนัก เพิม่ มากผิดปกติ อาจมีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ได้ 1.1.4ความพิการต่าง ๆ โดยเฉพาะบริเวณสะโพก และกระดูกสันหลัง อาจมีผลให้กระดูกเชิง กรานเบ้ยี วผิดรปู ได้ ซงึ่ มีผลอาจทาให้ทารกไม่สามารถคลอดผ่านมาได้ 1.2 ลักษณะทัว่ ไปเก่ยี วกับสขุ ภาพอนามัยของสตรีต้งั ครรภ์ ไดแ้ ก่ ภาวะซีด อาการ เหนื่อย หอบ อาการเขียวทปี่ ลายเลบ็ 1.3 สญั ญาณชีพ ซ่ึงต้องการตรวจดังตอ่ ไปนี้ 1.3.1ความดนั โลหิต ถา้ สูงเกิน 130/80 มลิ ลิเมตรปรอท อาจจะเปน็ ภาวะความ ดนั โลหิตสงู ขณะตัง้ ครรภ์ 1.3.2อุณหภูมิ ถ้าสงู อาจมีการติดเชอ้ื 1.3.3ชพี จร ถ้าเบา เรว็ อาจแสดงถึงภาวะ shock 1.3.4การหายใจ มีอาการหอบ หรือไม่ 1.4อาการบวม (Edema) ประเมินดวู า่ มีการบวมตามส่วนใดของร่างกายหรือไม่ โดย เฉพาะท่ขี า ถา้ มอี าการบวมอาจเปน็ อาการแสดงของโรคไต หวั ใจ หรอื ภาวะความดันโลหติ สงู ขณะตง้ั ครรภ์ 2. การตรวจรา่ งกายเฉพาะที่ การรับใหมส่ ตรตี ้ังครรภ์ควรตรวจสง่ิ ตอ่ ไปนี้ 2.1 การตรวจครรภ์ เพื่อตรวจหาอายุครรภ์ แนวลาตัวของทารกท่าของทารก ส่วนนาของทารก การเคล่ือนเขา้ สอู่ ุ้งเชิงกรานของส่วนนาทารก สภาพของทารกในครรภ์ และความกา้ วหน้าของการคลอด วิธีการตรวจครรภแ์ บ่งออกเป็น 2.1.1. ดู 21.2. การคลา 2.1.3. การฟัง 2.1.1.การดู เพ่อื ตรวจหาสิ่งต่อไปน้ี 2.1.1.1อายุครรภ์ โดยตรวจดูขนาดของมดลกู เทยี บกบั ระยะเวลาของการต้ังครรภ์ ดูขนาด ของทอ้ งว่าใหญ่ผิดปกติหรอื ไม่ ถ้าใหญ่มากอาจมนี ้าครา่ มาก (Polyhydramnios) เด็กใหญ่หรือครรภ์แฝด (Twins) ก. ลักษณะของท้อง มีท้องหย่อนหรือไม่ หรือมีกล้ามเนื้อหน้าท้องแยกออกจากกัน ซ่ึง จะทาใหก้ ล้ามเน้ือหน้าทอ้ งหยอ่ นกาลงั ทาให้แรงเบ่งในระยะคลอดไม่ดี มรี อยแผลผา่ ตัดหนา้ ทอ้ งหรือไม่ ข. ลกั ษณะของมดลูกโตตามขวางหรอื ตามยาว เพือ่ ทราบวา่ ทารกอยู่แนวใด ค. การเคลอ่ื นไหวของทารก เพื่อทราบวา่ ทารกมีชวี ติ อยู่ ทง้ั ช่วยคะเนทา่ ของ ทารก ถา้ พบทารกเคลื่อนไหวบริเวณหนา้ ทอ้ งมาก ทารกน่าจะเอาท้ายทอยอยดู่ ้านหลัง ง. ลักษณะหน้าท้องบริเวณเหนือหัวหน่าว พบว่าจะนูนในท่าท้ายทอยอยู่ด้านหลัง แต่ ถ้าแบนราบในท่าท้ายทอยอยูด่ ้านหลงั
AB รูปที่ 5-1 ลักษณะหน้าท้อง A : ทารกอยู่ในท่าทา้ ยทอยอยู่ด้านหนา้ B : ทารกอยใู่ นทา่ ท้ายทอยอยดู่ า้ นหลัง (ทม่ี า : วราวธุ สมุ าวศ์, 2533 : 164) 2.1.2.การคลา้ สาหรบั การตรวจครรภ์โดยการคลานยิ มทาตามวิธีของ Leopold ขนั้ ตอนมดี ังนี้ 2.1.2.1 First leopold handgrip เป็นการคลาบริเวณของยอดมดลูกเพื่อหา ก.ระดับของยอดมดลูก เพ่ือเปรยี บเทยี บอายุครรภ์ ข.คลาหาสว่ นของทารกอยู่ยอดมดลูก 2.1.2.2 Second leopold handgrip เป็นการคลาหาหลังของทารกว่าอยู่ข้างใดของ ลาตัว มารดา 2.1.2.3 Third leopold handgrip เปน็ การตรวจหาส่วนของทารกที่อุง้ เชงิ กราน 2.1.2.4 Fourth leopold handgrip เปน็ การตรวจหาระดบั ของส่วนนาโดยผตู้ รวจ หันหน้าไปทางปลายเท้าของสตรีตั้งครรภ์ และใช้ปลายน้ิวมือท้ังสองสัมผัสที่ด้านข้างของส่วนนาท่ีบริเวณขาหนีบ ทั้ง 2 ข้าง ตรวจดูว่าส่วนนามี engagement หรือไม่ โดยใช่ฝ่ามือเคลื่อนไปตามสองข้างของส่วนนาไปหา รอยต่อของกระดูกหัวหน่าว ถ้าปลายมือสอดเข้าหากันได้ แสดงว่าศีรษะทารกยงั ไม่ผ่านลงทางช่องเชิงกราน แต่ ถ้าปลายนิ้วมือไม่สอดเขา้ หากนั แสดงวา่ มี engagement ของศีรษะทารกเกิดขึ้นแลว้ 3. การตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัติการ สตรีต้ังครรภ์ทุกรายควรได้รับการตรวจปัสสาวะหาโปรตีน (albumin) และน้าตาล (sugar)ใน ปัสสาวะ เพื่อประเมินภาวะความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์และภาวะเบาหวาน หากพบความผิดปกติจะต้อง รายงานแพทยเ์ พ่อื การรักษา ปสั สาวะทใี่ ช้ตรวจควรเป็น mid stream urine วิธีการตรวจโดยจุ่ม strip ลงในปัสสาวะและยกขึ้นทันที ปล่อยให้ปัสสาวะที่ติดมากับ strip มาก เกนิ ไปไหลออกให้หมด หลงั จากน้ัน 10 วนิ าที เทยี บสที เ่ี กดิ ขึ้นกับ color chart ที่ตดิ ขา้ งขวด หากไมเ่ ปลี่ยนแปลง ใน 10 วนิ าที ถือวา่ negative
การตรวจเลอื ดในสตรตี ัง้ ครรภ์ทไ่ี ม่เคยฝากครรภ์ จะต้องไดร้ ับการเจาะเลอื ดเพ่อื ดู Hemoglobin, Hematocrit, VDRL, Anti HIV, HBsAg หรือผลเลือดในระยะตั้งครรภ์เจาะเลือดเพ่ือการตรวจวินิจฉัยโรค ปัญหา ภาวะแทรกซอ้ นที่เกิดขึ้นไม่ครบ จะต้องไดร้ ับการเจาะเลอื ดเพิม่ รูปที่ 5-2 การตรวจครรภต์ ามวิธขี อง leopold (ทมี่ า : ธีระ ทองสง และ ชเนนทร์ วนาภิรกั ษ์, 2541 : 87) 2.1.3 การฟังเสียงหัวใจทารก (Fetal Heart Sound) ควรฟัง และนับ อัตราความเรว็ ของการเตน้ ของหัวใจทารกเต้น 1 นาที การฟังควรสังเกตความสม่าเสมอของ จงั หวะหัวใจและอัตราการเตน้ ของหวั ใจทารกภายใน 1 นาที การฟังควรฟังภายหลังกลา้ มเน้ือมดลูกคลายตัวประมาณ 20-30 วินาที ถ้าฟังขณะมดลูกหดตัวจะ ทาให้ผลไม่แน่นอน เพราะอัตราการเต้นเปล่ียนแปลงโดยระยะแรกที่มดลูกหดตัวจะเร็วขึ้นเล็กน้อย เมื่อหดตัว มากขนึ้ อัตราการเต้นจะช้าลง แตไ่ ม่ช้ากว่า 100 คร้ัง/นาที และจังหวะยังคงสม่าเสมอ ระยะท่สี องของการคลอด ควรฟังเสียงหวั ใจทารกทุก 5-10 นาที กรณที ่ี ถุงน้าทูนหวั แตกควรฟงั ทนั ทีเพราะอาจมสี ายสะดือพลัดต่า อตั ราการ เต้นของหัวใจทารกประมาณ 120-180 ครั้ง/นาที โดยเฉลี่ยแล้วประมาณ 140 คร้ัง/นาที ลักษณะเสียงจะเป็นคู่ จังหวะสมา่ เสมอ เสยี งแรกจะส้ัน เสยี งหลังจะยาว
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: