ก คำนำ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน วิชาชีพชั้นเรียน ช่างพื้นฐาน (ช่างเชื่อมโลหะ) หลักสูตร 40 ชั่วโมง จัดทำข้ึนเพ่ือให้ประชาชนในเขตตำบลพิบูล มีความรู้ ความเข้าใจ ช่างพ้ืนฐาน และประชาชนที่เข้าร่วม โครงการร้อยละ ๘๐ สามารถนำความรู้ ที่ได้ไปประกอบอาชีพเสริม สร้างรายได้ให้ตนเอง และครอบครัว โดย ดำเนินโครงการอย่างเป็นระบบ มีการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ การกำหนดเป้าหมายใน การพัฒนา การวางแผน การปฏิบัติงานตามแผน การนิเทศติดตามผล และประเมินโครงการ เพื่อนำผลการ ประเมินโครงการไปใช้ในการพัฒนางานอย่างต่อเน่ือง และเป็นระบบ ผลการดำเนินงานช่วยให้ กศน.ตำบล พบิ ลู ไดพ้ ัฒนาดา้ นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะอาชพี ขอขอบคณุ บุคลากรทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การดำเนนิ โครงการทกุ ทา่ น ที่ใหค้ วามร่วมมอื ในการดำเนินงานตาม โครงการ ในวันที่ 23 - 30 มิถุนายน 2564 ทำให้การดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งเกิด ประโยชน์สูงสุดตอ่ กศน.ตำบลพบิ ูล และผู้ท่เี กยี่ วขอ้ งสำหรับใชใ้ นการพฒั นางานใหม้ ีความก้าวหน้าตอ่ ไป กศน.ตำบลพบิ ลู 6 กรกฎาคม 2564
สารบัญ ข คำนำ หน้า บทที่ 1 บทนำ ก 1 1.1 ความสำคัญของโครงการ/กิจกรรม 1 11.2 วัตถุประสงค์ 1 1.3 ตวั ชว้ี ดั ความสำเรจ็ 1 บทที่ 2 วิธดี ำเนินการ 2 2.1 ขั้นตอนการดำเนนิ งาน 2 2.2 การประเมนิ โครงการ 3 2.3 เกณฑ์การแปลความหมาย 4 บทที่ 3 ผลการดำเนินการ 5 3.1 ผลการดำเนนิ การตามวัตถปุ ระสงค์ของกิจกรรม 5 3.2 ผลการดำเนินงาน 5 3.3 ประเมนิ ผลการจดั การศึกษาต่อเนือ่ ง 7 บทที่ 4 สรุป อภปิ รายและข้อเสนอแนะ 8 4.1 สรปุ ผลการประเมิน 8 4.2 จดุ เด่นทีค่ ้นพบในการดำเนินงาน 8 4.3 ปญั หา/อุปสรรคท่ีพบในการดำเนินงาน 8 4.4 ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนา 8 4.5 สรุปคา่ ใชจ้ า่ ย 8 ภาคผนวก 9
๑ บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ความสำคัญของโครงการ/กิจกรรม จากสถานการณ์ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าด้านเศรษฐกิจ และเทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทำให้ ประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจราคาสินค้าโดยท่ัวไปได้ปรับตัวสูงประชาชนโดยท่ัวไปจึงต้องแบกภาระค่าใช้จ่ายที่ เพิ่มข้ึนดังน้ันการประกอบอาชีพในปัจจุบันจึงไม่ได้มุ่งเน้นเพียงรายได้หลักเพียงอย่างเดียวการสนับสนุนให้ ประชาชนโดยท่ัวไปมีอาชีพเสริมเพื่อเพ่ิมพูนรายได้ตลอดจนการพึ่งพาตนเองโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ซึ่งการประกอบอาชีพในปัจจุบันมีการแข่งขันค่อนข้างสูง มีการใช้จ่ายในชีวิตประจำวันท่ีเพิ่มข้ึน กศน. ตำบลอำเภอพิบูลมังสาหาร จึงได้นำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งมีความเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจใน ปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงราษฎรในเขตพื้นที่ตำบลไร่ใต้ ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตร เช่น ทำไร่ ทำ นา เปน็ อาชพี หลัก มีการวา่ งงานหลังฤดเู ก็บเก่ียว หรอื ช่วงระยะเวลาในระหว่างการรอเก็บเกีย่ วผลผลติ กศน.อำเภอพิบูลมังสาหาร จึงได้จัดโครงการโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน วิชาชีพช้ันเรียนให้กับประชาชน ในชุมชน ท้ังสิ้น 6 ตำบล จำนวน 3 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรช่างเช่ือมโลหะ จำนวน 40 ชั่วโมง ,หลักสูตร ช่างปูกระเบื้อง จำนวน 40 ชั่วโมง และหลักสูตรช่างปูนซีเมนต์ จำนวน 40 ช่ัวโมง เพ่ือเป็นกระบวนการ เรียนรู้ให้กับนักศึกษาและประชาชนท่ัวไป ได้มีความรู้ มีทักษะ สามารถนำไปประกอบอาชีพช่างพ้ืนฐานได้และ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งท่ีสามารถสร้างรายได้หลักรายได้เสริมและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เป็นอาชีพท่ีต้องใช้ ความละเอียดอ่อน โดยเริ่มจากงานเล็กๆขึ้นไปถึงงานใหญ่ กศน.อำเภอพิบูลมังสาหาร ได้ตระหนักถึงความสำคัญ ของการประกอบอาชีพช่างพ้ืนฐาน จึงจัดการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายเน้นการฝึกปฏิบัติจริงเพ่ือให้ผู้เรียนเกิด ความรคู้ วามเขา้ ใจและสามารถนำไปประกอบอาชีพเพ่ือสร้างรายไดท้ ีม่ นั่ คงและย่ังยนื ได้ 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพ่ือใหผ้ ูเ้ รยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจ ในพนื้ ฐานความรูช้ ่างพ้ืนฐาน 1.2.2 เพอ่ื ใหม้ รี ายได้เสรมิ จากอาชีพหลัก 1.3 ตัวชว้ี ดั ความสำเร็จ เป้าหมายเชิงปรมิ าณ ประชาชนท่ัวไป จำนวน 13 คน เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๘๐ มีความรู้ ความเข้าใจ ช่างพ้ืนฐานและ สามารถนำความรู้ ทไ่ี ด้ไปประกอบอาชีพเสรมิ สรา้ งรายไดใ้ หต้ นเอง และครอบครัว
๒ บทท่ี 2 วธิ ีดำเนินการ 2.1 ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน กจิ กรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย พ้นื ที่ดำเนนิ การ ระยะเวลา 2.1.1 ข้ันวางแผน ๑. ประชุมวางแผนการ ๑.เพือ่ หาแนวทางการดำเนนิ -ประชาชนทั่วไป กศน.ตำบลพบิ ูล พฤษภาคม ดำเนนิ งาน โครงการ พน้ื ที่ตำบลพิบลู 2564 ๒.วางแผนการทำงานกบั ผู้มี ส่วนเกย่ี วข้องและจดั ทำ แผนการดำเนนิ งานตาม โครงการ ๒. จดั ทำโครงการ/เสนอ ๑.เพ่อื กำหนดแนวทางการ ครู กศน.ตำบล กศน.ตำบลพบิ ลู มิถุนายน 2564 อนุมัติโครงการ ดำเนินงานอยา่ งเป็นระบบ พิบลู กศน.ตำบลพบิ ลู มถิ ุนายน ครู ศรช.ตำบล 2564 พิบูล ๓. แต่งตง้ั ประชมุ ๑. เพอ่ื ใหค้ ณะกรรมการ/ คณะกรรมการ คณะกรรมการช้แี จงโครงการ/ วิทยากร รับทราบบทบาท กศน.ตำบล ออกแบบกิจกรรม หนา้ ที่ ออกแบบกิจกรรม และ -เครอื ข่าย ประสานงานผูเ้ กย่ี วข้อง สามารถดำเนนิ งานให้บรรลุ (วิทยากร) ตามวตั ถุประสงค์ของโครงการ 2.1.2 ขั้นดำเนินการ ๑. เพอ่ื ใหม้ ีสื่อ วสั ดุอปุ กรณ์ที่ -กิจกรรมของ กศน.ตำบลพิบลู 22 มิถุนายน 1. จดั เตรยี มอปุ กรณ์และสื่อ เหมาะสมกบั กิจกรรม โครงการ 2564 -วัสดุอุปกรณ์ 2. ดำเนินงานตามโครงการ ๑. เพอ่ื ให้ผู้เรียนมีความรู้ -ประชาชนทว่ั ไป กศน.ตำบลพิบลู 23 – 30 ให้ความรูเ้ บือ้ งตน้ เก่ยี วกับการ ความเข้าใจ มีทกั ษะในการทำ พ้ืนทต่ี ำบลพิบลู มิถุนายน ทำซาลาเปาแป้วมันม่วง ซาลาปา 2564 3. ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการลงมอื ปฏิบัตจิ รงิ ๒. เพื่อใหผ้ ้เู รียนสามารถนำ ความรู้ ทไ่ี ด้ไปประกอบอาชีพ เสรมิ สร้างรายไดใ้ หต้ นเอง และครอบครัว
๓ กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุม่ เป้าหมาย พื้นที่ดำเนนิ การ ระยะเวลา 2.1.3 ขัน้ ประเมนิ ๑. เพ่ือประเมินว่าโครงการมี -ประชาชนทั่วไป กศน.ตำบลพบิ ูล 30 มถิ ุนายน 1. ประเมินโครงการ ประสิทธิภาพ พ้นื ท่ีตำบลพบิ ลู 2564 กศน.อำเภอ 2. สรุปและรายงานผลการ ๑.เพ่อื ใหไ้ ดข้ ้อมลู ทีจ่ ะสามารถ - ครู กศน.ตำบล พบิ ลู มงั สาหาร 6 กรกฎาคม ประเมนิ โครงการ นำไปพฒั นาและจัดโครงการ พิบูล ครู ศรช. 2564 ตอ่ ไป ตำบลพิบลู 2.1.4 ขั้นปรบั ปรุงพฒั นา 1. การปรบั ปรงุ และพัฒนา 1.เพอื่ ปรบั ปรุงและพฒั นาการ - ครู กศน.ตำบล กศน.อำเภอ 15 กรกฎาคม ดำเนินการจัดโครงการครั้ง พบิ ลู ครู ศรช. พิบลู มงั สาหาร 2564 ตอ่ ไป ตำบลพิบลู 2.2 การประเมนิ โครงการ 2.2.1 เครอ่ื งมือท่ใี ช้ 1. ประเมินความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติ ของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ โดยการใชแ้ บบประเมินความ พึงพอใจ 2. แบบประเมนิ ผลการจดั การศึกษาต่อเน่ือง 3. เครื่องมือท่ใี ช้ในการประเมินโครงการ เคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการประเมนิ โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน วชิ าชีพชน้ั เรียน ช่างพื้นฐาน (ชา่ ง เช่ือมโลหะ) หลักสูตร 40 ช่ัวโมง มีจำนวน 13 ฉบับ มที ั้งหมด 4 ตอน - ตอนที่ 1 ดา้ นเนือ้ หาหลักสูตร จำนวน 4 ขอ้ - ตอนที่ 2 ดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม จำนวน 5 ข้อ - ตอนที่ 3 ดา้ นวทิ ยากร จำนวน 3 ข้อ - ตอนท่ี 4 ดา้ นการอำนวยความสะดวก จำนวน 3 ขอ้ 2.2.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ ประชาชนในเขตตำบลพิบลู จำนวน 13 คน กลุ่มตัวอย่าง คอื ประชาชนในเขตตำบลพิบูล ทรี่ ว่ มโครงการ จำนวน 13 คน 2.2.3 การวเิ คราะหข์ ้อมูลและสถติ ิที่ใช้ในการวเิ คราะห์ ตอนท่ี 2 ถึงตอนที่ 4 ข้อมลู เก่ยี วกับการดำเนนิ กิจกรรมโครงการ ใช้สถิติคา่ เฉลย่ี และส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน นำเสนอในตารางประกอบการพรรณนาแบบความเรยี ง 2.2.4 สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล การหาคา่ สถิติพ้ืนฐานได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ยี และค่าสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานกล่มุ ประชากรมสี ูตรดังนี้ 1. คา่ ร้อยละ (Percentage) ใช้สตู ร P= f n เมื่อ P แทน รอ้ ยละ f แทน ความถท่ี ีต่ ้องการแปลงเป็นร้อยละ n แทน จำนวนความถที่ ั้งหมด
๔ 2. คา่ เฉล่ีย (Mean) หรือเรียกว่าค่ากลางเลขคณิต ค่าเฉลย่ี คา่ มัชฌิมเลขคณิต เป็นตน้ X = x n เมอื่ X แทน คา่ เฉลย่ี X แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดของกลมุ่ n แทน จำนวนของคะแนนในกล่มุ 3. ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เปน็ การวัดการกระจายท่นี ิยมใชก้ ันมากเขยี น แทนด้วย S.D. หรอื S S.D. = (X - X)2 n–1 หรอื S.D. = nX2 - (X)2 n(n – 1) เมื่อ S.D. แทน คา่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน X แทน ผลรวมของคา่ คะแนนท้ังหมด X2 แทน ผลรวมของกำลังสองของคะแนนแตล่ ะตวั n แทน จำนวนคนในกลุ่ม 2.3 เกณฑก์ ารแปลความหมาย การแปลความหมายข้อมลู โดยการคำนวณค่าเฉล่ียและค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานของข้อมลู แล้วนำค่าเฉลี่ยมาแปล ความหมายโดยประยุกต์ใชเ้ กณฑของ ประพัฒน์ จำปาไทย (2530:29-30) ดังน้ี กำหนดค่าคะแนนจากแบบสอบถาม เปน็ 5 ระดับ คอื ระดับ 5 หมายถึง มากทส่ี ดุ ระดับ 4 หมายถึง มาก ระดับ 3 หมายถงึ ปานกลาง ระดบั 2 หมายถงึ นอ้ ย ระดบั 1 หมายถงึ นอ้ ยทส่ี ุด ค่าเฉลยี่ 4.50 – 5.00 อยใู่ นระดับ มากทสี่ ุด คา่ เฉลย่ี 3.50 – 4.50 อยู่ในระดับ มาก ค่าเฉลีย่ 2.50 – 3.50 อยู่ในระดับ ปานกลาง ค่าเฉลีย่ 1.50 – 2.50 อยู่ในระดับ นอ้ ย คา่ เฉลย่ี 1.00 – 1.49 อยู่ในระดับ นอ้ ยทส่ี ดุ
๕ บทท่ี 3 ผลการดำเนินการ 3.1 ผลการดำเนนิ การตามวัตถุประสงคข์ องกจิ กรรม ประชาชนทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ จำนวน 13 คน มีความรู้ ความเขา้ ใจ ช่างพน้ื ฐาน และประชาชนทเี่ ขา้ ร่วม โครงการรอ้ ยละ ๘๐ สามารถนำความรู้ ทีไ่ ด้ไปประกอบอาชีพเสรมิ สร้างรายได้ใหต้ นเอง และครอบครัว 3.2 ผลการดำเนินงาน ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางท่ี 1 จำนวนรอ้ ยละของกลุ่มตัวอยา่ ง จำแนกตามเพศ ท่ี เพศ จำนวน(คน) รอ้ ยละ 1 ชาย 13 100 2 หญิง 0 0 13 100 รวม จากตารางที่ 1 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตวั อยา่ ง เป็นเปน็ เพศชาย จำนวน 13 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 ตารางท่ี 2 จำนวนรอ้ ยละของกลุ่มตัวอยา่ ง จำแนกตามอายุ ที่ อายุ จำนวน(คน) ร้อยละ 1 13-19 12 92.31 2 20-25 1 7.69 3 26-39 0 4 40-59 0 0 5 60 ปีข้ึนไป 0 0 13 0 รวม 100 จากตารางที่ 2 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอยา่ งส่วนใหญ่ มี อายุระหว่าง 13 - 19 ปี จำนวน 12 คน คิด เป็นร้อยละ 92.31 รองลงมา คืออายุระหว่าง 20-25 ปี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 7.69 ตาลำดบั
๖ ขอ้ มูลเกย่ี วกับการดำเนนิ กิจกรรมโครงการ S.D. ระดับ ตารางท่ี 3 ผลการประเมินโครงการ หลงั การดำเนินโครงการ ท่ี รายการ ตอนท่ี 1 ด้านเนอ้ื หาหลกั สตู ร 1. เนือ้ หาตรงตามความต้องการ 4.92 0.27 มากทสี่ ดุ 2. เน้อื หาเพียงพอต่อความต้องการ 5.00 0.00 มากที่สุด 3. เนื้อหาปัจจบุ ันทนั สมยั 4.85 0.36 มากที่สุด 4. เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ 4.92 0.27 มากทส่ี ดุ ชีวิต รวมเฉลย่ี 4.92 1.03 มากทส่ี ุด ตอนที่ 2 ด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม 1. การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 4.92 0.27 มากที่สดุ 2. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ 4.92 0.27 มากที่สดุ 3. การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 5.00 0.00 มากทสี่ ุด 4. การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย 4.92 0.27 มากทสี่ ุด 5. วธิ ีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ 4.92 0.27 มากทส่ี ุด รวมเฉลยี่ 4.94 0.37 มากทส่ี ุด ตอนท่ี 3 ด้านวทิ ยากร 1. วทิ ยากรมคี วามรู้ความสามารถในเร่ืองท่ถี า่ ยทอด 4.92 0.27 มากทส่ี ุด 2. วทิ ยากรมเี ทคนคิ การถา่ ยทอดใช้สือ่ เหมาะสม 4.85 0.36 มากทส่ี ดุ 3. วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนรว่ มและซักถาม 5.00 0.00 มากที่สดุ รวมเฉล่ยี 4.92 0.34 มากทส่ี ดุ ตอนที่ ๔ ความพงึ พอใจด้านการอำนวยความสะดวก 1. สถานที่ วสั ดุ อุปกรณ์และส่งิ อำนวยความสะดวก 4.92 0.27 มากทส่ี ุด 2. การสือ่ สาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กิดการเรียนรู้ 4.92 0.27 มากทส่ี ุด 3. การบริการ การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ัญหา 5.00 0.00 มากทส่ี ุด รวมเฉล่ีย 4.95 0.31 มากท่ีสุด เฉลีย่ รวมผลการประเมนิ ทั้ง 4 ขอ้ 4.93 มากทสี่ ดุ จากตารางที่ 3 ผูต้ อบแบบสอบถามมีความเห็นเก่ยี วกบั การจดั โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน วิชาชพี ชัน้ เรยี น ช่าง พ้ืนฐาน (ช่างเช่อื มโลหะ) หลกั สูตร 40 ช่วั โมง โดยผลการประเมินเฉลย่ี รวมอยู่ในระดับ มากทสี่ ุด มีค่าเฉล่ีย 4.93 เมอื่ พจิ ารณาทลี ะดา้ นพบว่า ตอนที่ 1 ดา้ นเนอื้ หาหลกั สตู ร ผลการประเมนิ เฉลี่ยอยใู่ นระดับ มากทส่ี ุด มคี ่าเฉลีย่ 4.92 เมอื่ พิจารณารายข้อ พบวา่ ข้อท่ีมีคา่ เฉล่ยี มากที่สุดคือ ข้อท่ี 2 เนือ้ หาเพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการ ผลการประเมินอยู่ในระดบั มากท่สี ดุ มีค่าเฉล่ีย 5.00 รองลงมาคอื ข้อที่ 1 เน้ือหาตรงตามความตอ้ งการ และข้อที่ 4 ผลการประเมนิ อย่ใู นระดบั มากทส่ี ุด ผลการประเมินอยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ มีคา่ เฉลี่ย 4.92 รองลงมาคือ ข้อที่ 3 เร่ืองเนือ้ หาปัจจบุ นั ทันสมยั มีค่าเฉลยี่ 4.85 ตามลำดบั
๗ ตอนที่ 2 ด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม ผลการประเมินเฉล่ยี อยใู่ นระดับ มากทีส่ ุด มีคา่ เฉลยี่ 4.94 เม่ือพจิ ารณารายขอ้ พบว่าข้อทมี่ ีค่าเฉล่ยี มากที่สุดคือ ขอ้ ท่ี 3 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลาผลการประเมินอยูใ่ นระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ยี 5.00 รองลงมาคือ ขอ้ ท่ี 1 การเตรียมความพร้อมกอ่ นอบรม ข้อที่ 2 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ ขอ้ ท่ี 4 การจัด กิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมาย และขอ้ ท่ี 5 วิธกี ารวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ผลการ ประเมนิ อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.92 ตามลำดบั ตอนท่ี 3 ดา้ นวทิ ยากร ผลการประเมินเฉลีย่ อย่ใู นระดับ มากทส่ี ุด มคี ่าเฉลยี่ 4.92 เมือ่ พิจารณารายข้อพบว่า ข้อที่ 3 วิทยากรเปดิ โอกาสให้มสี ่วนร่วมและซกั ถาม ผลการประเมินอยู่ในระดบั มากท่สี ุดมคี ่าเฉล่ยี 5.00รองลงมาคือ ข้อที่ 1 วิทยากรมคี วามรู้ความสามารถในเร่ืองที่ถา่ ยทอดผลการประเมนิ อยู่ในระดบั มากท่สี ุดมคี ่าเฉลี่ย 4.92รองลงมาคือ ข้อท่ี 2 วทิ ยากรมีเทคนิคการถา่ ยทอดใช้ส่ือเหมาะสม ผลการประเมินอยูใ่ นระดับมากท่สี ุด มีค่าเฉลยี่ 4.85 ตามลำดับ ตอนที่ ๔ ความพึงพอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก ผลการประเมินเฉลีย่ อยู่ในระดับ มากท่ีสดุ มีคา่ เฉลี่ย 4.95 เมอ่ื พจิ ารณารายข้อพบว่า ข้อที่ 3 การบริการ การชว่ ยเหลือและการแกป้ ัญหา ผลการประเมินอยูใ่ นระดับมากทสี่ ุด มีค่าเฉลย่ี 5.00รองลงมาคอื ขอ้ ที่ 1 สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสิง่ อำนวยความสะดวก และข้อที่ 2 การส่ือสาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือให้เกิด การเรียนรู้ ผลการประเมินอยู่ในระดบั มากทสี่ ุด มีคา่ เฉลยี่ 4.92 3.3 ประเมินผลการจัดการศกึ ษาตอ่ เนื่องจากการประเมินการจัดการศึกษาตอ่ เน่ือง ซ่งึ เกณฑ์การประเมินมี ทง้ั หมด 3 ขอ้ ซึ่งมผี ลการประเมนิ ดงั น้ี ตารางท่ี 4 ผลการประเมินการจดั การศึกษาต่อเนอื่ ง ลำดบั เลขประจำตวั ประชาชน ช่อื – สกุล 1. ความรู้ความ 2.ทักษะ 3.คุณภาพของ 4.ผลการ ระดับการ ท่ี เข้าใจในเนอ้ื หา การปฏบิ ตั ิ ผลงาน/ผลการ ประเมินรวม ประเมิน ปฏบิ ตั ิ(๔๐) (ผ่าน/ไม่ผา่ น) สาระ(๒๐) (๔๐) (๑๐๐) 37 ผา่ น 1 1168900025616 นายวรากร หาญกล้า 17 35 38 89 ผา่ น 35 38 90 ผา่ น 2 1209000217586 นายมงคลชัย บวั แสงใส 17 36 37 92 ผา่ น 35 37 89 ผ่าน 3 1349700330228 นายธวชั ชยั บวั ดก 18 35 37 89 ผ่าน 35 37 89 ผ่าน 4 1349700342391 นายพรี พล บญุ ล้อม 17 35 37 89 ผ่าน 35 37 89 ผ่าน 5 1349700309105 นายศิรศิ กั ด์ิ คำงาม 17 35 37 89 ผ่าน 35 37 89 ผ่าน 6 1349700301368 นายวีระศกั ดิ์ ภูคาม 17 35 37 89 ผา่ น 35 37 89 ผ่าน 7 1349901224221 นายอนวุ ัฒน์ ศรีจนั ดา 17 35 89 8 1349901237292 นายกิตติคณุ มงิ่ คำ 17 9 1103100849385 นายสมเกยี รติ์ สาโรจน์ 17 10 1349901292749 นายพนชั กร เหลีย่ มทอง 17 11 1347600002219 นายธนศกั ด์ิ ปัญญาภู 17 12 1349700294523 นายณัฐฐากรณ์ คำป้อง 17 13 1349700279001 นายอดศิ ักด์ิ แสนทวสี ุข 17 จากตารางท่ี 4 ผู้เข้าร่วมโครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน วชิ าชพี ช้ันเรยี น ช่างพ้ืนฐาน (ชา่ งเชื่อมโลหะ) หลักสูตร 40 ชว่ั โมง ณ กศน.ตำบลพิบลู กศน.อำเภอพบิ ูลมงั สาหาร จำนว 13 คน โดยผ่านการประเมนิ ร้อยละ 60 จำนวน 13 คน
๙ ภาคผนวก
๑๐ ภาพกิจกรรม โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน วชิ าชพี ชั้นเรียน ชา่ งพ้นื ฐาน (ช่างเช่ือมโลหะ) หลักสูตร 40 ชว่ั โมง ณ กศน.ตำบลพบิ ลู กศน.อำเภอพิบูลมังสาหาร วนั ท่ี 23 – 30 มถิ ุนายน ๒๕๖๔ วทิ ยากร แนะนำการใช้วัสดอุ ุกปกรณ์ วิทยากร แนะนำการใชว้ ัสดุอุกปกรณ์ วทิ ยากรสาธติ การการใชอ้ ปุ กรณ์ วิทยากรสาธติ การการใชอ้ ุปกรณ์ ผู้เรยี นลงมอื ปฏิบัติ ผูเ้ รียนลงมอื ปฏิบัติ
๑๑ ภาพกิจกรรม โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน วชิ าชพี ช้นั เรยี น ชา่ งพื้นฐาน (ชา่ งเชื่อมโลหะ) หลักสูตร 40 ชัว่ โมง ณ กศน.ตำบลพบิ ูล กศน.อำเภอพิบลู มงั สาหาร วนั ท่ี 23 – 30 มถิ ุนายน ๒๕๖๔ ผูเ้ รยี นลงมือปฏิบตั ิ ผ้เู รยี นลงมือปฏิบัติ ผเู้ รยี นลงมอื ปฏบิ ัติ ผเู้ รยี นลงมือปฏิบตั ิ ผลงาน ผลงาน
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: