Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้โปรแกรมตารางงาน

ใบความรู้โปรแกรมตารางงาน

Published by tamcomed50, 2020-11-11 17:19:45

Description: ใบความรู้โปรแกรมตารางงาน

Search

Read the Text Version

ใบความรู วิชาโปรแกรมตารางงาน (Schedule program) รหสั วชิ า 20204 – 2103 2–2-3 จดุ ประสงครายวิชา เพอ่ื ให 1. เขาใจหลกั การทาํ งานของโปรแกรมตารางงาน 2. เขาใจเกี่ยวกับสว นประกอบเครอื่ งมือของโปรแกรมตารางงาน 3. สามารถใชเ ครือ่ งมอื และคําส่ังของโปรแกรมตารางงาน 4. สามารถใชส ูตรคํานวณและฟง กชันตาง ๆ Pivot Table Macro ของโปรแกรมตารางงาน 5. มีเจตคติและกิจนสิ ยั ทดี่ ีในการปฏบิ ัติงานคอมพิวเตอรดวยความละเอยี ดรอบคอบ และถกู ตอง สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรเู ก่ียวกบั หลักการทํางานของโปรแกรมตารางงาน 2. แสดงความรูเกี่ยวกบั หลักการการใชเ คร่ืองมือของโปรแกรมตารางงาน 3. ใชเ คร่ืองมือและคําส่ัง เพื่อจัดการเกี่ยวกับตารางทําการ 4. สรปุ จัดทาํ รายงาน และแสดงผลขอมลู ในรูปตารางและแผนภูมติ ามลักษณะงาน คําอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติเกยี่ วกับหลักการทํางานของโปรแกรมตารางงาน หลักการใชเ ครอ่ื งมอื และคําสง่ั ของโปรแกรมในการ สรา ง แกไ ขและตกแตงขอมูล จัดการเก่ียวกบั ไฟลขอมูล การใชส ูตรคํานวณและ ฟง กชันตาง ๆ การสรา งรายงานในรปู แผนภูมิ และตารางวิเคราะหขอมูล Pivot Table Macro และการพิมพ เอกสารทางเครอ่ื งพิมพ

หนว ยที่ 1 ความรทู ว่ั ไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอรกับงานบญั ชี  ความรูท ่ัวไปเกย่ี วกบั คอมพิวเตอรก บั งานบญั ชี ในสภาพการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีท่ีรวดเร็วและการแขงขันทางธุรกิจที่เกิดขึ้นอยางมากมาย ธุรกิจจะตองมี ระบบขา วสารขอมูล ตลอดจนการประมวนผลท่ีรวดเร็วทันตอการใชงาน เพื่อใหการตดั สนิ ใจของผูบริหารเปนไปอยางถูกตอง และทันตอเหตุการณ ซึ่งเปนส่ิงท่ีทุกคนตางตระหนักดีวา ความรูดานคอมพิวเตอร เปนปจ จัยสําคัญอยางหนึ่งท่ีจะชวยแกไข ปญ หาในดานระบบขา วสารท่ีรวดเร็ว ถกู ตอ งและทนั ตอ การใชงาน ในการจัดทําบญั ชีดวยระบบคอมพวิ เตอรห รือการจัดทาํ บัญชีดวยระบบมือ ผจู ัดทําบัญชีตอจดั ทําตามหลกั การบญั ชีท่ี รับรองโดยท่ัวไป (GENERALLY ACCEPTED ACCOUNTING PRINCIPLES:GAAP) เน่ืองจากหลักการบัญชีไมไดขึ้นอยูกับ เทคโนโลยีท่ีเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การจัดทําบัญชีจะบันทึกตามหลักการและมาตรฐานการบัญชี การบันทึกบัญชีดวย คอมพวิ เตอรจ ึงนาํ เทคโนโลยเี ขา มาชวยในการประมวลผลทําใหก ารบนั ทึกบญั ชเี ปนไปอยา งรวดเรว็ และมขี อผิดพลาดนอ ยลง 1.1 ความหมายและความสามารถของคอมพิวเตอร 1.1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอร มาจากรากศัพทวา COMPUTARE อันหมายถึง การนับหรือการคํานวณ แตปจจบุ นั มีการใหค วามหมาย อยางกวางขวาง เชน คอมพิวเตอร คืออุปกรณที่ประมวลผลขอมูลใหเปนขาวสาร ภายใตการควบคุมของโปรแกรมที่เก็บไว ภายในเครื่อง (STORED PROGRAM) หรือคอมพิวเตอร คืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสท่ีมีความสามารถในการรับขอมูลไปเก็บไว ภายในหนว ยความจาํ ดงั น้นั จงึ สรปุ ไดวา คอมพิวเตอร (COMPUTER) คือ อปุ กรณท างอเิ ล็กทรอนิกสท ช่ี ว ยปฏบิ ตั ิงานทเ่ี กี่ยวกับการคํานวณ ไดอยางรวดเร็ว ผลลัพธที่ตองการออกมาในรูปแบบตางๆ มีความถูกตองแมนยําสูง เชน การจัดเก็บขอมูล การเรียงลําดับ ขอมูล การคํานวณ การเปรียบเทียบ การวิเคราะห การแสดงผลลัพธของขอมูล โดยจะตองทาํ งานควบคกู ับโปรแกรมอ่ืน ๆ เครื่องคอมพิวเตอรแตละประเภทจะมีความสามารถที่แตกตางกันกันไป ซึ่งคอมพิวเตอรรุนใหมท่ีออกมาจะมีประสิทธิภาพ มากกวา รนุ เดิม ดงั น้นั จึงเปน สาเหตทุ ธี่ รุ กิจจาํ เปน ตองนําคอมพวิ เตอรเ ขา มาใชเ พื่อใชง านตาง ๆ 1.1.2 ความสามารถในการทาํ งานของคอมพวิ เตอร 1) บนั ทึกขอ มูลไดด ี ถูกตอ งและมีประสทิ ธิภาพ 2) ลดความผิดพลาดของการปฏิบัติงานในการบนั ทึก 3) ทาํ งานซ้าํ ๆ กันได หากมขี อมูลเปนจาํ นวนมากในการประมวลผล 4) เก็บรวบรวมขอมูลไดปรมิ าณมหาศาลและสามารถเรียกใชข อมลู ไดรวดเรว็ 5) ชวยในการตดั สนิ ใจใหก ับผบู ริหารไดเปนอยางดี 6) ประมวลผลดวยความเรว็ สงู และมคี วามแมนยาํ สูง 7) ทํางานตามคาํ สงั่ ไดอยา งถูกตอง เชือ่ ถอื ได

1.2 องคป ระกอบของระบบคอมพวิ เตอร 1.2.๑ ซอฟแวร (SOFTWARE) ไดแ ก ชดุ คาํ สั่งหรือโปรแกรมท่จี ัดเตรียมขึ้น เพื่อควบคุมอุปกรณตาง ๆ ของ คอมพิวเตอรท ่ีทํางานตามผใู ชตองการ ซอฟตแ วรแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ๑) ซอฟตแวรร ะบบ(SYSTEM SOFTWARE) คอื ซอฟตแ วรทบ่ี ริษทั ผผู ลิตสรา งข้นึ มาเพื่อใชจัดการกับ ระบบ หนาท่ีการทํางานของซอฟตแวรระบบคือดําเนินงานพื้นฐานตาง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร เชน รับขอมูลจากแผงแปน อักขระแลว แปลความหมายใหคอมพิวเตอรเขาใจ นาํ ขอมลู ไปแสดงผลบนจอภาพหรือนาํ ออกไปยังเครือ่ งพิมพ จดั การขอมูลใน ระบบแฟมขอมูลบนหนวยความจํารองไมได การแสดงขอความออกทางหนาจอ เปนตน ซึ่งซอฟแวรระบบ ประกอบดวย ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกยอ ๆ วา โอเอส (OPERATING SYSTEM : OS) เปนซอฟตแวรใชในการดูแล ระบบคอมพิวเตอร เคร่ืองคอมพิวเตอรทุกเครื่องจะตองมีซอฟตแวรระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการท่ีนิยมใชกันมากและ เปนท่ีรูจักกันดีเชนดอส การควบคุมการทํางานของฮารดแวรใหกับซอฟแวรประยุกต ตัวอยาง MS-DOS UNI WNIX WINDOWS 95 WINDOWS 98 XP เปน ตน ระบบปฏิบัติการมีหนา ท่หี ลักๆ คือ • จัดการสว นประกอบตา ง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร เชนการประมวลผลกลาง หนว ยความจาํ ท่เี ก็บขอ มูลสํารองและ เคร่ืองพิมพ • จัดการในการสว นการตดิ ตอ กับผใู ช (USER LNTERFACE) • ใหบริการโปรแกรมประยุกตอื่น เชน การรบั ขอมูลจากการแสดงผล (2) ตวั แปลภาษาคอมพิวเตอร (TRANSLATOR) เปน ซอฟตแวรร ะบบท่ีหนาท่ีแปลภาษาคอมพิวเตอรที่โปรแกรมเมอรเขียนขึน้ เพ่ือทาํ ใหสามารถติดตอกับเครอ่ื งคอมพวิ เตอรอ่ืน ได โปรแกรมท่ีเขียนข้ึนจะเปนลักษณะเปนรหัส โดยโคตตามโครงสรางภาษาคอมพิวเตอรแตละประเภทมีหลักการเขียนไม เหมือนกัน เชนโปรแกรมระบบบญั ชีสาํ หรับธุรกิจขนาดยอม ซึ่งเขยี นจากภาษาวิชาวิเบสิก (VISUAL BASIC) ผูใชยังไมส ามารถ ใชงานไดจ นกวาจะผานกระบวนการแปลภาษา เพ่ือใหเคร่ืองคอมพิวเตอรต ิดตอกับระบบท่ีเขียนขึ้นได ซึง่ ตัวแปลภาษาบาออก ไดด ังน้ี • แอสเซมเบลอร (ASSEMBLER) เปนตัวแปลภาษาซ่ึงเปนภาษาระดับตํ่า (LOW-LEVELANGUANGE) ใชเปน ภาษาเครื่อง ซึง่ ตวั แปลภาษา แอสเซมเบลอรแ ตละตัวแตกตางกันขน้ึ อยกู บั ประเภทของคอมพิวเตอรท น่ี าํ มาใชงาน • อินเทอพรีเตอร (LNERPRETER) เปนตัวแปลภาษาระดับสูง (HIGH-LEVEL LANGUAGE) ใหเปนภาษาเครื่องที่ละ ประโยคคําสงั่ แลวเกดิ การปฏิบัตงิ านทันที กอนการแปลประโยคถดั ไป

• คอมไพเลอร (COMPILER) เปนตัวแปลภาษาระดับสูง (HIGH-LEVEL LANGUAGE) ใหเปนภาษาเครื่องโดยทําการ แปลท้ังโปรแกรม ซ่ึงจะเพ่ือบอกถงึ ข้ึนแสดงงขอความหนาจอภาพเพื่อบอกถึงขอผิดพลาดที่จะเกิดข้ึนและแกไขเพื่อใหโปรกรม ประมวลผลไดอ ยา งถูกตอง 2) ซอฟตแวรประยุกต (APPLICATION) เปนโปรเเกรมที่เขียนขึ้นเพ่ือตอบสนองความตองการของ แตล ะองคก รและสายงานวิชาชพี แบง ออก เปน 2 ประเภท คือ (1) ซอฟตแวรประยุกตทั่วไป (GENERAL SOFTWARE) วา งจําหนายเปนชุดรปู ซอฟตแวรประยุกตที่มีใชกัน ท่ัวไป คือ ซอฟตแวรสําเร็จ (PACKAGE) ซ่ึงซอฟตแวรสําเร็จเปนซอฟตแวรที่ใชกันสูงมาก ซอฟตแวรสําเร็จเปนซอฟตแวรที่ บริษัทพัฒนาข้ึนแลวนําออกมาจําหนาย เพื่อใหผูใชสามารถใชงานไดโดยตรง ไมตองเสียเวลาในการพัฒนาซอฟตแวร คอมพิวเตอร เชน โปรแกรมตารางคาํ นวณ โปรแกรมพมิ พง าน โปรแกรมนําเสนอ โปรแกรมจัดการฐานขอ มูล (2) ซอฟตแวรประยุกตเฉพาะงาน (APPLICATION SOFTWARE )เปนซอฟแวรท่ีพัฒนาขึ้นเพ่ือนําไป ประยกุ ตใ ชก ับงานขององคกรใดองคกรหนง่ึ โดยเฉพาะ ออกแบบและสรางข้ึนโดยผผู ลติ ซอฟแวรทมี่ ีความชํานาญในดานนัน้ ๆ หรือพัฒนาโดยฝายบุคลากรฝายคอมพิวเตอรขององคกรก็ได โดยผานการวิเคราะห ออกแบบ ลงมือ สราง และทดสอบ โปรแกรมใหสามารถทํางานไดถูกตองกอนจึงจะสามารถนํามาใชงานได เชน โปรแกรมคํานวณภาษีของประชาชน เปน ตน ซอฟตแวรประเภทนี้ เปนโปรแกรมสําหรับฝากถอนเงิน ของธนาคาร โปรแกรมกรชื้อต๋ัวรถไฟ โปรแกรมการชื้อตั๋ว เครือ่ งบนิ โปรแกรมสนิ คาคงคลงั เปนตน 1.2.3 บุคลากรทางคอมพิวเตอร (PEOPLEWARE) ไดแก บุคคลที่เก่ียวของกับการทํางานของเครื่อง คอมพิวเตอร มีหนาท่ีควบคุมคําสั่งในการทํางานของคอมพิวเตอรทํางานตามที่กําหนดไว บุคคลเหลานี้ ประกอบดวย นกั วิเคราะหระบบ ผูควบคมุ โปรแกรมระบบ ผเู ขียนโปรแกรมประยุกต ผบู นั ทกึ ขอมูล เปน ตน 1.3 การประมวลผลขอมูลการประมวลผลขอมูลหมายถึง การกระทําขอมูลใดขอมูลหนึ่ง เพื่อใหรูปแบบทีมีความ สวยงามมากขึ้น สามรถนําไปใชประโยชนไ ดมากข้ึน สิ่งท่ีไดมาจากการประมวลผล เรียกวา สาระสนเทศ (LNFORMATION) ขอมลู (DATA) สําหรับการประมวลผลดวยระบบมอื เปนวตั ถดุ ิบท่ีสาํ คญั ในการประมวลผล การประมวลผลขอ มูล แบงตามอปุ กรณได 3 ประเภท ไดแ ก 1.การประมวลผลดว ยมือ (MANUAL DATA PROCESSING) เปนวธิ กี ารทใ่ี ชมาตง้ั แตอ ดีตโดยการนาํ อุปกรณง ายๆ มา ชวยในการคาํ นวณ เชน ลูกคิด ปากกา ดินสอ เปนตน การประมวลผลแบบนี้เหมาะกับการคาํ นวณที่ไม ยุงยากซับซอ น ซ่ึงมกั พบในธุรกิจขนาดเล็กท่ีมีปริมาณขอมูลไมมากนักสํานักงานตาง ๆ เมื่อคํานวณเรียบรอยแรวจะเก็บขอมูลไวในแฟม เหมาะกับ งานปรมิ าณไมห นักมาก 2. การประมวลผลดวยระบบเคร่ืองจักร (MECHANICAL DATA PROCESSING) เปนวิวัฒนาการมาจากการ ประมวลผลดวยมือ แตยังตองอาศัยแรงงานคนในการทํางานรวมกับเครื่องจักรกลในการประมวลผล เชน เคร่ืองทําบัญชี (ACCOUNTING MACHINE)เคร่ืองเจาะบัตร เครื่องเรียงบัตร เครื่องจักรในการประมวลผลขอมูล เชนเครื่องทําบัญชี (ACCOUNTING MACHINE) เครอื่ งเจาะรกู ระดาษ เครื่องแปลงขอมลู 3.การประมวลผลดวยระบบคอมพิวเตอร (ELECTRONIC DATA PROCESSING : EDP) หมายถึงการนําคอมพิวเตอร มาใชในการประมวลผล สวนใหญมักจะใช กับขอมูลที่มีปริมาณมาก ตองการความถูกตองรวดเร็ว รวมท้ังงานท่ีมีการ ประมวลผลที่ยุงยากซับซอน การนําเอาคอมพิวเตอรซ่ึงประกอบไปดวยอุปกรณอิเล็กทรอนิกสจํานวนมากมาย มาใชในการ ประมวลผลขอมูลกําลังเปน ทีน่ ิยมและไดร ับความเช่ือถืออยา งมากในปจ จบุ นั ชึง่ เราอาจเรียกการประมวลผลโดยใชค อมพวิ เตอร น้ีวา การประมวลผลขอมูลแบบอิเล็กทรอนิกส (ELECTRONIC DATA PROCESSING: EDP)เน่ืองจากคอมพิวเตอรสามารถ ประมวลผลขอมูลจํานวนมาก และใหผลลัพธอยางรวดเร็วทันตอเหตุการณ ซึ่งนับเปนปจจัยสําคัญในการดําเนินธุรกิจและ

ระบบงานที่ตองอาศัยขอมูลในการวิเคราะห อางอิง และตัดสินใจ รวมท้ังโปรแกรมระบบงานตาง ๆ ก็ไดรับการพัฒนาเพ่ือ รองรบั การประมวลผลจาํ นวนมากไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ การประมวลผลดว ยระบบคอมพิวเตอร เเบงออกเปน 2 ระบบคือ 3.1 ระบบการประมวลผลแบบกลุม ระบบการประมวลผลแบบกลุม ( BATCH PROCESSING SYSTEM ) ระบบน้ีในการประมวลผล จะทําการรวบรวมขอมูลไวชวงระยะเวลาหนึ่งกอนท่ีจะนําขอมูลเขาประมวลผล โดยตองทําการ จดั แบง ขอมูลออกเปนกลุมๆ แลวสง เขาไปประมวลผลทเี ดียว หลังจากนั้นจึงสรปุ ผลท่ีได โดยเชน ระบบจัดทํารายการเงินเดือน ของพนักงาน ระบบการคิดดอกเบ้ียของธนาคาร ฉะนั้นจะเห็นไดวา การประมวลผลแบบนี้จะไมมีการโตตอบระหวางผูใชกับ เคร่อื งคอมพิวเตอรขอดี ทําใหไดข อมูลทีค่ รบถวน เสียคา ใชจ ายนอย เหมาะกบั งานที่ไมต องการความรวดเรว็ ของขอมลู ขาวสาร เพ่อื ใชใ นการตดั สนิ ใจ ขอ เสยี ขอ มูลขา วสารทไ่ี ดไ มท นั ตอการตดั สนิ ใจ 3.2 ประมวลผลทันที ( TRANSACTION-ORIENTED PROCESSING SYSTEM)ประมวลผลทันที ไมตองรอ รวบรวมสะสมขอมูล โดยการประมวลผลแบบนี้ การปอนขอมูลเขาเคร่ืองคอมพิวเตอรสามารถปอนจากที่ใดก็ไดท่ีมีอุปกรณ ติดตอ กับหนวยประมวลลกลาง (CPU) โดยตรง เชน การฝาก - ถอน เงนิ ผา นทาง ATMเงนิ ดว ยระบบเครอ่ื งเอทีเอ็มการจองต๋ัว ขอ ดี ไดข อ มูลทนั สมยั เหมาะกบั งานทต่ี อ งการความรวดเร็วในการตัดสนิ ใจ ขอเสยี ตองใชคา ใชจ ายสงู ในการตดิ ตั้ง จัดหา วัสดุ อปุ กรณ 1.4 ขอดีและขอเสียของการประมวลผลดวยระบบมือและดวยระบบคอมพิวเตอร การประมวลผลดวยระบบมือและ ระบบคอมพิวเตอรเ ปนการสรุปการทํางานตามเปาหมายท่ีวางไว โดยการส่ังการตามวันเวลาที่กําหนด ซ่ึงกอนการประมวลผล สามารถจัดเตรียมลําดบั คนหาและการจดั เกบ็ ขอ มลู จํานวนมากไดด งั นี้ 1.5 ขอ แตกตา งของการทําบัญชีดว ยระบบมอื และระบบคอมพวิ เตอร การเปรียบเทียบการจดั ทาํ บัญชที ั้ง 2 ระบบ เพอื่ ใหผ ใู ชนาํ มาพิจารณาในการเลอื กใชง านไดอยา งเหมาะสม สามารถสรปุ ขอแตกตางไดด งั ตารางท่ี 1.1 ตัวอยาง 1.1 ขอ แตกตา งของการทาํ บญั ชดี ว ยระบบมือและระบบคอมพวิ เตอร

1.6 ประโยชนของคอมพิวเตอรกับงานบัญชี การนําคอมพิวเตอรมาใชกับงานบัญชี ชวยทํางานดานเอกสาร การจัดเก็บ การบันทึกขอมูล และการนําเสนอขอมลู ทางการเงนิ มีความถูกตอง นาเช่อื ถอื ตรวจสอบไดทันตอความตองการของผบู ริหาร จึงสรปุ ไดดังนี้ 1. ลดความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน การทําบัญชีดวยระบบมืออาจเกิดการทําการผิดพลาด เชน การทึก รายการ สองดานไม เทากัน การผานรายการกับสมุดรายวันข้นั ตนไปแยกบัญชีทว่ั ไปไมถูกตองเปน ตน การใชคอมพิวเตอรใน การจดั ทําบัญชีจะลดขอ ผดิ พลาด เพราะกระบวนการทํางานของโปรแกรมจะมีโครงสรา งละรูแบบท่ีทาํ ใหตรวจสอบขอผิดพลาด ไดง า ย 2. ลดปญหาการจัดเก็บเอกสารรายงานตางๆ จากขั้นตอนการทํางานท่ีลดลง สําเนาเอกสารอาจทําไม จาํ เปนตองใหหลายใบ กอ นการออกรายงานตา ง ๆ สามารถตรวจสอบความถูกตอง รวมท้ังสามารถออกรายงานเฉพาะรายงาน ที่จําเปน เทาน้ัน จึงชว ยลดปรมิ าณกระดาษ 3. สามารถสืบคนหาขอมูลไดอยางรวดเรว็ และเก็บขอมูลไดปริมาณมาก เนื่องจากมกี ารจัดเก็บขอมูลอยาง เปนระบบ โปรแกรมจึงตองเปนการสืบคนขอมูลที่ตองการไดอยางรวดเร็วจากฐานขอมูล เชน ขอมูลลูกหน้ี ขอมูลเจาหนา ที ขอมูลสินคาคงเหลอื เปน ตน 4. สามารถทํางานตามคําสั่งไดอยางถูกตอง นาเชื่อถือ คอมพิวเตอรมีโปรแกรมตางๆ ที่สามารถชวยทําให ผทู ําบัญชไี ดทาํ งานอยางมีประสิทธิภาพ 5. เพมิ่ ประสิทธภิ าพในการประมวลผล การนําคอมพวิ เตอรนํามาใชท ําใหล ดขนั้ ตอนในการทํางานเชน การ ผานรายการ การจัดทํางบทดลอง การประมวลผลขอมูลทําไดรวดเร็ว ถูกตองมีความแมนยําสูงและทันตอการใชงาน และ สามารถทําการประมวลผลเวลาใดกไ็ ดทมี่ คี วามจําเปนตอ งใชรายงาน 6. ชวยในการตัดสินใจของผูบริหารไดเปนอยางดี หากตอ งการทราบผลการดําเนินงานของกิจการสามารถ นําเสนอขอมูลไดห ลากหลายรูปแบบ 7. เพมิ่ ประสิทธภิ าพในการแขงขนั งานบางประเภทตองการความรวดเรว็ ในการทําดวยมผี ลตอรายไดของ กิจการ ดังนั้นการนาํ โปรแกรมทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพมาใชใ นการทํางานยอมไดเ ปรียบคแู ขง

หนวยที่ 2 ความรูพืน้ ฐานการใชโ ปรแกรมตารางงาน  ความรูพื้นฐานเก่ยี วกบั โปรแกรมตารางงาน (MICROSOFT EXCEL) โปรแกรมตารางงาน คือโปรแกรมประเภทสเปรทชีต ซึ่งโปรแกรมที่นิยมใชกันคือท่ัวไป คือ โปรแกรม MICROSOFT EXCEL เพื่อทําการสรางเวิรกชีตตาง ๆ ขึ้นมาใชง านน้ัน เรามคี วามจําเปนตอ งรูถึง วิธีการเรยี กใชงานโปรแกรม สวนประกอบของหนาจอโปรแกรม การทํางานกับเวิรกบุก และเวิรกชตี การใชงานเมนูและแถบเครื่องมือ ตลอดจนการออก จาก โปรแกรม MICROSOFT EXCEL อยางถูกวิธีทําใหผูใชงานสามารถใชงานโปรแกรม MICROSOFT EXCEL ไดอยางมี ประสทิ ธภิ าพ 1. ลักษณะทั่วไปของโปรแกรม EXCEL โปรแกรมตารางงาน หรอื โปรแกรมสเปรดชีต (SPREAD SHEET) หรอื ตาราง คํานวณ อิเล็กทรอนิกส เปนโปรแกรมท่ีอํานวยความสะดวกในการทํางานเก่ียวกับการคํานวณขอมลู แสดง ขอมูลในลักษณะ เปนคอลมั น หรือเปนชองตาราง ซ่ึงเราสามารถบนั ทึกขอมูลตาง ๆ โดยสวนมาก มักจะเปน ตัวเลขลงในตารางสี่เหล่ียมที่แบง ออกเปนชองเล็ก ๆ มากมาย เรียกวา เซลล (CELL) พรอม ท้ังสามารถใสสูตรลงในเซลลบางเซลลเพื่อใหโปรแกรมทําการ คํานวณหาผลลัพธจากขอมูลที่โปรแกรม EXCEL ชวยใหเราคาํ นวณตัวเลขในตารางไดง าย ๆ ตั้งแตคณิตศาสตรข้ัน พ้ืนฐานไป จนถึงสูตรทางการเงินที่ซับซอน และเรายังสามารถใช EXCEL ในการจัดกลุมขอมูล วิเคราะหขอมูล สรางรายงาน และสราง แผนภูมไิ ดอ ีกดวยโปรแกรม EXCEL มีประโยชนกับผูคนแทบทุกสาขาอาชีพ ไมวาจะเปนบัญชี ซงึ่ สามารถนํา EXCEL มาชวย คาํ นวณรายรับรายจา ยและงบการเงินได นกั วเิ คราะหการตลาด ท่ีจะนาํ EXCEL มาชว ยในการสรปุ ขอมูลแบบสอบถามจํานวน มาก ๆ วศิ วกรทส่ี ามารถนําขอมูลจากการ ทดลองมาให EXCEL สรา งเปน แผนภูมิลงในรายงานของตนเองไดง าย ๆ นักวางแผน สามารถทดลอง ไดวาจะเกิดเหตุการณอะไรถาตัวแปรบางตัวเปล่ียนไป แมกระท่ังครูอาจารยก็ยังสามารถคํานวณ เกรดของ นักศกึ ษาไดดว ย และนอกจากท่ีกลาวแลว EXCEL ก็ยงั สามารถประยกุ ตใ ชก ับงานอืน่ ๆ ได อีกมากมาย 2. คณุ สมบตั ขิ องโปรแกรม EXCEL โปรแกรม EXCEL มคี ุณสมบัติ ดงั ตอไปนี้ - สรา งและแสดงรายงานของขอ มลู ตัวอกั ษร และตัวเลข โดยมคี วามสามารถในการ จดั รปู แบบใหส วยงามนาอา น เชน การกําหนดสีพื้น การใสแรเงา การกําหนดลกั ษณะและสีของเสนตาราง การจัดวางตําแหนงของตัวอักษร การกําหนดรูปแบบ และสีตวั อกั ษร เปนตน

- อํานวยความสะดวกในดานการคํานวณตาง ๆ เชน การบวก ลบ คูณ หารตวั เลข และยังมีฟงกชั่นท่ีใชในการคํานวณ อีกมากมาย เขน การหาผลรวมของตัวเลขจํานวนมาก การหาคาทางสถิตแิ ละการเงิน การหาผลลัพธข องโจทยทางคณิตศาสตร เปนตน - สรางแผนภูมิ (CHART) ในรูปแบบตาง ๆ เพื่อใชในการแสดงและการเปรียบเทียบขอมูลไดหลายรูปแบบ เชน แผนภูมคิ อลมั น (COLUMN CHART หรอื BAR CHART) แผนภูมเิ สน (LINECHART) แผนภูมวิ งกลม (PIE CHART) ฯลฯ - มีระบบขอความชวยเหลือ (HELP) ท่ีจะคอยชวยใหคําแนะนํา ชวยใหผูใชสามารถทํางานไดอยางสะดวกและรวดเรว็ เชน หากเกิดปญหาเกี่ยวกบั การใชงานโปรแกรม หรือสงสยั เก่ียวกับวธิ กี ารใชงาน แทนทีจ่ ะตองเปดหาในหนังสือคูมือการใชงาน ของโปรแกรม กส็ ามารถขอความชว ยเหลือจากโปรแกรมไดทนั ที - มีความสามารถในการคนหาและแทนท่ีขอมูล โดยโปรแกรมจะตองมี ความสามารถในการคนหาและแทนที่ขอมูล เพือ่ ทาํ การแกไ ขหรอื ทําการแทนท่ีขอมูลไดส ะดวกและรวดเร็ว  การเขา สูโ ปรแกรม MICROSOFT EXCEL 1. คลกิ ท่ีปุม START 2. เลื่อนเมาสไปชค้ี าํ สัง่ ALL PROGRAM 3. เลอ่ื นเมาสไปที่ MICROSOFT OFFICE 4. เลือ่ นเมาสไปที่ MICROSOFT OFFICE EXCEL คลกิ  สว นประกอบของโปรแกรม - ปุม เรียกวา “OFFICE BUTTON” แสดงเมนูท่ีใชจั ดการไฟลท่ัว ไป เชน NEW, OPEN, SAVE AS, PRINT และ PUBLISH เปน ตน - QUICK ACCESS TOOLBAR แสดงปุมคําส่ังท่ีใชบอยๆ โดยคาเริ่มตนจะแสดงเคร่ืองมือ SAVE,UNDO , และ REDO ซึ่งเราสามารถกาํ หนดเครอ่ื งมือในสว นนี้เองได - TITLE BAR แสดงชื่อเวริ กบุคท่ใี ชงานอยแู ละชือ่ โปรแกรม ในทีน่ ี้คือ MICROSOFT EXCEL - RIBBON เปนกลุมคาส่ังท่ีเก็บเคร่ืองมือออกเปนหมวดหมู โดยแสดงเปนแทบ็ แทนที่การเรียกใชเมนูคาสง่ั ตา ง ๆ ใน เวอรช ่ันกอ น ๆ

- CONTEXTUAL TABS เปน แท็บพเิ ศษที่จะแสดงเม่อื ใสออบเจ็คลงในเวริ ก ชีต เชน เมือ่ แทรก WORD ART โปรแกรม จ ะ แ ส ดง DRAWING TOOL ด า น บ น แ ล ะ มี แ ท็บ FORMAT ที่ใ ช ส า ห รับ ตั้ง ค า WORD ART แ ส ด ง อ ยู ด า น ล า ง - WORKSHEET เปนแผนงานมลี กั ษณะเปน ตาราง สาหรบั พมิ พขอ ความ หรอื ตวั เลข โดยคาทีต่ ง้ั ไวเ ม่อื เขาใชโ ปรแกรม จะมี 3 SHEET คอื SHEET1, SHEET2 และ SHEET3 สามารถเพ่ิมจํานวนเวริ ก ชตี ในเวิรก บคุ ไดตามตอ งการ - VIEW SHORTCUTS ใชดูมุมมองเอกสาร โดยจะแสดงมุมมองของเอกสารในลักษณะตา งๆ - ZOOM และ ZOOM SLIDER เปนเครื่องมือยอ-ขยายหนาจอ โดยเลือกขนาดตามเปอรเซ็นตที่ตองการยอ-ขยาย หรือเล่ือนสไลเดอรทีเ่ คร่อื งมือ ZOOM SLIDER ตามความตองการ  การออกจากโปรแกรม MICROSOFT EXCEL 1. เลอื กเมนู FILE (แฟม ) 2 เลอื ก EXIT (จบการทาํ งาน) หรอื กดปมุ ท่ีมมุ บนขวาจอภาพ  การเรยี กใชงานโปรแกรม ไมโครซอฟทเอกซเซล ๒๐๐๗ การเรยี กใชงานหรือเขาสูโปรแกรมมวี ิธีปฏิบัติไดหลายวิธี ดังนี้ 1. การเรยี กใชง านโปรแกรม โดยการคลิกปุม START มีข้ัน ตอนดงั นี้ 1) คลกิ ปุม START คลิกเลอื ก PROGRAM 2) คลกิ เลือก MICROSOFT OFFICE 3) คลิกเลอื ก MICROSOFT EXCEL 2007 พบแทบ็ HOME เปน แท็บแรกเสมอ ดงั นีภ้ าพท่ี 2.3 2. INSERT (แทรก) เปนแท็บที่ใชสําหรับแท็บอ็อบเจ็กตหรือองคประกอบตาง ๆ ลงไปบนชีตงานเพ่ือใชอางอิง ประกอบขอมูลใหสมบูรณย่ิงขึ้น รวมถึงการเพ่ิมความสวยงามดวย เชน กราฟ รูปภาพ อักษรศิลป หัวกระดาษทาย กระดาษ สัญลักษณตา งๆ เปน ตน ดงั ภาพท่ี 2.4 3. PAGE LAYOUT (เคา โครงหนา กระดาษ) เปนแท็บทใ่ี ชป รบั แตง กาํ หนดขนาด ชุดสี ตลอดจนจัดเรียงสิ่งตาง ๆ บน หนาชีตงานใหเ ปนไปตามความตอ งการ เชน สีหรือแบบตวั อักษร การตง่ั คาหนากระดาษ พื้นหลงั สมุดงาน เปน ตน ดังภาพ ที่ 2.5

4. FORMULAS (สตู ร) เปนแทบ็ หลกั ทใี่ ชส ําหรับใสสูตรคาํ นวณและฟงชัน่ กส าํ เร็จรปู ตา งๆ ลงในเซลล โดยแยก ประเภทตามการใชงาน เชน ฟงชน่ั กก ารเงนิ ฟงชัน่ กเ ก่ยี วกับขอความ และฟงชนั่ กคณติ ศาสตร เปน ตน ดงั ภาพที่ 2.6 5. DATA (ขอมูล)ใชสําหรับติดตอขอมูลกับภายนอกโปรแกรม และทํางานกับขอมูลที่มีจํานวนมาก เพ่ือใหมีความ คลองตวั ในการใชงานท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้น เชน การเรียงขอ มลู การกรองขอมูลการจัดกลุมขอมูลแหลงขอมูลอ่ืนๆ เปนตน ดงั ภาพท่ี 2.7 6. REVIEW (ตรวจทาน)เปน แทบ็ ทรี่ วบรวมประโปชนหลายๆ อยา งเขาดวยกนั ซึง่ ประกอบดวยการตรวจสอบความ ถกู ตองของตัวสะกด การแปลภาษา การแท็กขอคิดเหน็ และการปองกันความปลอดภัยของชตี งาน ดงั ภาพที่2.8 7. VIEW (มุมมอง)ใชป รบั เปล่ียนมุมมองของชตี งานแบบตางๆ ใหเหมาะสมกับลักษณะการทาํ งานในขณะนน้ั เชน การ ยอ ขยาย การจดั เรียงหนา ตา งงาน การแยก การซอ นแผน งานหรือสมุดงานเปนตน ดงั ภาพท่ี 2.9  การทาํ งานของโปรแกรม MICROSOFT EXCEL 2010 ปุม OFFICE BUTTON เปนปมุ รวบรวมคาํ สัง่ พื้นฐาน เชน การสรา งสมดุ งานใหม การบนั ทกึ แฟมสมุดงาน การเปด ปด แฟม สมดุ งาน การพิมงานพ การปรับคา ตางๆ ใน EXCEL ดงั ภาพท่ี 2.10 2.4.1 การสรา งสมุดงานใหม เมอื่ เปด โปรแกรมขน้ึ มาทาํ งาน โปรแกรมจะสรา งสมุดงานข้ึนมาใหโดยอตั โนมตั ิ โดยต้งั ชอื่ วา BOOK1 หรือ สมดุ งาน 1 จะมีแผน งานอยูภายใน จํานวน 3 แผนงาน สามารถทาํ งานกบั สมุดงานดังกลา ว แตห ากตอ งการสรา งสมดุ งานใหม ใหคลิก แทบ็ เคร่อื งมือดว น (QUICK ACCESS)เลอื ก 1.คลกิ ที่ปมุ OFFCE BUTTON 2.เลือกคําสัง่ NEW (สรา ง)

3.เลือก BLANK WORKBOOK (สมุดงานเปลา) ตามขนั้ ตอนดงั ภาพ 2.11 2.4.2 การเปด แฟมสมดุ งาน หากตอ งการเปด แฟมสมุดงานเพื่อทาํ การแกไขหรือปอ นขอ มูลเพ่มิ เติม สามารถทําไดโ ดย 1.คลิกที่ปมุ OFFCE BUTTON 2.เลือกคาํ สั่ง OPEN (เปด ) 3.เลือกไดรฟห รอื โฟลเดอรทเ่ี ก็บไฟลเ อกสารในชองมองหาใน (LOOK IN) 4.คลกิ เลือกไฟลเ อกสารท่ตี อ งการ 5.คลิกปุม OPEN (เปด) ตามข้ันตอน ดังภาพท่ี 2.12 2.4.3 การบนั ทกึ แฟมสมุดงาน เมื่อทาํ การพิมพขอ มูลตางๆและตองการเก็บไฟลข อมลู ให 1.คลกิ ที่ปมุ OFFICE BUTTON 2.เลือกคําส่ังบันทึก (SAVE) หรอื บนั ทึกแฟมเปน (SAVE AS) บนั ทกึ ขอมลู เปน EXCEL 2003 จะมนี ามสกุล เปน .XLS หรอื EXCEL 2007และ EXCEL 2013จะมีนามสกลุ เปน .XLSX 3.เลอื กไดรฟห รือโฟลเดอรท่ตี องการ บันทกึ แฟม ในชองบันทกึ ใน (SAVE IN) 4.พิมพช ่อื แฟมสมดุ งานใชองทแ่ี ฟม (FILE NAME) ซ่งึ ในการต้ังชื่อแฟม สามารถตัง้ ช่อื ไดย าวทส่ี ุด 255 ตวั 5.คลิกปุม บนั ทกึ (SAVE) ตามข้ันตอน ท่ี 2.13 2.4.4 การปดแฟมสมดุ งาน หากไมจาํ เปนตองใชง านกับแฟม สมุดงานนั้นอีก ควรปดแฟม เพอ่ื ใหพ น้ื ที่ในหนว ยความจําวาง จะไดใชงานกับงานอื่นๆได เพิ่มมากข้ึน การปด แฟมสมดุ งานทาํ ไดโดย 1.คลิกท่ีปมุ OFFICE BUTTON 2.เลือกคําสงั่ ปด (CLOSE) ตามขั้นตอนดังภาพ ท่ี2.14 2.4.5 การจักเตรียม การกําหนดรหัสผานในการใชงานเอกสารในสมดุ งาน เพือ่ เพิม่ ความปลอดภัยในการเขา ใชงานโดย 1.คลิกท่ีปุม OFFICE BUTTON 2.เลือกคาํ สง่ั PROTECT WORKBOOK (จดั เตรยี ม) 3.เลอื ก ENCRYPT WITH PASSWORD (เขารหสั ลับเอกสาร)จะปรากฏกรอบขอความ ENCRYPT DOCUMENT 4.พมิ พ PASSWORD (เขา รหัสผาน) ทตี่ องการแลว คลกิ ปุม OK

5.ทาํ การ REENTER PASSWORD (ยืนยนั รหัสผา น) อกี ครั้ง แลวคลกิ ปมุ OK หากตองการยกเลกิ ใหเขาไปลบรหัสผานแลว คลิกปุม OK ดงั ภาพท่ี 2.15 2.4.6 การจัดการแผนงาน เม่ือเปดสมุดงานขนึ้ มาจะมีแผนงาน (SHEET) อยูภายในซึง่ สามารถทํางานและจัดการกบั แผน งาน (SHEET) ไดด งั น้ี 1.การเลือกแผนงาน ถาภายในสมุดงานมแี ผน งานอยหู ลายแผนงาน เมื่อตองกาทาํ งานกับแผน งานใดจะตองทาํ การเลอื กแผน งานนน้ั กอน หากตอ งการเลือกหลายๆแผน งานทีไ่ มต ิดกัน ใหก ดปุม CTRL คางไว แลวเลอื กแผนงานท่ตี อ งการ 2.การเปลีย่ นช่อื แผน งาน หากผใู ชตอ งการเปล่ยี นช่ือแผนงานใหม ใหด ับเบล้ิ คลิกที่ปา ยชือ่ แผนงาน หรอื ใชขัน้ ตอน 1.คลิกขวาท่ปี ายชื่อแผน งานท่ตี อ งการเปล่ียนชือ่ 2.เลอื ก RENAME (เปล่ียนชอื่ ) จะปรากฏแถบสดี าํ พิมพช อื่ ใหมแทนที่ไดทันที เชน SHEET 3 เปลย่ี นชอ่ื เปน ใบกํากับ ภาษี เปน ตน ดังภาพที่ 2.16 3.การแทรกแผนงาน หากตองการเพมิ่ แผนงานใหเ ล่อื นเมาสไปยังตาํ แหนง SHEET TAB ท่ตี องการแทรก 1.คลิกเมาสขวา 1 ครัง้ ตรงทต่ี องการแทรกชีต 2.เลอื ก INSERT (แทรก)เลอื ก WORKSHEET(แผนงาน) หรือคลิกเมาสท ี่แผน งานสดุ ทาย ดงั ภาพท่ี 2.17 4) การยายและการตัดคัดลอกแผน งาน 1. การยา ยแผน งานไดแ ก การยายแผน งานในสมุดงานเดียวกันทต่ี อ งการยายงาน 2.ลากเมาสยา ยแผน งานไปตําแหนง ท่ตี อ งการ 3.ปลอยเมาสที่คา งในตําแหนงทีต่ อ งการตามขัน้ ตอน ดังภาพท่ี 2.18

(2) การคัดลอกแผนงาน ไดแก การคดั ลอกแผน งานายในสมุดงาน เดียวกันและคดั ลอกแผนงานขา มสมดุ งาน โดยคลกิ เลอื ก แผนงานท่ตี องการคดั ลอก 1. คลิกเมาสขวาทช่ี ่อื แผน งาน 2. เลือกคําส่งั MOVE OR COPY 3. เลอื กช่อื สมดุ งานใหม แลววางขอ มลู ทีค่ ัดลอก 4. คลิกเคร่อื งหมาย CREATE A COPY 5.คลกิ ปุม OK ตามขนั้ ตอน ดงั ภาพท่ี 2.19 5.)การลบแผนงาน หากแผนงานใดไมตองการใชง านแลว และตอ งการลบแผนงานน้นั ออกจากสมุดงานสามารถทาํ ไดโ ดยการ เลอื กแผน งานท่ตี องการลบ 1. คลกิ เมาสขวาช่ือแผนงานที่ตองการลบ 2.เลอื กคําสงั่ DELETE (ลบ) 3 คลกิ ปุม DELETE เพือ่ ยนื ยนั การลบ ดังภาพท่ี 2.20 6) การแบงหนาตางแผน งาน การแยกหนาตา งแผน งานออกเปนสว นๆ จะชวยใหสามารถทํางานไดส ะดวกและรวดเร็วขึน้ โดยเฉพาะในการปอนขอมูลท่ีมจี าํ นวนมาก การดขู อ มลู ทอ่ี ยหู างไกลกนั อาจทาํ ใหไมสะดวกและเสียเวลา การแยกหนา ตา ง ออกเปนสวนๆ จะชว ยในการเลื่อนตาํ แหนงเปน ไปอยางรวดเรว็ โดย 1. นาํ เมาสไ ปวางไวในเซลลที่ตองการแยก 2. เลือกแท็บ VIEW (มุมมอง) 3. คลกิ ปุม SPLIT (แยก) 4.จะปรากฎเสนแบงหนาตา งแผนงานเปน 2 สวน ทาํ ตามขนั้ ตอน ดงั ภาพ ที่ 2.21 7) การตรึงแนวบนแผนงานถาขอมลู ในแผนงานมจี ํานวนมากเม่ือตอ งการเพ่มิ หรอื ปรบั ขอมูลจะตอง เลอ่ื นหนา จอข้นึ ลง หรือ เล่ือนไปทางซา ย หรือขวา ทาํ ใหไ มส ามารถเหน็ หวั เร่อื งหรือขอ ความทเ่ี ก่ียวของในเซลลท่ีตอ งการ เชน ชื่อบคุ คล แผนก ฝาย เปน ตน เพื่อใหไ มส ามารถเหน็ ขอ มูลสว นท่จี ําเปนจึงแกป ญหานีไ้ ดดวยการตรงึ แนวขอมลู บนแผน งาน ทาํ ใหแถวหรอื คอลัมนน น้ั ไมถ ูกเลือ่ นไปดว ยในขณะทเี่ ล่ือนดูขอมลู อื่นๆ การตรงึ แนวมี 2 ลักษณะ คอื 1.การตรึงแถวบนแผน งาน 2. การตรึงคอลัมนบ นแผนงาน การตรงึ แนวท้ังสองลักษณะมีลาํ ดับขนั้ ตอนดงั นี้ 1.นําเมาสไปวางไวทแี่ ถวหรือคอลมั นถ ดั ไป แลวเลือกตรึงแนว 2. เลือกแท็บ VIEW (มุมมอง)

3.คลกิ เลือก FREEZE PANES (ตรงึ แนว) 4. สวนทีถ่ ูกตรึงจะแสดงขอมูลอยูต ลอดเวลา เชน ตองการใหแสดงขอมลู คอลัมน B แถวท่ี 5 ตอ งนําเมาสไปวางไวที่ คอลมั น C แถวที่ 6 (C6) ขอมูลหลงั จากตรึงแนวจะแสดงขอมูล A1-B5 หรอื ทําตามข้นั ตอน ดงั ภาพที่ 2.22

หนว ยที่ 3 การจัดรูปแบบและการใชสตู รคาํ นวณ การจักการรปู แบบและการใชส ตู รคํานวณสาระสาํ คัญประจาํ หนว ย โปรแกรมตารางงาน หรือโปรแกรม MICROSOFT EXCEL 2013จัดเปนโปรแกรมประเภทตารางคาํ นวณ ท่ีใชสําหรับ จัดการขอมลู ที่เปนตัวเลข โดยสตู รในการคาํ นวณไมว าจะเปน สูตรคณติ ศาสตรพนื้ ฐานหรอื สตู รทางการเงินท่ีมีความซับซอน สามารถนาํ มาประยุกตใ ชในการบนั ทกึ บญั ชเี เละออกเอกสารตา งๆทางบญั ชีได การใชค ําส่งั ในการทํางานของโปรเเกรม MICROSOFT EXCEL 2013เชน การจดั รปู เเบบเซลล การคํานวณโดยใชส ตู รอยา งงา ย การใชฟ ง กช่นั การเชื่อมโยงขอมลู เปน ตน ทําใหการทาํ งานในเเตละสมดุ งานมีความสะดวกรวดเร็วเเละสามารถตรวจสอบความถกู ตอ งของขอมูลได 3.1 การจัดรปู แบบขอมูล การบนั ทึกขอมูลลงในเวบ็ ไซต ไมวาจะเปนตวั เลขหรือขอความ เมอ่ื ปอนขอมูลลงในเซลลหาก เปน ขอ ความจะแสดงชดิ ซายของเซลล ถา เปนตวั เลขจะแสดงชดิ ขวาของเซลล ดังน้นั ผใู ชจ ึงสามารถกําหนดหรอื ปรับรูปแบบใน การใชงานไดตามตองการ ซง่ึ โดยทว่ั ไปขอมูลทีป่ อนน้ันจะกําหนดใหเปน ขอมลู แบบท่วั ไป (GENERAL) 3.1.1 รปู แบบขอมูล การแสดขอมูลในเซลลมหี ลายประเภท ซงึ่ ข้ึนอยกู บั ความเหมาะสมของการใชง านที่แตกตางกนั ซึ่ง ในการจดั รูปแบบขอ มูลใหคลิกแท็บ HOME คลกิ เลือก คลิกแท็บ NUMBER จะปรากฏประเภทของการจัดรปู แบบขอมลู ดงั ตารางท่ี 3.1 ตารางท่ี 3.1 ประเภทของการจัดรูปแบบขอมลู รปู แบบ ความหมาย GENERAL รปู แบบขอ มูลท่วั ไปทีไ่ มไดระบเุ ฉพาะเจาะจง NUMDER กําหนดใหเ ปนขอมลู แบบตวั เลข สามารถเลือกแสดงเครอ่ื งหมายคน่ั ระหวางหลักพัน (ทกุ 3หลกั ) หรือไม แสดงก็ได แสดงคา ติดลบเปลย่ี นสีตวั อกั ษรเม่ือตดิ ลบและกําหนดจดุ ทศนยิ มได CURRENCY ตัวเลขมีเคร่ืองหมายสกุลเงนิ นําหนา มีเคร่อื งหมาย, ค่นั ทุก 3 หลกั และวางชิดขวาเซลล พรอมเรียงจุด ทศนยิ มใหพรอ มตรงกันเสมอ ACCONTING ตวั เลขมีการระบสุ กุลเงนิ มีการแสดงเครือ่ งหมายสกุลเงนิ นําหนา มเี คร่ืองหมาย , คัน่ ทกุ 3 หลักสามารถ กําหนดหลักทศนยิ มไดก ารวางแบบ ACCONTING ดว ยตวั เลขชดิ ขวาและเคร่ืองหมายสกุลเงนิ ชดิ ซา ย ของเซลลโดยอัตโนมตั ิ DATE แสดงขอ มลู แบบ วัน เดือน ป โดยสามารถแสดงแบบยอและแบบเตม็ TIME แสดงเวลาในรูปแบบตา งๆ PERCENTAGE ขอมูลท่ีแสดงเปนเปอรเ ซน็ ต FRACTION แสดงขอมูลเลขรูปแบบทางวิทยาศาสตร TEXT แสดงขอมูลเปน ตวั อักษร ถงึ แมจ ะใสต วั เลขเต็มกต็ าม SPACIAL เปน การแสดงขอมลู ลกั ษณะพิเศษมักใชกับฐานขอมลู เชน เบอรโทรศัพท รหสั ประจาํ ตวั รหัสไปรษณยี  เปน ตน โดยสามรถกรอกขอมูลตัวเลข ทที่ าํ ดว ยเลข 0 ได CUSTOM ขอ มูลพเิ ศษทส่ี ามารถกาํ หนดเพม่ิ เติมได

3.1.2 ขั้นตอนการปรับแตง เซลล ขนั้ ตอนในการปรบั แตงขอมูลใหมีความเหมาะสมกับความตองการ มีดังน้ี1. แดร็กเมาส เลือกเซลลทต่ี องการปรบแตง ขอ มูล2. คลิกแทบ็ HOME3. คลิกเลือก FORMAT CELLS(จดั รปู แบบเซลล) หรือปมุ ดังภาพ ท่ี 3.13 คลกิ เลอื ก FORMAT CELLS (จดั รปู แบบเซลล) (1) รูปแบบตวั เลข (NUMBER) เม่อื เลือก FORMAT CELLS (จัดรปู แบบเซลล) จากน้ันมีขน้ั ตอนดงั น้ี1) คลกิ แท็บ NUMBER เลอื กชอง CATEGORY คลกิ เลอื ก CURRENCY2) คลิกเลอื ก DECIMAL PLACEC (ตาํ แหนงทศนิยม) ตามท่ี ตอ งการและทํางานเลือกรูปแบบสกลุ เงนิ 3) คลกิ ปุม OK ดงั ภาพท่ี 3.2 ในขั้นตอนที่ 4-5 เมื่อคลิกแท็บ NUMBER จะเปน การจดั รูปแบบชนิดตางๆ ของขอมลู เชน รูปแบบวัน เดือน ป เปอรเ ซ็น สกลุ เงนิ ขอความพิเศษ เปนตน การจดั รูปแบบอื่นนัน้ เปน ตวั เลขที่ไมใ ชใ นคาํ นวณ กรณีถาตองการกรอกขอมูลหมายเลขโทรศพั ท เลขบัตรประจําตัวประชาชน ควรเลือกรปู แบบตัวเลขชนิดพเิ ศษ ดังภาพที่ 3.3 2) รูปแบบการจัดวางขอ ความ (ALIGNMENT) เม่อื เลือก FORMAT CELLS (จัดรูปแบบเซลล)1) คลิก แท็บ ALIGNMENT เลอื กชอ ง TEXT CONTROL2) คลิกเลอื ก WRAP TEXT (ตัดขอ ความ) หรอื เลอื กรปู แบบอืน่ 3) คลิก ปุม OK ดงั ภาพที่ 3.4

3.2 การสรา งแบบฟอรมทางบญั ชี กิจการท่ีใชโ ปรแกรม MICROSOFT EXCEL นน้ั สามารถใชโ ปรแกรมในการจัดทําเอกสาร การคา และแบบฟอรมทางบัญชีซึง่ ถกู ตองตามหลกั บัญชีท่ียอมรับโดยทัว่ ไป ซ่ึงใน การตเี สน ขอบใหคลิกแท็บ HOME คลกิ เลือก หรือคลกิ เมาสข วาเลอื ก FORMAT CELL เลือกแท็บ BORDER โดยมีขน้ั ตอนในการตีกรอบตารางแบบฟอรม ตา งๆ ดัง ภาพที่ 3.51. แดร็กเมาสเลือกเซลลต ารางที่ตองการปรบั แตง2. คลกิ ลกู ศรที่ ปมุ BORDERS (เสนขอบ)3. คลกิ เลือก MORE BORDERS(เสน ขอบอื่น)4. คลิก เลือก LINE STYLE (รปู แบบเสน) วาจะตเี สน คู เสน เด่ียว หรอื เสนประ5. เม่ือเลือก เสรตีแลว ใหนําเมาสมาคลกิ ตามกรอบ DIAGRAM หรอื คลิกทปี่ ุม BUTTON ที่ ตอ งการ6. คลกิ ปุม OK 3.3 การใชสูตรคาํ ควณ โปรแกรม MICEOSOFT EXCEL ใชในการคาํ นวณและทําการเช่อื มโยงขอมลู (LINK) ไดในชีตเดียวกนั ระหวางชีตหรือระหวางไฟล หลกั การทาํ งานที่สาํ คัญคือ ทุกชีต ทกุ ไฟลท ่ถี ูกเปด ขน้ึ มาใชงานพรอ มกนั ไมวากีช่ ีต ก่ีไฟลจะถือ เสมือนวา เปน เซลลที่อยใู นหนาเดยี วกัน เพยี งตาถูกแบงออกเปน ตางชตี หรอื ตางไฟล3.3.1 สูตรคาํ นวณแบบ FORMULA เปน สูตรคาํ นวณอยางงายไมซ บั ซอนโดยใชเครอื่ งหมายทางคณติ ศาสตร เชน +(บวก)-(ลบ) *(คูณ) /(หาร) และ ^(ยกกําลงั ) สตู ร คํานวณขึ้นตน ดว ยเคร่ืองหมาย = เสมอ ตามดว ยคาตัวแปร 2 หรอื มากกวา สองตวั แปร แตละตวั ถกู คั่นดว ยตวั ดาํ เนินการซึ่ง อาจจะปนคา คงที่ ขอความตาํ แหนง เซลล ชอ่ื เซลลห รือฟงกช่ันกไ็ ด โดยใชตวั ดาํ เนนิ การมาประมวลผลใหไดผ ลบนเซลลท่ีเลอื ก ไวตวั อยา ง =4*20 หมายถึง นาํ 4 ไปคูณกับ 20=A2*B2 หมายถงึ นําคาตัวเลขท่ีเกบ็ ในเซลล A2 ไปคณู กับคา ตัวเลขใน เซลล3 .3.2 สตู รคาํ นวณแบบ FUNCTION การสรา สตู รคาํ นวณดว ยฟง กช นั่ ในการคาํ นวณตางๆที่ไดออกเเบบเเละติดตัง้ มาใน โปรเเกรม EXCEL เรียบรอยเเลว 3.3.3 องคป ระกอบภายในสูตรคาํ นวณ1. ตัวควบคมุ คอื เครื่องหมาย ( ) ใชจดั ลาํ ดับกอนหลังของการดาํ เนนิ การ2. ตวั ดําเนินการ คือ คือเครื่องหมายทางคณิตศาสตรเพอื่ ใชในการคํานวณ เชน+ (บวก) - (ลบ) *(คุณ) / (หาร) และ ^(ยกกาํ ลัง) ดงั ภาพที่ 3.18-3.21 เครอ่ื งหมาย ความหมาย ตวั อยาง % เปอรเ ซนต 5% ^ เลขยกกาํ ลัง 4^3(หรือ4*4*4) * การคูณ 2*5 / การหาร 10/2 + การบวก 12+5 - การลบ 5-3 ตารางท่ี 3.3 ตวั ดาํ เนินการเปรยี บเทยี บ (COMPARISON OPERATORS) เคร่อื งหมาย ความหมาย ตัวอยาง

= เทากับ A1=C1 > มากกวา A1>C1 < นอยกวา A1<C1 ≥ มากกวาหรือ A1≥B1 เทา กบั ≤ นอยกวา หรอื A1≤B1 เทากบั <> ไมเ ทากับ A1<> B1 ตารางท่ี 3.4 ตวั ดาํ เนนิ การขอความ () เครอื่ งหมาย ความหมาย ตัวอยา ง & เชอ่ื มหรือคาํ นาํ 2 คาํ มาตอกันทําใหเ กดิ “การบญั ชกี บั & “คอมพิวเตอร คา ขอความตอเนอ่ื งที่เปนขอเดียว ผลลพั ธเปน การบัญชกี บั คอมพวิ เตอร ภาพท่ี 3.20 แสดงตวั อยา งการคาํ นวณ โดยใชต ัวดําเนินการการขอความ เคร่ืองหมาย ความหมาย ตัวอยาง : (โคลอน) ตวั ดําการชวง โดยอา งองิ เปนชวงระหวา ง B1:B5 , (จลุ ภาค) จดุ อา งองิ ทห่ี น่ึงกบั จดุ อา งอิงทสี่ อง (ชอ งวาง ตัวดาํ เนินการสวนรว ม ซึ่งเปนตวั รวมการ SUB(B1:B5,C1:C5) เดียว) อา งองิ หลายๆชดุ เขาดวยกัน ตัวดําเนนิ การสว นรวม ซ่ึงเปนตัวสรา งการ SUB(B1:B5 A5:D8) ในตวั อยางนี้ B5 , อา งอิงไปยังเซลลท มี่ ีอยใู นชวงการอา งองิ ท้งั B6 และ B7 อยใู นชว งของทัง้ สอง สองชดุ

3.4 การเช่ือมโยงขอ มลู 3.4.1 การเชอื่ มโยงขอมูลกบั สมุดงานเเบบยอน ปลายทางกลบั ไปหาตน ทาง 1. คลิกท่ี SHEET1 ของไฟล CARCATALOG ที่ตองการหาผลลัพธในการ คาํ นวณ คลกิ เลือกเซลลท ่จี ะใสส ูตร เเละพิมพเคร่อื งหมาย= 2. คลกิ ที่ SHEET CARPRICE ของไฟลเดียวกัน แลวคลิกเลือกเซลลทจ่ี ะ นํามาใสสตู ร 3. คลิกทหี่ นา ตางไฟล WORKSHEET อนื่ ทต่ี อ งการอางอิงมาใชในสตู ร เชน CARLIST (ตองเปดรอไวกอ น) 4. คลกิ ท่ี WORKSHEET ราคารถใหมของไฟล CARLIST แลวคลกิ เลอื กเซลลท ี่จะนํามาใชในสูตร 5. คลกิ ท่ี ENTER เพ่ือจบสตู ร แลวไดผลลพั ธจ ากการคํานวณ 3.4.2 ขอควรระวังในการรกั ษาสตู ร LINK 1. ตอ งเปดไฟลทกุ ไฟลที่ LINK กนั เสมอเพื่อให EXCEL จดั การแกไขสตู ร LINK ทีเ่ ซลลป ลายทาง 2. ตอ งบนั ทึกไฟลตนทางกอนไฟลป ลายทาง เพื่อใหสวนของสตู รในไฟลปลายทางสวนท่ีเปนชอ่ื ไฟลหรือชื่อโฟลเดอรท ่ีเกบ็ ไฟล ตนทางถกู แกไขตามชอื่ ไฟลตนทางใหมหรือช่อื โฟลเดอรใ หม ไมไดเ ปลย่ี นชือ่ ไฟลห รอื ยา ยโฟลเดอรจ ะทําการบนั ทกึ ไฟลใดกอ นก็ ได หนวยท่ี 4 การจัดทําบัญชีดวยโปรแกรมตารางงาน การจัดทําบัญชีดวยโปรแกรมตารางงาน สาระสําคญั ประจําหนว ย ในปจจุบันการนาํ โปรแกรม Microsoft Excel มาใชในการจัดทาํ บัญชี ไดรับความนิยมเปน อยา งมากเน่ืองจากกิจการ สวนใหญจะใชโปรแกรม Microsoft Office ในสํานกั งานอยูแลว เชน งานดา นการเงนิ การบญั ชี การจัดการขอมูลและการ นาํ มาเสนอขอ มลู ของธรุ กจิ ที่มีขนาดไมใ หญมากนัก ดังน้นั การประยุกตใชโ ปรแกรม Microsoft Excel กับงานบัญชีที่ เกีย่ วของกบั ขอมูลท่มี ปี ริมาณมาก ลักษณะของการทาํ งานเปน งานทีท่ าํ ซ้ําๆมีการคาํ นวณตัวเลขจงึ ทาํ ใหไมม ตี น ทุนแตอ ยาง ใด การจดั ทาํ บัญชดี ว ยโปรแกรม Microsoft Excel สามารถจัดทําไดค รบกระบวนการทางบญั ชีทกุ ขน้ั ตอน ตั้งแตการบนั ทึก รายการในสมดุ รายวันขน้ั ตน ผา นรายการไปบัญชแี ยกประเภททัว่ ไป จัดทาํ งบทดลองและงบการเงิน มคี วามสะดวก รวดเร็ว และเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานเปนอยางดี 4.1 วงจรการจัดทําบญั ชี วงจรการจดั ทาํ บญั ชี (The Accounting Cycle) เปนข้ันตอนทางการบัญชี เรมิ่ ตนจากเมอื่ กิจการเริม่ งวดบัญชีใหมเกิด ร า ย ก า ร บั ญ ชี (Accounting Transaction)ห รื อ เ รี ย ก อี ก อ ย า ง ว า ร า ย ก า ร ค า (BusinessTransaction)

ซึ่งเปนรายการท่ีกอใหเกิดการแลกเปลี่ยนหรอื โอนเงินหรือสิ่งทีมมี ูลคาเปนตัวเงินระหวางกิจการกับบุคคลอ่ืน นํามาวิเคราะห แลวบันทกึ รายการในสมุดรายวันขั้นตน จากน้นั ผา นรายการไปยงั บญั ชแี ยกประเภททเ่ี ก่ยี วของ จดั ทาํ งบทดลอง เม่อื ส้ินงวดจะ ทําการปรับปรุงรายการ ปดบญั ชีและสรุปผลออกรายงานงบการเงนิ จึงสามารถสรุปข้ันตอนของวงจรการจัดทําบญั ชี ไดดังน้ี ข้ันที่ 1 การรวบรวมเอกสารขน้ั ตน (Source Document) การบันทึกรายการคาจะตอ งมีเอกสารข้ันตนเพ่ือใชเปนหลักฐาน ประกอบการบนั ทกึ เชน การบนั ทกึ รายการซ้อื สินคา มาเพ่ือขาย เอกสารข้ันตนคือ ใบขอซอื้ ใบส่ังซอื้ ใบรบั สินคา ใบกาํ กับ สินคา ใบแจง หนจ้ี ากผูขาย สวนการบันทกึ รายการจายเงนิ คาสนิ คา เอกสารขน้ั ตนคอื ใบเสรจ็ รับเงนิ รับเงนิ จากผขู ายสําเนา เ ช็ ค แ ล ะ ต น ขั้ ว เ ช็ ค เ ป น ต น ขน้ั ท่ี 2 บนั ทกึ รายการคา ลงในสมดุ รายวนั ข้นั ตน (Book of Original Entry) การนําขอมูลที่บันทึกในเอกสารข้ันตนไปทําการวิเคราะหและจัดประเภทของขอมูลโดยใชพังบันชีจําแนกวาอยูในหมวด สินทรัพย หน้ีสิน สวนของเจาของ รายได หรือคาใชจ าย หลังจากวิเคราะหและจัดประเภทรายการคาตามผังบญั ชแี ลว จึง ทําการบันทึกรายการคาลงในสมุดรายวันข้ันตน เชน สมุดรายวันทั่วไป สมุดรายวันซ้ือ สมุดรายวันขาย สมุดรายวันรับ เงนิ สมุดรายวันจา ยเงนิ สมดุ รายวนั สงคนื สินคาหรอื สมดุ รายวันรบั คนื สินคา เปนตน ขั้นท่ี 3 ผานรายการไปยงั บญั ชแี ยกประเภททวั่ ไป (Post to Ledgers) การนาํ ขอมลู ทีบ่ นั ทกึ ลงในสมดุ รายวันข้ันตนผานรายการไปยังบัญชีแยกประเภทท่ัวไปที่เก่ยี วของ เชน กรณีขายสนิ คา เปน เงิน เช่อื จะบนั ทึกในสมดุ รายวัน ผา นไปยังบัญชีแยกประเภทยอยลูกหนี้ และวนั สน้ิ เดือนจงึ ผา นไปบัญชีแยกประเภทท่วั ไป บญั ชี ขายสนิ คาและบญั ชลี ูกหน้ดี ว ยยอดรวม เปนตน ข้นั ที่ 4 จัดทาํ งบทดลอง (Preparation of Balance) เม่อื ส้นิ สดุ รอบระยะเวลาที่กําหนดไว เชน 3 เดอื น 6 เดือนหรือ 1 ป กิจการจะนํายอดคงเหลอื ในบญั ชีแยกประเภททว่ั ไปทุก บัญชีท่ีไดทําการจัดเรียงลําดับตามรหัสบัญชีที่ระบุไวในผังบัญชี นํามาจัดทํางบทดลองเพ่ือเปนกาตรวจสอบการลงบัญชี วา จาํ นวนเงินทางดา นเดบติ (Debit) และจํานวนเงนิ ทางดานเครดติ (Credit) ผา นรายการมาอยางถูกตอง ข้นั ที่ 5 จดั ทํางบการเงิน (Preparation of Financial Statements) การนําตัวเลขในงบทดลองมาจัดทํางบกําไรขาดทุน และงบแสดงฐานะการเงินเปนการสรุปผลการดาํ เนินงาน และการแสดง ฐานะทางการเงนิ ของกิจการ เพื่อใหงบการเงินมีความถูกตองตรงความเปน จริงกิจการจึงควรตรวจสอบความถูกตองของการ บนั ทกึ บัญชี ณ วันส้นิ งวด กอนทําการสรปุ ผลการดําเนนิ งาน เพื่อนําเสนอตอผูบรหิ ารและบุคบลภายนอกใชใ นการวางแผน 4.2 สมุดบญั ชี การเลือกใชสมุดรายวันในการบันทึกบัญชีของกิจการ สวนใหญใชสมุดรายวันท่ัวไปในการบันทกึ บัญชีสวนสมดุ รายวันเฉพาะ ขน้ึ อยูกับกิจการท่ีจะเลือกใชเ พ่ือความสะดวก ลดขัน้ ตอนในการบันทกึ รายการท่ีเกดิ ขึน้ ประจําซํ้าๆ หลังจากนน้ั จึงผานรายการ ไปบญั ชแี ยกประเภททว่ั ไป 4.2.1 สมดุ บันทกึ รายการขัน้ ตน (Book of Original Entry) สมุดรายวันข้ันตน เปนสมุดบันทกึ ทใ่ี ชบันทึกรายการคา ตามลาํ ดบั วันที่เกิดรายการทั้งหมดของกิจการ ซ่งึ กิจอาจใชสมุด รายวันท่ัวไปเพียงเลม เดียว หรือสมุดรายวันหลายเลมข้ึนอยูกับรายการคาที่เกิดข้ึนมามากนอ ยเพียงใด สมุดรายวันขั้นตน แบง ออกเปน 2 ประเภท ไดแก

1) สมดุ รายวันทว่ั ไป (General Journal) คือสมุดทใ่ี ชบนั ทึกรายการที่ไมส ามารถบันทกึ ในสมุดรายวันเฉพาะได เชน รายการ เปดบัญชี การซ้ือสินทรัพยเปนเงินเช่ือ รายการปรับปรุงและการแกไขขอผิดพลาด เปนตน หากกิจการใชสมุดรายวันท่ัวไป เพยี งเลม เดียวจะตองนาํ รายการคาท่เี กิดขน้ึ ทุกรายการบนั ทึกในสมุดรายวันไปเลมนี้ 2) สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal) คือ สมุดท่ีใชบันทึกรายการเฉพาะเรื่องใดเร่ืองหนึ่งในกรณีท่ีกิจการมีรายการคา เกิดข้ึนจํานวนมาก และมีรายการเกิดขึ้นซํา้ กันบอยๆ การใชสมุดรายวันเฉพาะในการบันทกึ บัญชที ําใหสะดวก ลดข้ันตอนการ บันทกึ บัญชี ดงั นี้ ตาราง 4.1 แสดงการใชสมดุ รายวันเฉพาะ สมุดรายวนั ลกั ษณะรายการคา สมดุ รายวันซื้อสนิ คา (Purchase Journal) ซอื้ สินคาเปน เงินเช่ือ สมุดรายวันขายสินคา (Sales Journal) ขายสนิ คา เปนเงนิ เช่ือ สมุดรายวันรบั เงนิ (Cash Receipts รบั เงนิ ทกุ รายการท้งั เงนิ สดและฝากธนาคาร Journal) สมดุ รายวันจายเงนิ (Cash Payments จายเงนิ ทกุ รายการทงั้ เงนิ สดและฝากธนาคาร Journal) สมุดรายวันสง คนื สนิ คา สง คนื สินคา ทีซ่ ้อื เปนเงนิ เช่ือ (Purchase Returns and Allowance Journal) สมุดรายวันรบั คนื สนิ คา รบั คืนสนิ คา ทีข่ ายเปนเงินเช่ือ (Sales Returns and Allowance Journal) 4.2.2 สมุดบนั ทึกรายการแยกประเภท สมดุ บัญชีแยกประเภทท่ัวไปจะเปนการรวบรวมรายการประเภทเดียวกันไวใ นบญั ชีเดยี วกันแบง ออกเปน 2 ชนดิ คือ 1) สมุดบัญชีแยกประเภท (General Ledger) เปนบัญชีหลักท่ีกิจการตองจัดทําโดยการแยกบัญชีเปนหมวดหมู ไดแก สินทรพั ย หนี้สิน สว นของเจาของ รายไดแ ละคาใชจ าย 2) สมุดแยกบัญชีแยกประเภทยอย (Subsidiary Ledger) เปนบัญชีที่ใหรายละเอียดของขอมูลมากขึ้นซ่ึงกิจการจะจัดทํา หรอื ไมก ไ็ ด (1) สมุดบนั ทึกแยกประเภทยอยลกู หนี้ คือ สมดุ บัญชที ีใ่ หร ายละเอยี ดเกยี่ วกับลูกหน้แี ตละราย โดยท่วั ไปใชกรณีทก่ี ิจการ มีลูกหนีก้ ารคาจาํ นวนมาก (2) สมุดบญั ชแี ยกประเภทยอ ยเจาหน้ี คอื สมดุ บัญชีที่ใหรายละเอียดเกยี่ วกบั เจา หนี้แตละราย โดยท่วั ไปใชก รณที ี่กิจการ มีเจาหนี้การคาจํานวนมาก 4.3 การบนั ทึกบญั ชีของธุรกิจบริการ

ธุรกิจบรกิ าร (Service Business) เปนธุรกิจที่ใหบริการโดยไมมีสินคา จําหนาย เชน รานเสริมสวย รานนวดแผนโบราณ กิจการรับทําบัญชี โรงภาพยนต ธุรกิจโรงแรม ธุรกิจทองเที่ยว เปนตน ธุรกิจบริการมีหนาที่บริกลูกคา รายไดของ กจิ การ คอื รายไดจากการใหบ ริการ สว นคา ใชจา ย คอื ตนทุนในการใหบ รกิ ารและคา ใชจา ยในการดําเนินงาน การบนั ทึกบญั ชีของธุรกจิ บรกิ าร เพ่ือใหเขาใจถึงลําดบั ขน้ั ตอน ในการใชโปรแกรม Microsoft Excel จึงเริ่มจากตารางการวิเคราะหสมุดรายวันท่ัวไป บัญชีแยกประเภทท่ัวไปและจัดทํางบทดลองโดยผูทําบัญชีสรา งแบบฟอรม ตารางวิเคราะห สมดุ รายวันท่ัวไป และบญั ชีแยกประเภทท่วั ไป ในแตละแผนงานจดั เก็บขอมูลท่ีสมุดงานเดยี วกัน เพือ่ ใชใ นการ เชอ่ื มโยงขอมลู ในการบนั ทกึ บญั ชี ตัวอยางที่ 4.1 รายการคาทเ่ี กดิ ขน้ึ ของรานสมใจ ซอ มบริการ ระหวางเดือนมีนาคม25xx ใหบ ันทกึ รายการคา ในแบบฟอรม และการใชเชอื่ มโยงขอมูลในแตล ะแผน งาน 1. ตารางวิเคราะห 2. บนั ทกึ รายการในสมดุ รายวนั ท่วั ไป 3. ผานรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภทท่ัวไป ลาํ ดบั ขนั้ ตอนการบนั ทึกบญั ชีของรา นสมใจซอมบริการ (1) การบนั ทึกรายการคา ในตารางวเิ คราะห 1) เปดสมุดบัญชีแบบฟอรม โดยใชค าํ ส่งั Open จากปมุ Office Button หรือไอคอน หรอื สราง (New) 2) จัดพิมพรายการคาในชองรายการคาและทําการวิเคราะหรายการสินทรัพย หน้ีสินและสวนของเจาของ โดยใส เครื่องหมาย - (ลดลง) หรือ + (เพ่ิมขึ้น) ดานหนาชื่อบญั ชพี ิมพดวยตวั อักษรและตัวเลขคนละเซลล การบันทึกบัญชีดานเดบิต ใหพิมพต ัวเลขในเซลล I5-I6 แลพดานเครดติ ใหใสเ ครอื่ งหมาย = I5+I6 แลว Enter 3) การจัดเก็บสมุดงานโดยเปลี่ยนช่ือใหมและตองการจัดเก็บในโฟลเดอรเดียวกันหรือโฟลเดอรอื่น โดยคลกิ ท่ปี ุม Office Button เลอื กคําสง่ั Save As (บันทกึ เปน) (2) ตารางการวิเคราะหรายการคา การวิเคราหร ายการ ตวั อยางที่ 4.1 วนั ที่ 1 ม.ี ค ผลการวิเคราะหการคา สินทรัพย (เพิ่ม)+เงนิ สด +เคร่อื งมอื และอุปกรณ และสวนของเจาของ (เพมิ่ )+ทุน-นายสมใจ การ บนั ทกึ บัญชี เดบิตเงนิ สด 150,000 (เซลล I5) เครื่องมือและ อปุ กรณ 5,000 (เซลลI 6) เครดิต ทุน-นายสมใจ (เซลล J7) ใหใส เคร่อื งหมายเทา เคร่ืองหมาย = I5+I6 แลว Enter จะปรากฎ ตวั เลข 155,000 ดงั ภาพที่4.2 (3) การบนั ทึกรายการในสมดุ รายวันทัว่ ไป การบันทึกรายการในสมุดรายวันทัว่ ไป ตวั อยางที่ 4.1 รายการวันท่ี 1มี.ค. การบันทึกบัญชี เดบิต เงินสด150,000 (เซลล F4) เครื่องมือและอุปกรณ 5,000(เซลลF5) เครดิต ทุน-นายสมใจ 155,000 (เซลลG6) การใสจํานวนเงินใน เซลล F4 ใหเชื่อมโยงขอ มูลมาจากตารางวเิ คราะหรายการคาโดยวาง Cursor ไวท่ีเซลล F4 แลวคลิกเมาสไปทีแ่ ผนงานตาราง วิเคราะหรายการคา I5 ใสเเครื่องหมาย = แลวกด Enter ตัวเลข 150,000 จะปรากฎท่ีเซลล F4 ดานเครดิตใหใส

เ ค รื่ อ ง ห ม า ย = F4+F5 แ ล ว Enter ตั ว เ ล ข 155,000จ ะ ป ร า ก ฎ ที่ เ ซ ล ล G6 ดั ง ภ า พ ที่ 4.3 (4)การผา นรายการ ไปบัญชแี ยกแยกประเภททว่ั ไป การผานรายการจากสมุดรายวันทวั่ ไปบัญชีแยกประเภททั่วไป ตัวอยา งท่ี 4.1 รายการวันท่ี 1ม.ี ค. การบันทกึ บัญชเี ดบิตเงิน สด 150,000 (เซลล G6) 4.1 ดานเดบิต บัญชแี ยกประเภทเงนิ สด ชอ งรายการ ใหพ ิมพชือ่ ทุน-นายสมใจ สว นตวั เลขใหเช่อื มโยง ขอ มูลมาจากสมุดรายวันท่ัวไป โดยวาง Cursor ไวทบ่ี ัญชีแยกประเภท เงนิ สด (เซลล E4) ใสเ คร่อื งหมาย = แลวคลิกเมาสไปที่ แผนงานสมดุ รายวันทว่ั ไปเซลล F4 แลวกด Enter ตัวเลข 150,000 จะปรากฎท่เี ซลล E4 ดงั ภาพที่ 4.4 4.2 ดานเครดิต บญั ชีแยกประเภทบัญชีทนุ ชอ งรายการพิมพชอื่ เงนิ สด และบญั ชีเคร่ืองมอื และอุปกรณสวนตวั เลขใหเ ชอื่ มโยง ขอมูลมาจากสมดุ รายวนั ทัว่ ไป โดยวาง Cursor ไวท ีบ่ ญั ชีแยกประเภททนุ เซลล J62 ใสเครื่องหมาย = คลิกเมาสท่ีแผน งาน สมุดรายวันท่ัวไป 4.4 การบันทึกบัญชีของธรุ กิจ ธรุ กิจซื้อขายสนิ คา (Merchandising Business) เปนธุรกจิ ท่ีไมไดมีการผลิตสินคา แตจ ะซ้ือขายสินคา สําเร็จรูปจาก แหลง ตางๆมาเพื่อจําหนา ย เชน รานขายเสือ้ ผา สาํ เรจ็ รูป รา นขายแวนตา รานขายอุปกรณกีฬา รา นสะดวกซ้ือ หา งสรรพสนิ คา เปนตน รายไดข องกิจการ คือ รายไดจ ากการขายสนิ คา สวนคา ใชจ ายคอื ตนทุนที่ขายและคา ใชจ ายในการดําเนินงาน การบนั ทึกบัญชขี องธรุ กิจซือ้ ขายสินคา ในการใชโ ปรแกรม (Microsoft Excel) เน่อื งจากเปน การบนั ทกึ รายการโดย ใชสมดุ รายวันหลายเลม ผูทําบญั ชีจึงตอ งเลอื กใชสมดุ รายวันเลม ใดเลม หน่งึ แลว บนั ทึกบัญชแี ยกประเภทยอย บญั ชีแยก ประเภททว่ั ไปและจดั ทํางบทดลอง การสรางสมุดรายวันท่ัวไป สมดุ รายวันเฉพาะบญั ชีแยกประเภทยอยลกู หนี้-เจา หน้ีรายตวั บัญชแี ยกประเภทท่วั ไป และงบทดลองในแตละแผน งานจัดเก็บขอมูลทีส่ มุดงานเดียวกัน เพ่ือใชใ นการเชอ่ื มโยงขอ มูลในการ บนั ทึกบญั ชี ตัวอยางท่ี 4.2 รายการคา ของรานกจิ ไพศาลเมือ่ วันที่ 1 มกราคม 25XX ซง่ึ เปน วนั เริ่มงวดบัญชี มสี นิ ทรัพย หน้สี นิ และทนุ ดงั นี้ ชอ่ื บญั ชี เดบติ เครดติ

เงินสด 26,720.00 เงนิ ฝากธนาคาร 125,000.00 ลกู หนี้-นายรุง 8,255.00 ลูกหนี้-นายรตั น 3,745.00 สินคาคงเหลอื 50,000.00 เครื่องใชสํานักงาน 9,000.00 เครือ่ งตกแตง 12,000.00 เจาหนี้-นายสม 1,500.00 2,000.00 เจา หนี้-นายเสมอ 1,200.00 640.00 เจาหนี้สรรพากร 700.00 เงนิ ประกนั สังคมคา ง 20,000.00 จา ย 208,680.00 ภาษีเงนิ ไดคางจาย เงินกู-นายประกอบ ทุน-นายไพศาล ใหบ ันทกึ รายการคา ในแบบฟอรม และใชก ารเชื่อมโยงขอมูลในแตล ะแผนงาน 1. บนั ทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปและสมุดรายวันเฉพาะ 2. ผานรายการไปบัญชีแยกประเภทเจาหน้/ี ลกู หนรี้ ายตัว 3. ผา นรายการคา ไปบัญชแี ยกประเภททัว่ ไป ขน้ั ตอนการบัญชีและการเชอื่ มโยงขอ มลู 1. เปด สมดุ งานแบบฟอรม โดยใชค าํ ส่งั Open จากปมุ Office Button หรือไอคอน หรือสรางใหม 2. การจัดเกบ็ สมดุ งาน คลิกปมุ Office Button เลอื กคาํ สั่ง Save As(บันทึกเปน) โดยเปลยี่ นช่อื ใหมแ ละจดั เก็บใน โฟลเดอรเดียวกนั หรือโฟลเดอรอ่ืน 3. การบนั ทึกบญั ชใี นสมุดรายวนั 3.1 สมุดรายวันทว่ั ไป ใหบันทึกรายการเรม่ิ งวดบัญชตี ามตวั อยา งที่ 4.2 รายการวนั ท่ี 1 มกราคม วเิ คราะหรายการ คาตามสมการบัญชี สินทรพั ย =หนสี้ ิน้ + ทุนและบันทึกบัญชีเงนิ สด และบัญชีอ่ืนๆ ทุกบญั ชี(สาํ หรบั บัญชลี กู หนแี้ ละบัญชี เจา หน้ใี หบันทกึ ในบัญชีเจาหน้ีใหบ ันทกึ ในบัญชีลูกหน้กี ารคาและเจาหนี้การคา ดวยยอดรวม) และบนั ทึกจาํ นวนเงินดานเดบิต และเครดิต สวนบัญชที ุน-นายไพศาลใสเครื่องหมาย=SUM(F4:F9) จะปรากฏที่เซลล G15 ดังภาพ

การผานบันทึกรายการในสมุดรายวันทัว่ ไปของรานสมใจ ซอมบรกิ าร 4.5 การหายอดคงเหลอื ในบัญชีแยกประเภททั่วไป การสรปุ ยอดคงเหลอื ของบญั ชีตาง ๆ ทกุ บญั ชีในสมุดบัญชีแยกประเภทท่ัวไปเปนการหายอดคงเหลือดวยดนิ สอ (Pencil Footing ) เรียกวา การหายอดดลุ ดานเดบิตและยอดดุลดา นเครดติ ซ่ึงหมวดบญั ชสี ินทรัพยและคา ใชจา ยมยี อดดุลดานเดบติ สว นหมวดหนส้ี ิน สวนของเจา ของและรายไดมยี อดดลุ ดา นเครดติ มวี ิธีหายอดดลุ ดว ยดินสอ พอสรปุ ไดด ังน้ี 4.5.1 บญั ชที บ่ี นั ทกึ ทางดานเดบติ และเครดิตหลาย ๆ รายการใหรวมยอดจาํ นวนเงนิ แตละดานแลวเขียนยอดรวมไวบรรทดั สดุ ทา ยของรายการน้ัน ๆ ดว ยดนิ สอ จากน้นั หาผลตางวาดวนใดมากวาใหเขียนผลตางไวในชองรายการดวยดนิ สอดานทม่ี ี จํานวนเงินมากกวา 4.5.2 บญั ชีทีบ่ ันทกึ รายการทางดานเดบิตและเครดติ เพียงดา นละหน่ึงรายการใหเขียนผลตา งของยอดจาํ นวนเงนิ ดวยดินสอไว ในชอ งรายการของดา นท่ีมีจํานวนเงนิ มากกวา 4.5.3 บัญชีทบ่ี นั ทึกดา นหนึ่งดา นใดเพยี งดา นเดยี ว ใหรวมยอดเงนิ แลวเขียนดวยดินสอไวใ ตจาํ นวนเงินรายการสุดทา ยของดา น นนั้ ดวยดินสอ 4.5.4 บัญชีท่ีมีรายการเพยี งรายการเดยี วไมจาํ เปน ตอ งรวมยอดเงนิ จากการหายอดคงเหลือดวยดินสอ เมื่อจดั ทําบัญชดี วยโปรแกรม Microsoft Excel จึงใชสูตรในการคาํ นวณดังนี้ 1) หาผลรวมโดยเลือ่ นเมาสไปคลิกบรรทดั สดุ ทายของบัญชที จ่ี ะหายอดรวม ตวั อยางเชน บญั ชเี งินสด ดานเดบติ โดยใช สตู ร =SUM(E4:E7) 2) หาผลรวมทางดานเครดิต ดว นวิธเี ดียวกนั โดยใชส ูตร =J4 หรือคลิกไอคอน

3) หาผลตางระหวางผลรวมดา นเดบิตและเครดติ และนําผลลัพธไปไวทางดา นท่ีมีจํานวนทม่ี ากกวาชองรายการ โดยใช สตู ร =E8-J8 (ผลตางอยทู างดา นเดบิต เนอื่ งจากเปน บัญชหี มวดสนิ ทรพั ย) สาํ หรบั บญั ชีที่มยี อดคงเหลอื ดา นเครดติ ก็ใชว ิธี เดียวกนั เชน บัญชีเจา หน้กี ารคา โดยใชสตู ร =J64-E64 ดังภาพที่ 4.26-4.27 4.6 การจัดทาํ งบทดลองดวยโปรแกรม Microsoft Excel งบทดลอง (Trial Balance) เปน งบทีพ่ ิสูจนค วามถกู ตอ งของขอมูลทางการบัญชีวาไดบันทึกรายการตามหลกั บัญชคี ู ซ่ึงจากการ บันทึกรายการในสมุดรายวนั ทัว่ ไปทุกรายการตองประกอบดวยดา นเดบติ และดานเครดติ การบนั ทึกจํานวนเงนิ ดานเดบิตไวใ น บญั ชีหนึ่งเทากับจํานวนเงนิ เครดิตไวอีกบัญชหี น่ึง ดังนน้ั ยอดรวมของรายการเดบิตในบัญชตี า งๆจึงตอ งเทา กับยอดรวมของ รายการเครดิตในบญั ชีตา งๆซึง่ การทผ่ี ลรวมของบัญชดี า นเดบติ และดา นเครดิตเทา กนั อาจมกี ารบนั ทึกบัญชีบางบญั ชีท่ีไม ถูกตอง แตบ ันทึกบญั ชที งั้ ดานเดบิตและดา นเครดติ ดวยจํานวนเงนิ ที่เทา กัน เชน ซอื้ หมกึ พิมพ 2 กลอ ง เปนเงนิ 2,500 บาท ตารางท่ี 4.2 การเปรยี บเทียบการบันทึกบัญชีกบั การบนั ทกึ บญั ชที ถ่ี ูกตอง บนั ทกึ บัญชี บันทึกบญั ชที ี่ถกู ตอง เดบติ เครื่องใชส ํานักงาน 2,500 เครดิต เงินสด 2,500 เดบติ วสั ดสุ นิ้ เปลอื ง 2,500 เครดิต เงินสด 2,500 จะเหน็ วา วัสดุสน้ิ เปลอื ง เปน บัญชปี ระเภทสิน้ ทรพั ยหรือคาใชจาย เมื่อมยี อดเพม่ิ ขน้ึ บันทกึ ทางดา นเดบติ เชน เดยี วกับ บญั ชีเคร่อื งใชส ํานักงานจงึ ทาํ ใหงบทดลองลงตัว การจัดทํางบทดลองตอ งระบุวาเปน งบทดลอง ณ วนั หนึ่งวันใด เมือ่ สนิ้ รอบระยะเวลาหนง่ึ เชน 3 เดอื น 6 เดอื น 1 ป โดยการรวบรวมยอดคงเหลอื เดบิตและยอดคงเหลอื เครดิตในสมุดบญั ชแี ยกประเภททั่วไปไวดวย จํานวนเงินทเี่ ทา กนั ขนั้ ตอนในการทาํ งบทดลอง มีดังน้ี 1.เปด สมดุ งานทีส่ รางแบบฟอรม ตางๆ และเพิ่มแผน งานช่อื “งบทดลอง” 2.พมิ พชื่อบัญชแี ละเลขทีบ่ ัญชี ในชองช่ือบัญชแี ละเลขท่บี ัญชี 3.นาํ ยอดคงเหลือไปใสไวในชองเดบิตหรือเครดิต โดยนาํ มาจากยอดคงเหลอื ในบญั ชีแยกประเภททัว่ ไป ตัวอยางเชน บัญชี เงินสดนาํ เมาสว างไวทช่ี องจํานวนเงินดา นเดบิตใสเ คร่ืองหมาย = คลกิ เมาสท ่ีแผน งานแยกประเภทเลือกบญั ชีเงนิ สด วางเมาส ไวที่ชองรายการ จํานวนเงินยอดคงเหลือ (C8) แลวกด Enter ทําการเช่ือมโยงลกั ษณะเดียวกนั

4. หายอดรวมทางดานเด D29 โดยใชสูตร = S บิตท่ี 5. หายอดรวมดานเครดิตที่ E29 โดยใชส ูตร =SUM(E6:E27) ดงั ภาพที่ 4.29 หนวยท่ี 5 การปรบั ปรุงบัญชีและกระดาษทาํ การ การปรับปรงุ บัญชี และกระดาษทําการ สาระประจาํ หนวย เนื่องจากรายการบนั ทกึ บัญชรี ะหวางงวดอาจมรี ายการเปนชวงระยะเวลาทีเ่ ก่ยี วของกับปถัดไป หรอื บางรายการไมมีการ บันทกึ บญั ชใี นงวดบญั ชีน้นั ๆนักบัญชจี ึงตอ งมีการปรบั ปรงุ รายการกอนนําตวั เลขไปจัดทาํ รายงานทางการบัญชี การจัดกระดาษ ทําการงบทดลองหลงั รายการปรบั ปรุงจึงเปน การสรปุ ยอดคงเหลือบญั ชีตา งๆ เมื้อสิ้นขอบระยะเวลาหนงึ่ เปน การพสิ ูจนย อด ความถูกตองของการบนั ทึกบัญชี ซ่งึ ขัน้ ตอนดังกลาวสามารถใชโ ปรแกรม Microsoft Excel ชว ยในการคาํ นวณไดอยางรวดเร็ว และถูกตอง 5.1 รายการปรบั ปรุง รายการปรับปรงุ (Adjusting Entry) หมายถงึ การบนั ทึกรายการ เพื่อแกไขการปรับปรุงรายไดแ ละคา ใชจายของ กิจการใหม ีความถูกตองตามเกณฑค งคาง (Accrual Basis) ในการสน้ิ สุดงวดบญั ชเี น่อื งจากทางการปฏบิ ัติการบนั ทกึ รายไดและ คาใชจ ายเมื่อไดร บั หรือจา ยเงนิ จริง การปรบั ปรงุ รายการตา งๆทาํ ใหผลการดาํ เนนิ งานของกิจการมคี วามถูกตองกบั ความเปน จรงิ และสง ผลกับสนิ ทรัพย หนี้สนิ ในงบแสดงฐานะการเงนิ ของกจิ การดวย ประเภทการปรบั ปรุงไดแ ก 5.1.1 รายไดรบั ลว งหนา (Deferred Revenue) เปน รายไดท ี่กิจการไดร บั เงนิ ในงวดบัญชปี จจุบนั แตมรี ายรับบางสว นเปนกิจการรายไดของงวดบัญชี ถัดไป จึงจะเปน หนส้ี ินทก่ี จิ การมีภาระในการบรกิ าร วิธกี ารบนั ทกึ บญั ชีเม่อื รับเงินเปนเปนรายไดร บั ลวงหนา มี 2 วธิ ีไดแ ก วิธีที่ 1 บันทึกการรับเงินเปนหน้สี ินทง้ั จาํ นวนเงินในบญั ชีรายไดร บั ลวงหนา

วิธที ่ี 2 บนั ทึกการรบั เงินเปนรายไดท งั้ จํานวนเงนิ ในบญั ชีรายได ตวั อยา งท่ี 5.1 5.1.2 รายไดค างรับ (Accrued Revenue) รายไดคา งรับ คอื รายไดของกจิ การท่ีเกดิ ขน้ึ แลวในงวดบญั ชีปจจุบัน แตยงั ไมไดรับเงิน ซ่งึ กิจการจะไดร ับในงวดบัญชี ตอไป ดังนน้ั จึงถือรายไดท่เี กิดขึ้นนีเ้ ปน สนิ ทรพั ยของกจิ การในงวดบัญชีปจ จบุ นั โดยกจิ การจะทําการปรับปรงุ รายการกาํ หนด เปน ทรัพยสนิ ของกิจการ 5.1.3 คาใชจ า ยลว งหนา ( Prepaid Expenses ) คาใชจ ายจายลว งหนา คอื คาใชจ ายท่ีกิจการไดจ ายเงนิ ออกไปในงวดบัญชีปจ จบุ ัน แตไดรวมคา ใชจ า ยของงวดบญั ชีปหนา สว นหนึง่ ไวดว ย ซงึ่ จะใชประโยชนในงวดบญั ชีปห นา โดยกจิ การจะทําการปรับปรุงรายการน้ี ณ วันสิน้ งวด ( Prepaid Expenses ) ตวั อยาง 5.3 เมอ่ื วนั ท่ี 1สิงหาคม กิจการคา เชาโฆษณา 9,000 สาํ หรบั ระยะเวลา 6 เดอื น วธิ ที ี่ 1 บนั ทกึ การจายเงินเปนสินทรพั ยทั้งจาํ นวน ในบัญชีคา ใชจา ยลวงหนา สมดุ รายวันทัว่ ไป พ.ศ. 2561 รายการ เลขท่ี บญั ชี เดบิต เครดติ เดือน วันท่ี 109 9,000 - ส.ค. 1 คา โฆษณาลวงหนา 101 เงนิ สด 9,000 - คา ใชจ า ยโฆษณาระยะเวลา 6 เดือน 5.1.4 คา ใชจ ายคา งจาย คา ใชจ า ยคางจาย คอื คาใชจ า ยที่เกดิ ข้ึนแลว ในงวดบญั ชีปจจบุ ัน แตย ังไมไดจา ยเงนิ ซ่งึ กจิ การจะจายในงวดบญั ชี ตอ ไป ดังนัน้ จงึ ถือคาใชจ ายท่ีเกิดข้นึ น้เี ปนหนี้สินของกจิ การในงวดบัญชปี จ จบุ นั โดยกิจการจะทําการปรับปรุงรายการน้ี ตัวอยาง 1. กจิ การไดร ับบิลคา โฆษณาจากบรษิ ัท ส่อื โฆษณา สาํ หรบั เดือน ธันวาคม จาํ นวน 10,000 บาท กิจการยังไมได จาย ดังนนั้ ณ วันส้ินงวด กิจการตองบนั ทึกรายการปรบั ปรุงโดย ว.ด.ป รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ บัญชี

ธ ค 31 ดอกเบีย้ จาย 501 ดอกเบ้ยี คางจาย 202 360 ปรบั ปรงุ ดอกเบี้ยคางจาย 3เดอื น 12,000X 12/100X 3/12 360 5.1.5 คาเสอื่ มราคา ( Depreciation ) คาเสอื่ มราคา คอื คา ใชจายที่ตัดจากมูลคาของสนิ ทรัพย ที่กจิ การใชป ระโยชนป ระจํางวดทง้ั นเ้ี พราะสนิ ทรัพยประเภท อาคาร อปุ กรณ เครื่องจักร รถยนต เปนสนิ ทรพั ยท ี่มีไวใ ชงานเปน ระยะเวลายาวนานและมักจะมมี ูลคาสงู จึงมีการ ประมาณประโยชนจากสินทรพั ยเ หลา นี้เฉลย่ี เปนคาใชจ า ยแตละงวด งวด โดยการคาํ นวณคา เส่ือมราคามีหลายวิธีในทน่ี ี้ กลา วถึงการคํานวณดวยวิธีเสนตรง (Straight Ling Method) คาเส่ือมราคา = (ราคาทุน-ราคาซาก) อายุการใชง าน ตัวอยาง 5.5 กจิ การชือ้ เครื่องตกเเตง ราคา 62,000 บาท เมอ่ื วันท่ี 1 มีนาคม 2556 คาดวาใชง านได 10 ป ประมาณ ราคาซาก 2,000 บาท แสดงการคาํ นวณคา เสื่อมราคา คาเสื่อมราคาป 2556 1 มีนาคม -30 ธันวาคม 2556 =(62,0000-2,000) * 10 = 5,000 บาท 10 1 5.1.6 วสั ดสุ ํานกั งานท่ใี ชไป ( Supplies Used Expense ) วัสดุสน้ิ เปลือง เปน สนิ ทรพั ยห มนุ เวยี น ทมี่ ลี ักษณะใชแลว หมดไป และมมี ลู คา ตอหนว ย ต่าํ เชน กระดาษ ปากกา ยางลบ ลวดเสียบ โดยจะเรียกวสั ดเุ หลานีต้ ามลกั ษณะการใชง าน เชน วัสดุสาํ นกั งาน ในการ จดั หาวัสดสุ นิ้ เปลอื งมาใชม ักจะซ้ือปริมาณมาก และมีการควบคุมโดยใชห ลักฐานการเบกิ จาย และ ณ วันส้ินงวดจะมีการตรวจ

นบั วสั ดุสิน้ เปลืองคงเหลอื เพื่อจะไดทราบวาไดใ ชว สั ดสุ นิ้ เปลอื งเปนจํานวนเทา ใด เพ่ือคํานวณหาวสั ดสุ ํานักงานใชไ ปกบั บนั ทกึ คาใชจ ายในงวดบัญชีปจจุบัน วธิ ีการคํานวณวสั ดุสํานักงานใชไ ป วสั ดสุ ํานกั งานใชไ ป= วสั ดุสาํ นกั งานตน งวด+ วัสดุสํานักงานระหวางงวด-วัสดสุ าํ นกั งาน ส้ินงวด =3,500 + 15,000 - 2,400 =13,600 บาท บนั ทกึ รายการปรบั ปรงุ ในวนั ที่ 31 ธันวาคม 2556 เลขที่ เดบติ เครดิต สมุดรายวันท่ัวไป บัญชี พ.ศ. 2556 รายการ เดือน วันที่ ธ.ค. 31 วัสดุสาํ นักงานใชไป 511 13,600 - วัสดุสํานักงาน 111 ปรับปรุงวัสดุสํานักงานใชไ ป 13,600 - 5.1.7 คาเผื่อหนจี้ ะสญู หาย ( Doubtful Accounts ) ธรุ กจิ ไมว าจะเปน ธรุ กิจประเภทใหบ ริการ หรอื ขายสนิ คาเปนเงินเชื่อ จะมลี ูกหนี้จาํ นวนหนง่ึ ท่ีกจิ การไมส ามารถเรียกเก็บเงินได ซึง่ กิจการไดต ดิ ตามทวงถามจนถงึ ท่สี ุดแลว จึงตัดออกจากบญั ชลี กู หน้ี ถือเปน บัญชีปรับมูลคา โดยหกั ออกบัญชลี ูกหนี้ การ ประมาณการหนท้ี ีจ่ ะเก็บเงินไมไดม ี 2 วิธี คอื วิธที ี่ 1 ประมาณตอ งการอัตรารอยละของยอดขายในงวดน้ัน วธิ ที ่ี 2 ประมาณตองการอัตรารอ ยละของยอดลกู หนี้คงเหลือในวันสน้ิ งวด ตัวอยา งที่ 5.7 วันท่ี 1 มกราคม กจิ การมคี า เผอื บญั ชหี นี้สงสยั จะสญู 3,000 บาท และวันที่ 31 ธันวาคม 2556 มี บญั ชลี กู หนค้ี งเหลอื 80,000 และบญั ชขี ายสินคา 150,000 บาท วธิ ีการคาํ นวณตั่งคา เผื่อหน้ีสงสัยจะสูญ วธิ ีที่ 1 ประมาณอตั รารอยละของยอดขายในงวดนัน้ คาเผื่อหนสี้ งสัยจะสูญ = 15,000 1 =1,500 บาท 100 บันทกึ รายการปรับปรงุ ในวนั ท่ี 31 ธันวาคม 2556 สมดุ รายวันทั่วไป

พ.ศ. 2556 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ เดอื น วนั ท่ี บญั ชี ธ.ค. 31 หนี้สงสยั จะสญู 512 15,000 - คาเผอื่ หน้ีจะสญู หาย 112 - ตั้งคา เผือ่ หนจี้ ะสูญ1% ยอดขาย 15,000 วธิ ที ี่ 2 ประมาณการเปน อตั รารอ ยละของลูกหนี้ คงเหลือในวันสน้ิ งวด คาเผือ่ หนีส้ งสยั จะสญู =80,000 * =4,000 บาท หกั คา หน้ีสงสัยจะสูญยกยอดมา =3,000 บาท ดังนนั้ ตัง้ คา หนส้ี งสยั จะสูญเพ่มิ ข้ึน =1,000 บาท บนั ทึกรายการปรบั ปรุงในวนั ที่ 31 ธันวาคม 2556 เลขท่ี เดบิต เครดิต สมดุ รายวันท่ัวไป บัญชี พ.ศ. 2556 รายการ เดือน วนั ท่ี ธ.ค. 31 หน้ีสงสยั จะสูญ 512 1,000 - คาเผ่อื หนีจ้ ะสญู หาย 112 ตั้งคา เผอื่ หน้ีจะสูญ1% ยอดขาย - 1,000 1)การตดั จาํ หนา ยลกู หนีเ้ ปนหนี้สญู กรณที ่ีกจิ การไมไ ดต ้ังคา เผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญ เมื่อไมสามารถเรยี กเก็บเงนิ จากลกู หนี้ ไดจึงตดั จาํ หนายลกู หนเี้ ปน หน้สี ูญ

ตัวอยา งท่ี 5.8 กิจการลูกน้ีท่ีคา งชําระ และมีการติดตามทวงถาม เมือวันท่ี 10 พฤศจิกายน 2556 กิจการตดั ลูกหนี้เปนหน้ี สูญจาํ นวน 2,000 บาท หลังจากไดร บั การทวงถามจนถงึ ท่ีสุด จึงตดั เปน หน้สี ูญ ถือเปนคา ใชจา ยทางภาษี บนั ทึกรายการปรับปรงุ ในวันที่ 31 ธันวาคม 2556 สมดุ รายวันทว่ั ไป พ.ศ. 2556 รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ เดอื น วันท่ี บญั ชี ธ.ค. 31 หนส้ี ูญ 513 2,000 - 112 ลูกหนี้การคา ตดั ลูกหน้ีเรยี กเก็บเงนิ ไมไ ดเปนสญู - 2,000 5.2 งบทดลองหลงั รายการปรับปรุง หลงั จากบันทกึ รายการปรบั ปรงุ ในสมดุ รายวันทั่วไปและผานรายการไปบัญชแี ยกประเภทท่วั ไปท่เี ก่ยี วขอ งแลว บัญชที ่มี ี ผลกระทบจากรายการปรบั ปรุงจะมยี อดคงเหลือทเ่ี ปล่ียนแปลงไป เพ่ือเปน การรวบรวมยอดคงเหลอื ของบัญชีแยกประเภททกุ บญั ชีหลังรายการปรับปรงุ จึงมกี ารจัดทํางบทดลองขึน้ อกี ครัง้ ซงึ่ เรียกวา \"งบทดลองหลงั รายการปรับปรงุ \" (Adjusted Trial Balance) โดยมีวัตถุประสงคข องการจัดทําเพ่ือพิสูจนความถูกตองวายอดรวมทางดานเดบติ ยงั เทา กบั ยอดรวมทางดา นเครดติ ภายหลงั การปรับปรงุ บัญชแี ลว โดยรปู แบบของงบทดลองหลงั ปรบั ปรุงยังคงมีรูปแบบเหมือนงบทดลองกอนรายการปรับปรุง แตกตา งเฉพาะช่อื หวั งบเทานั้น รายการที่ 1 คา โฆษณาสาํ หรับระระเวลา 6 เดือน เรมิ่ 1สงิ หาคม 2556

ปรับปรุงคา โฆษณาลวงหนา 1 เดือน (ม.ค.) =9000*1/6 รายการท่ี 2 รายไดค า เชาอาคารสัญญา 1 ป เริม่ 1 ตลุ าคม 2556 ปรบั ปรุงรายไดคาเชา รบั ลวงหนา 9 เดือน (ม.ค. –ก.ย) =120,000*9/12 รายการท่ี 3 คานาํ้ จํานวน 450 คานา้ํ จาํ นวน 1,100 บาท คางจา ยของเดอื น ธันวาคม 2556 รายการที่ 4 คา เสอ่ื มราคาอาคารมคี าราคาซาก 100,000 บาท อายกุ ารใชง าน 10 ป อา งองิ อัตราตารางในการใชฟงกชน่ั การคํานวณคา เสื่อมราคา =SLN (B4,C4,D4) บันทกึ คา เสื่อมราคาโดยอางอิงจากชีตตารางการคํานวณคา เสอ่ื มราคา = คา เสื่อมราคา =! E4 รายการท่ี 5 คิดคาเส่ือ ราคาอุปกรณส าํ นกั งานราคาซาก 2,000 บาท อายุการใชงาน 10 ป โดยบนั ทกึ คา เสื่อมโดยการอา งอิงจากชีตตารางคาํ นวณคาเสื่อมราคา =คาเสื่อมราคา !E3

รายการท่ี 6 วสั ดุสํานักงานคงเหลือ 800 บาท ปรับปรุงวสั ดุสาํ นักงานทใ่ี ชไ ป = วัสดสุ าํ นกั งานตน งวด – วสั ดสุ ํานักงานคงเหลือ =5,000 - 800 5.3 กระดาษทาํ การ กระดาษทําการ (Work Sheet or Working Papers) หมายถงึ แบบฟอรม หรือกระดาษรา งท่ีกจิ การจัดทาํ ขน้ึ เพอื่ เปน เคร่ืองมือทชี่ ว ย ใหการจัดทาํ งบการเงนิ เปนไปอยางสะดวก รวดเรว็ และ ไมผิดพลาด แตกรณที เี่ ปน กจิ การขนาดเล็กและมี รายการไมม ากนักอาจไมจําเปน ตอ งจดั ทํากระดาษทาํ การกอนทาํ งบการเงนิ ก็ได โดยกระดาษทาํ การชวยมีการรวมรวมขอมลู เพือ่ จดั ทํางบการเงนิ ตอ ไป 5.3.1 รปู แบบกระดาษทําการ กระดาษทําการทจ่ี ัดมีชองรายการสาํ คัญชอื่ บัญชี ชอ งจาํ นวนเงินดา นเดบติ และเครดิตสําหรับงบทดลอง รายการปรบั ปรงุ งบ ทดลองหลงั รายการปรบั ปรงุ งบกําไรขาดทุน งบแสดงฐานะการเงิน โดยทั่วไปกระดาษทําการมี 3 รูปแบบ ไดแก 1 กระดาษทําการ 6 ชอง 2 กระดาษทําการ 8 ชอ ง

3 กระดาษทาํ การ 10 ชอ ง ข้ันตอนจัดทํากระดาษทําการ 5.3.2 ข้นั ตอนจัดทาํ กระดาษทาํ การ มีดังน้ี กระดาษทําการ 6 ชอง ของธรุ กจิ กิจการ เปด สมดุ งาน ชื่อ Form1 และเพิ่มแผนงานชอื่ กระดาษทาํ การ จัดเกบ็ สมุดงานชื่อใหม Worksheet 1 เขยี นหัวกระดาษทาํ การ โดยเริ่มทช่ี อ่ื ของกิจการ บรรทัดถดั มาบอกเปนกระดาษทาํ การ และบรรทดั สดุ ทา ยใหบ อกเปน ระยะเวลางวดที่เราจดั ทาํ เชน งวด 3 เดอื น 6 เดือน หรอื ป และส้ินสดุ ในการดําเนนิ งานวันทเ่ี ทา ใด 2 ลอกงบทดลองลงในกระดาษทาํ การ โดยเรม่ิ ต้งั แตการเขยี นชือ่ บัญชี เลขทบ่ี ญั ชี และจํานวนเงินลงในชอ งท่กี ําหนด เดบติ หรอื เครดติ ตามหมวดบญั ชี ซ่ึงตองเรียงลําดับหมวดบัญชจี ากหมวด 1 – หมวด 5 แลว รวมยอด ซงึ่ จะตองเทากนั ท้ัง 2 ดา น 3 นาํ รายการปรบั ปรุงจากสมดุ รายวันทว่ั ไป ลงจาํ นวนเงินในชอ งรายการปรับปรงุ โดยหาชื่อบัญชีจากงบทดลอง ในกรณไี มมี ชอ่ื บญั ชที ่ีตอ งการใหเติมชอ่ื บัญชีตอจากบรรทัดรวมเงนิ ของงบทดลอง ซ่ึงจํานวนเงนิ ทป่ี รากฏในชองปรบั ปรุงจะตองมี หมายเลขกาํ กบั เปนคู เพอื่ สะดวกตอ การตรวจสอบ เมื่อนํามาครบทกุ รายการใหร วมเงนิ ในชอ งปรับปรงุ ยอดรวม 2 ดา นตอ ง เทา กนั 4 นาํ ตัวเลขหมวดบญั ชีสินทรัพย หนส้ี นิ และสว นของเจา ของ ไปไวใ นงบดลุ ใหต รงกับดานท่ีปรากฏในงบทดลอง หรือใน รายการปรบั ปรงุ หากมบี ญั ชีในงบทดลอง และในรายการปรบั ปรุงดว ยและปรากฏอยูดานเดยี วกันใหนํามาบวกกัน แตหากอยู คนละดา นใหน าํ มาหักกันแลวจงึ จะนาํ ไปไวในงบดลุ (ยกเวน สนิ คาคงเหลอื ตน งวด เนื่องจากเปนสว นหนง่ึ ของตนทนุ ขาย จึง ตองนําไปไวใ นชอ งเดบิตของงบกาํ ไรขาดทนุ ) 5 นําตวั เลขหมวดบญั ชรี ายไดและคาใชจายรวมทงั้ สนิ คาคงเหลอื ตน งวดไปไวใ นงบกําไรขาดทนุ (ใชว ิธีเดยี วกันกบั ขน้ั ท่ี 4) 6 ใหรวมยอดในงบกําไรขาดทุนและงบดลุ ซ่งึ ยอดจะไมเทากันเพราะจะเกิดผลกาํ ไร หรอื ขาดทุนนน้ั เอง 7 ดูผลตางในงบกําไรขาดทนุ โดยใหใ สย อดผลตางในดานท่ีนอยกวา เชน ยอดดา นเดบิตมีผลรวมนอยกวา ใหนาํ ผลตางมาไว ในดา นเดบิต(D14) และเขยี นคําอธิบายในชองชอ่ื บญั ชีวากําไรสทุ ธิ และหากยอดดา นเครดิตมีผลรวมนอยกวาใหน ําผลตางมา ไวในดา นเครดติ (F14)และใหเขยี นอธิบายในชองชือ่ บัญชวี า ขาดทุนสุทธโิ ดยใชส ูตร =Sum(E14:E17) 8 รวมยอดทั้งสองดา นอีกครง้ั ท้ังในงบกาํ ไรขาดทนุ และงบดลุ ซึ่งคราวน้ียอดรวมตอ งเทากัน

9 พมิ พคาํ วา ขาดทุนสทุ ธิ ในชองช่อื บัญชี 10 หาปผลรวมงบกาํ ไรขาดทุนเเละงบเเสดงฐานะการเงนิ 2.) กระดาษทําการ 6ชอง ของธรุ กิจซ้อื ขายสนิ คา 1. เปด สมดุ งาน ช่ือ Form1 และเพิ่มแผนงานชอื่ กระดาษทําการ 2.จดั เก็บสมุดงานชือ่ ใหม Worksheet 3.พมิ พห ัวงบ ชื่อกิจการ กระดาษทาํ การระยะเวลา 4.คดั ลอกชอ่ื บัญชี เลขท่บี ญั ชแี ละจาํ นวนเงนิ เดบติ และเครดิตในงบทดลอง นาํ จาํ นวนเงนิ บญั ชีหมวดสนิ ทรัพย 5.นาํ จาํ นวนเงินหมวดสนิ ทรพั ย และหนีส้ นิ เปน สว นของเจาของ ใสในชองงบแสดงการเงิน (งบดลุ ) ตามดวยทปี่ รากฏในงบ ทดลอง เชนบัญชเี งนิ สด โดยนาํ เมาสม าวางในชองงบแสดงฐานะการเงนิ ดานเดบติ (G6)หรอื เครดิต ใหใสเ ครอ่ื งหมาย เทา กบั = แลวคลิกท่งี บชอ งเดบิต (C6) หรือเครดิตแลวกด Enter ยกเวน บญั ชสี นิ คาคงเหลอื (ตน งวด) ยอดจะปรากฏงบชอง กาํ ไรขาดทุนดานเดบติ 6.จาํ นวนเงนิ บญั ชหี มวดรายได ละคา ใชจ า ยใสช องงบกําไรขาดทุนตามดา นที่ปรากฏในงบทดลอง โดยนาํ เมาสมาวางไวทชี่ อ งงบ กําไรขาดทนุ ดา นเดบิต หรอื เครดติ เชน บัญชขี ายสินคา (F18) ใสเ คร่อื งหมายเทา = แลว คลิกงบทดลองดา นเครดิต (D18) แลว กด Enter 7.พมิ พสนิ คาคงเหลอื (ปลายงวด) ชองชือ่ บญั ชี ใสจ าํ นวนเงนิ ในชอ งงบกําไรขาดทุนดานเครดติ (F29) แลว นาํ เมาสไปวา งที่ชอ ง แสดงงบฐานะการเงนิ ดา นเดบิต (G29) ใสเ ครื่องหมาย = แลวคลกิ ที่เซลล F29 แลวกด Enter 8.รวมยอดที่ชองเดบติ และเครดิต ของงบกําไรขาดทุนละงบแสดงฐานะการเงนิ โดยเรม่ิ ที่ชองเดบิตของงบกาํ ไรขาดทุน ใช สูตร Sum (E18:E29) ลงท่ชี อ งท่เี หลือวิธีเดียวกนั 9.หายอดผลตา งระหวา งชอ งเดบติ และเครดติ ของกําไรขาดทนุ โดยวางเมาสท ่ีเซลล F13 .ใชส ตู ร =E30-F30 สวนงบแสดง ฐานะการเงิน ใหนาํ เมาสมาวางท่ีเซลล G31 และใชอางอิงเซลล =F31 ผลตางท่ีไดค ือ ขาดทนุ สุทธิ และรวมยอดท่เี ทา กันท้ัง สองดา น (ถาชองเดบติ ของกาํ ไรขาดทนุ >ชองเครดติ คอื ขาดทนุ สุทธิ) 10.พมิ พคาํ วากาํ ไรขาดทุนสุทธิ ในชอ งชอ่ื บัญชี 11.หาผลวมของงบกําไรขาดทุนและงบแสดงฐานะการเงนิ ดังภาพ 2.) กระดาษทําการ 8 ชองของธุรกจิ ซ้ือขายสินคา

1. ทําเชน เดยี วกบั ข้นั ตอนท่ี 1-7 ในการจดั ทํากระดาษทาํ การ 6 ชอ ง 2. พมิ พช ือ่ บญั ชีทป่ี รับปรงุ เพิ่มหากไมปรากฏบัญชนี น้ั ในงบทดลองตอจากสนิ คาคงเหลือ ( ปลายงวด ) 3. จํานวนเงินทีป่ รับปรงุ ในสมดุ รายวันท่วั ไป ใสชองรายการปรับปรุงโดยนาํ เมาสม าวางไวท ช่ี อ งรายการปรบั ปรงุ ดานเดบติ (E30) หรือเครดิต ใสเ คร่ืองหมาย = แลว คลกิ ท่สี มดุ รายงานวนั ทว่ั ไป (F4) หรอื เครดิต แลวกด Enter จนครบทกุ บญั ชี 4. ยอดรวมทช่ี องเดบติ และเครดติ ของรายการปรบั ปรุง งบกําไรขาดทุนและงบแสดงฐานะการเงินโดยเร่มิ ทช่ี อ งเดบติ ของ รายการปรบั ปรงุ ใชส ตู ร =Sum(G18:G36) ชอ งท่เี หลือใชวธิ ีการเดยี วกัน 5. หาผลตา งระหวางชอ งเดบิตและเครดิตของงบกําไรขาดทนุ โดยวางเมาสทีเ่ ซลล G37 โดยใชส ตู ร =H36-G36 สว นงบแสดง ฐานการเงนิ วางเมาสทีเ่ ซลล J37 และใชอ า งองิ เซลล =G37 ผลตา งที่ไดค อื กําไรสุทธิ และรวมบอดใหเ ทา กันทัง้ สองดา น 6. พิมพคําวา กําไรสทุ ธิ ในชอ งชอื่ บัญชี 7. หาผลรวมทงั้ งบกาํ ไรขาดทุนและงบแสดงฐานะการเงนิ ดังภาพที่ 5.3 5.4 ประโยชนข องกระดาษทําการ เนื่องจากการจดั ทําบญั ชมี ีหลายขัน้ ตอนจึงอาจเกดิ ขอผิดพลาดไดง า ย เมอื่ สิ้นสดุ รอบระยะเวลา นักบญั ชจี งึ ใชก ระดาษทําการ เปน เครอ่ื งมือเพ่ือสรปุ งบทดลองกอนรายการปรับปรงุ รายการปรับปรุงงบทดลองหลังรายการปรบั ปรงุ งบกําไรขาดทุน และงบ แสดงฐานะการเงิน ดงั นนั้ ประโยชนข องกระดาษทาํ การ มดี ังนี้ 1. ใชสรุปรายการปรบั ปรงุ ณ วันส้ินงวดระยะเวลาบัญชี 2. ใชเปนกระดาษวา งทาํ ใหเกิดความสะดวกและประหยัดในการจัดทํางบการเงนิ ของกิจการ ทีช่ วยจาํ แนกตวั เลขไวในชองงบ กาํ ไรขาดทุน และงบแสดงฐานะการเงนิ (งบดุล) 3. ทําใหท ราบผลการดาํ เนินงานสําหรบั รอบระยะเวลาหนึ่ง วา มีกําไรหรอื ขาดทนุ เปนจํานวนเทาใด 4. ทําใหทราบฐานะการเงนิ ของกิจการวามีสินทรัพย หน้สี นิ และสว นของเจาของเปน จาํ นวนเทา ใด

หนวยท่ี 6 การปดบญั ชแี ละออกรายงานการเงนิ การเปด บัญชี และ ออกรายงานงบการเงิน สาระสาํ คัญประจําหนว ย การเปดบญั ชีข้ันตอนสุดทา ยกอนทก่ี จิ การจะจัดทํางบการเงิน ในการบันทึกรายการเปด บันชเี ปนการสรปุ ผลการ ดําเนนิ การ จากยอดรวมของบัญชีรายไดค า ใชจาย และแสดงฐานะการเงินจากบัญชสี นิ ทรัพย หน้ีสิน และสวนของเจาของ เม่อื สิน้ รอบบัญชหี รืองวดบญั ชีโดยกจิ การสามารถจัดทาํ งบการเงนิ อยา งนอยปล ะ 1 คร้ัง หรือตามที่กจิ การกาํ หนด เชน 1 เดอื น 3 เดอื น 6 เดอื น การจัดทํางบการเงนิ สามารถตรวจสอบความถูกตองของขอมูลทางหนา จอกอนพิมพ โดยตั้งคา หนา กระดาษ กําหนดรายละเอยี ดตางๆ ไมว าจะเปนหัวกระดาษหรือทากระดาษ เลขหนา ขนาดกระดาษใหเหมาะสมกับ ขอมูล เพอื่ ปองกนั ขอ ผดิ พลาดกอนการพิมพ ทําใหไ มส ้ินเปลือง เปน การประหยดั ในการใชทรพั ยย ากรทดี่ ี 6.1 การบนั ทึกรายการเปดบัญชี การบันทกึ รายการเปด บัญชใี นสมุดรายวันท่วั ไป และผา นรายการไปบัญชแี ยกประเภทที่เกยี่ วขอ ง ข้นั ตอนปดบัญชขี องธุรกจิ บรกิ ารและกจิ การซอื้ ขายสินคามีลกั ษณะทีค่ ลายกนั เพยี งแตธ รุ กจิ ซ้ือขายสนิ คา จะตอ งบนั ทกึ รายการปดบัญชีที่เกี่ยวขอ งกบั ตนทนุ สนิ คา ที่ขาย (Cost Goods Sold) เมอ่ื เปดบญั ชแี ลว บัญชปี ระเภทรายได คา ใชจา ย และบัญชกี ําไรขาดทุน ซึง่ เปน บัญชีชวั่ คราว ณ วัน สิน้ สดุ งวดบญั ชีทถี่ กู ปดไมเ หลือยอดอยูใ นบัญชี 6.1.1 ขั้นตอนบญั ชีในสมุดรายวันทวั่ ไป การเปดบัญชีในสมดุ รายวันทัว่ ไปของกิจการและธรุ กิจ ซ้ือขาย มีลําดบั ข้ันตอนการเปดบญั ชี ดงั นี้ ขัน้ ธุรกิจบริการ ขนั้ ธุรกจิ ซือ้ ขายสินคา 1 เปดบัญชีรายไดเ ขาบญั ชกี าํ ไรขาดทนุ 1 บันทึกสนิ คาคงเหลอื (ตน งวด) และเปด บญั ชี เกีย่ วขอ งกับตน ทุนขายดานเดบติ เดบติ รายได XX เดบิต ตน ทุน XX เครดติ กําไร เครดิตสนิ คา คงเหลือ(ตนงวด) XX ขาดทนุ XX ซอื้ สินคา XX คาขนสงเขา XX 2 บันทกึ รายการสนิ คาคงเหลือ ปลายงวด ปด เกีย่ วของกบั ตน ทนุ ขายดา นเครดติ เดบิต สนิ คาคงเหลือ (ปลายงวด) XX

สง สินคา XX สว นลดรับ XX เครดติ ตนทุนขาย XX 2 เปด บัญชีคา ใชจ ายเขาบัญชกี ําไรขาดทุน 3 ปดบัญชรี ายไดเ ขาบญั ชกี ําไรขาดทนุ เดบิต กําไรขาดทนุ XX เดบติ กาํ ไรขาดทนุ XX เครดิต คาใชจา ยตา งๆ XX รายไดอื่น XX เครดติ กาํ ไร ขาดทนุ XX 3 ปดบญั ชีกาํ ไรขาดทนุ เขา บญั ชีกําไรสะสม 4 เปดบัญชคี า ใชจ ายและตน ทนุ ขาย (ผลตา ง) (กรณกี าํ ไรสุทธิ) เขา บญั ชีกําไรขาดทนุ เดบติ กําไรขาดทุน XX เดบติ ขายสนิ คา XX เครดิตทนุ (หรือกกําไรสะสม) XX เครดติ ตนทุนขาย XX (กรณีขาดทนุ สทุ ธิ) รับคืนสนิ คา XX เดบิต ทุน (หรอื กาํ ไรสะสม) XX สว นลดรายจาย XX เครดติ กําไรขาดทุน XX คาใชจ ายตางๆ XX 4 ปด บญั ชีถอนใชสวนตัว 5 เดบติ กําไรขาดทุน XX เครดิต กําไรสะสม XX (เจาของกิจการคนเดยี ว) (กรณีขาดทุนสุทธิ) เดบิต กําไร สะสม XX เดบิต ทุน XX เครดิต กําไรขาดทุน XX เครดิต ถอนใช สว นตัว XX จากตัวอยางจากตวั อยาง งบทดลองของรา นกิจไพศาล (หนวยที่ 4 หนา ข้ันตอนในการปดบัญชี ในสมดุ รายวันทั่วไป มดี ังน้ี 1. เปดสมดุ งานช่ือ Form2 และเพิม่ แผนงานชอ่ื “ การเปด บญั ชี” 2. จดั เก็บสมุดงานใหมช่อื Closing 3. บันทกึ ลงในการปดบัญชมี ี 5 ขน้ั ตอน ข้ันตอนที่ 1 เปด บญั ชสี ินคาคงเหลือ (ตนงวด) และบัญชเี กี่ยวของกับตน ทุนขายดา นเดบติ

ขั้นตอนท่ี 2 บนั ทึกสนิ คา คงเหลือ (ปลายงวด) จํานวน 38,000 บาท และ ปด บญั ชีเก่ียวของกับตนทุนดานเครดติ ขนั้ ตอนที่ 3 ปด บญั ชีรายไดจ ากการขายสินคาเขาบญั ชกี าํ ไรขาดทุน ขนั้ ตอนท่ี 4 ปด บัญชีคา ใชจา ยตา งๆ และตน ทุนขาย (ผลตา ง) เขา บญั ชีกําไรขาดทนุ ขั้นตอนท่ี 5 ปดกําไรขาดทนุ สุทธิเขา บัญชที ุน 6.1.2 ขนั้ ตอนการเปด บญั ชีแยกประเภท เมอ่ื กจิ การไดบนั ทึกปดรายการไดและคาใชจายในสมดุ รายวันทว่ั ไปแลว จะตอ งผา นรายการบญั ชแี ยกประเภททั่วไปทกุ รายการ ซ่ึงในการผานรายการบัญชไี ปแยกประเภททวั่ ไปน้ัน ทําใหการอา งอิงจาการจดบันทกึ บญั ชีในสมดุ รายวันท่ัวไป (ขาม ชตี ) โดยปฏิบัตเิ ชนเดยี วกับการบนั ทกึ บญั ชใี นหนวยท่ี 4 ดงั นัน้ บญั ชรี ายได คาใชจาย กาํ ไรขาดทนุ และถอนใชส ว นตัว (ถา มี) ทกุ บัญชจี ะตองรวมยอดดานเดบติ เทากบั ดานเครดติ ดังภาพ 6.3

ขั้นตอนที่ 1 ปด บัญชีสนิ คาคงเหลอื (ตน งวด) และบัญชีทเี่ กยี่ วของกบั ตนทุนขายดา นเดบิต ขั้นตอนท่ี 2 บันทึกสินคา คงเหลือ (ปลายงวด) และปดบญั ชีท่เี ก่ียวขอ งกับตนทุนขายดานเครดิต ขน้ั ตอนที่ 3 ปด บัญชีรายไดจากการขายสินคา เขาบัญชีกาํ ไรขาดทนุ ข้นั ตอนที่ 4 ปด บัญชีคา ใชจายตา งๆ และตนทนุ ขาย (ผลตา ง) เขา บัญชีกาํ ไรขาดทนุ ขัน้ ตอนท่ี 5 ปดบญั ชกี าํ ไรขาดทนุ สทุ ธเิ ขา บญั ชที ุน สว นบัญชสี ินทรพั ย หนีส้ ิน สวนของเจาของ (ทนุ ) จะตองหาผลตา งเพอ่ื แสดงยอดคงเหลือยกไปในงวดบัญชถี ัดไป และจะ แสดงยอดคงเหลือออกมมา โดยสนิ ทรพั ยม ยี อดคงเหลอื ดา นเดบติ หน้ีสนิ และ สวนของเจาของ (ทนุ ) มียอดคงเหลอื ดาน เครดิต ขน้ั ตอนการปดบัญชี ดงั ภาพ 6.4 ข้ันตอนท่ี 1 ผลตา งยอดคงเหลือใหตวั เลขไปใสไวดา นตรงขาง แสดงเปน ยอดยกไปไววัน ส้นิ เดือนหรือสน้ิ ป โดยนาํ เมาสม าวางไวท ่ชี องจํานวนเงินดานเครดิต ( J7) ใสเครื่องหมาย = คลิกที่ เซลล C6 แลว Enter จะปรากฏตวั เลข 32,805.00 ขนั้ ตอนที่ 2 รวมยอดดว ยเดบติ และเครดิตใหเ ทา กนั โดยนําเมาสม าวางไวท่ีชองจํานวนเงนิ ดาน เดบิต (E8) ใสเ ครอ่ื งหมาย =คลกิ ที่เซลล E6 แลว Enter จะปรากฏตวั เลข 45,095.00 สวนดา นเครดิต (J8) ใชสูตร =Sum(J6:J7) แลว Enter หรอื แดร็กเมาส แลวคลกิ ท่ีไอคอน จะปรากฏตัวเลข 45,095.00 6.2 การจัดทํางบการเงิน งบการเงินธรุ กจิ การซ้อื ขาย มีวตั ถุประสงคเ ชนเดียวกบั ธุรกิจบรกิ าร เพื่อแสดงถงึ ผลการดําเนินงาน และฐานะทางการเงินของ ธุรกิจของการสิน้ สุดรอบบญั ชีหรอื ส้นิ งวดบัญชี โดยจัดทาํ ขึ้นอยา งนอย ปล ะหนง่ึ คร้งั งบการเงนิ ประกอบดวย งบแสดงฐานะ การเงนิ งบกาํ ไรขาดทนุ งบแสดงการเลี่ยนแปลงในสว นของเจา ของ งบกระแสเงนิ สด และหมายเหตกุ ารณประกอบงบ การเงนิ แตใ นทีน่ จี้ ะกลาวถงึ การจัดทาํ งบกาํ ไรขาดทุน และงบแสดงฐานะการเงินเทานน้ั 6.2.1 งบกาํ ไรขาดทุน เปน งบทีแ่ สดงผลการดาํ เนนิ งานเมื่อส้นิ ระยะเวลาหนง่ึ อาจกาํ หนดไว 1เดือน 3 เดือน 6 เดือนหรอื 1 ป เดือนแลวแต กจิ การน้ันๆไดกําหนดไวถ าหากรายไดมากกวา คาใชจ ายก็จะเปนกาํ ไรแตถ ารายไดนอ ยกวาคา ใชจ า ยก็จาํ กลายเปนขาดทุน นน้ั เอง ขนึ้ อยูกบั ดลุ พนิ จิ ของผบู รหิ าร งบกําไรขาดทนุ ไดแก บัญชีรายไดและคา ใชจา ย ลักษณะท่ีแตกตางกนั ระหวา งธรุ กจิ

บริการกบั ธุรกิจการซอื้ ขาย ไดแ ก บัญชีสนิ คา คงเหลือและกําไรข้นั ตนทีค่ าํ นวณไดจากยอดขายกําไรสุทธิหักตน ทนุ ขายสามารถ ทําได 2 แบบคอื 1 ) งบกาํ ไรขาดทนุ ข้นั เดยี ว (Single –Steg lncome Statement) เปน การวดั ผลการดําเนินการโดยนํารายไดท ุกรายการ หกั ออกจากคา ใชจ ายทุกรายการ เพือ่ หากําไรหรอื ขาดทุนสุทธิ 2) งบกําไรขาดทนุ แบบหลายข้นั (Multiple-Step lncome Statement ) เปน การวัดการดาํ เนินจากรายไดห ลัก เพือ่ หา กําไรขางตน โดยนาํ รายงานมาหกั ออกเปนตน ทุนขายแลว จึงนําหักคาใชจา ยในการดาํ เนนิ การ ผลตางเปนกาํ ไรสุทธจิ ากการ ดําเนินงาน และหักภาษไี ดจ ะไดผ ลกําไรหรือขาดทุนสทุ ธิ ดังน้นั งบกําไรขาดทนุ จึงตอ งแสดงผลกาํ ไรหลายข้ัน ไดแก กําไร ข้ันตน กําไรสุทธิจากการดําเนินงาน กาํ ไรสทุ ธิจากการหักภาษเี งนิ ได และกําไรขาดทนุ สทุ ธิ 6.2.2 งบเเสดงฐานะการเงิน (statement of financial position) งบแสดงฐานะการเงนิ (statement of financial position) หมายถงึ การรายงานทางการเงนิ ท่ีทําข้ึนตามหลักการบญั ชที ่ี รับรองทวั่ ไปเพ่ือแสดงใหเห็นฐานะการเงนิ ของกจิ การ ณ วนั สิ้นงวด องคประกอบของงบแสดงฐานะการเงิน จงึ เปนรายการท่ี เกยี่ วขอ งโดยตรงกบั การวัดฐานะการเงินของกจิ การ ซึง่ ไดแก สนิ ทรพั ย หนีส้ นิ และสว นของเจา ของ 6.3 การพิมพส มุดงานออกทางเครื่องพมิ พ เมอื่ จัดทาํ แบบฟอรมและพิมพหัวขอ มลู ตา งๆ เปนท่ีเรียบรอย กอนพิมพออกทางเครอื่ งพิมพ ควรมี การกาํ หนดพ้ืนทีใ่ น การพิมพหรือดูตัวอยางกอนพิมพเ พือ่ ใหขอ มูลที่ตองการมคี วามถกู ตองและสวยงาม 6.1.3 การตงั้ คาหนากระดาษ เปนการจดั รปู แบบของขอมูลที่ตองการสัง่ พมิ พ เชน ระยะขอบ ขนาดกระดาษ หัวกระดาษ ทายกระดาษ ฯลฯ เพ่ือใหข อมูล มีความสมบรู ณและสวยงาม ซึ่งหากไมไดก ําหนดพืน้ ที่ กอนพิมพงานโปรแกรมจักตัดทาํ การแบงแผน งานออกเปนสวนๆ เทากบั ของการตั้งคา กระดาษท่ตี ้งั ไว แลวพมิ พออกมาใหท ้งั หมด ดงั น้ัน หากตอ งการพมิ พบ างสวนของแผนงาน จะตองกําหนดพ้นื ทที่ ่ี จะส่ังพิมพงาน การต้ังคาหนากระดาษ ดังภาพ 6.9 1. คลิกเลอื ก Page Layout 2. เลอื กปุม Size 3. เลอื กขนาดกระดาษ A4 4. คลิกปุม View (มุมมอง) 5. คลกิ ปุม Page Layout เพ่ือดูตัวอยา งกอนพิมพ 6. แสดงตัวอยา งขอ มลู การพิมพบ นกระดาษ นอกจากรายการเลอื กระยะขอบ (Marins) ตามทแี่ บบ Excel ทเ่ี ตรมี ไวแลว นัน้ เรายังสามารถปรบั ขอลกระดาษไดอ ยางอสิ ระ ดังภาพ 6.10 1. คลิกปุม Margins (ระยะขอบ) 2. คลิกเลือก Custorm Margins (กําหนดขอบกระดาษ) 3. กาํ หนดระยะขอบกระดาษตามความตองการทงั้ ดาน Top (บน) Bottom (ลาง) Left (ซา ย) และ Right (ขวา)

4. คลกิ ปุม (ตวั อยา งกอ นพมิ พ) 6.3.2 การกําหนดหวั กระดาษหรือทายกระดาษ แท็บเปนหัวกระดาษหรือทายกระดาษ (Header/Footer) การกาํ หนดหัวกระดาษหรือขอความหวั กระดาษและทาย กระดาษ การกําหนดเลขหนา ขอ ความบางขอความ เพือ่ ให ปรากฏบนเอกสารทุกๆ หนา ไดโดยกําหนดไวท ่แี นวหัวกระดาษ เชน ตอ งการใหหัวกระดาษปรากฏ “การบัญชีกับ คอมพวิ เตอร” และเลขหนา คลิกหวั กระดาษกําหนดเอง แลว พิมพใ นสวนทตี่ อ งการ ดังภาพ 6.11 1 คลกิ ปุม Custom Header …. หรอื Custom Footer 2 เลือกสวนทีจ่ ะพิมพตามสว นทต่ี องการ เชน ตอ งการใสหัว กระดาษปรากฏคาํ วา “การบัญชีกับคออมพวิ เตอร” 3 หรอื เลือกคําสั่งที่ Excel เตรยี มไวเพ่ือเตมิ ขอมลู อ่นื ๆ เชนรปู แบบตวั อกั ษร เลขหนา วันท่ี ช่อื ไฟล ฯลฯ 4คลิกปุม ok 6.3.3 การตัง้ คาหนา กระดาษแผน งาน คา หนากระดาษแผนงาน ประกอบดวย แถบเคร่อื งมือพ้นื ท่ีพิมพ เพ่ือกาํ หนดกลุมเซลลท ่ีตอ งการพมิ พ หัวขอเรอื่ งที่จะพมิ พ แถวที่จะพมิ พซ ้าํ ดานบน คอลัมนท่ีจะพมิ พซ้ําทางซา ย เชน หากตองการใหขอ มลู แถวที่ 1-5 เปนหวั เรอ่ื งใหต ัวเลือกแถวทจี่ ะ พมิ พซํา้ คา นบน (เซลล$1:$5) ดังภาพที่ 6.12 1. เลอื กพน้ื ทหี่ ัวขอเรอ่ื งท่ีตองการพิมพซํ้า ดานบน 2. คลกิ ที่แท็บ Sheet (แผน งาน) 3. คลิกเลอื กที่ชอ ง Rows to Repeat at top (แถวทจ่ี ะเพิ่มซ้าํ ดา นบน) 4. คลิกปุม ok 6.3.4 การเรียกดูสุดกอนพิมพงาน

เปน การตรวจสอบงานกอนพิมพงานออกกระดาษ โดยการทําการตรวจสอบงานทางหนาจอกอนผลลพั ธท่ไี ดจ ากหนา จอจะ เหมือนกบั การพมิ พออกทางเครอื่ งพิมพ หากผดิ พลาดจะทาํ ไดแกปญ หาได ดังนั้นการตรวจสอบงานกอนการคําสั่งพิมพส ามารถ ทาํ ได ดงั ภาพที่ 6.13 1 คลกิ ปุม office Button 2 เลือกคําส่งั Print (พมิ พ) 3 เลือก Preview (ตัวอยางกอนพิมพ) หลงั จากการตรวจสอบความถกู ตองของการพิมพและการแบงหนากระดาษของแผนงาน หากมีขอมูลจาํ นวนมาก และปรากฏวาขอมลู บางสวนไมอยูภายในหนาเดียวกนั และใชว ิธีการยอสัดสว นลง เพื่อใหเ หน็ ภาพ ของรายงานทัง้ หมด เพ่ือใหเ ห็นวา งานมคี วามถูกตองและสวยงามจงึ พิมพออกทางเครอ่ื งพิมพ เพื่อลดความสน้ิ เปลืองของ กระดาษทีใ่ ชในการพิมพอกี ดวย 6.3.5 การพิมพสมุดงานออกทางเคร่อื งพิมพ เมื่อกําหนดสว นตางๆ ของแผนงานและตรวจสอบความเรยี บรอย ตองการพิมพงานออกทางเครอ่ื งพิมพ จะแบง ออกเปน 2 ลกั ษณะ 1) การพิมพส มุดงานบางสวน กรณนี ี้กอนจะสั่งพมิ พตองลากเมาสใหคลุมเซลลท่ตี องการ แตต อ งอยใู นขอบเขตของกระดาษที่ ผใู ชต ่งั คา ไว ดงั ภาพที่ 6.14 1 คลมุ เซลลทต่ี อ งการพมิ พ 2 คลิกปุม office Button 3 คลกิ คําสัง่ Print Print 4 คลิกเลอื กรนุ เคร่อื งพิมพ (Printer Name) ท่ใี ชงาน 5 เลือก Print What (ส่งิ ท่ตี องการพิมพ) คลิกเลือก Selector (สวนเลือก) 6 กําหนดจาํ นวนสําเนา (Nunmber of copies) 7 คลกิ ปุม ok 2.)การพมิ พส มดุ งานท้งั หนา เม่อื ตองการใชตั้งหนากระดาษเรียบรอยแลว จะมองเห็นขออบเขต ของขอ มลู ทป่ี รากฏของแต ละหนา ผใู ชตอ งการสง่ั พมิ พออกทางเคร่ืองพมิ พ ดังภาพ 6.15 1. คลิกปุม office Button 2. คลิกคาํ สง่ั Print Print 3. คลกิ เลือกรุน เครื่องพิมพ (Printer Name) ท่ีใชง าน 4. เลอื ก Rrint Range (ชว งที่ตองการพมิ พ) คลกิ เลอื ก Page Form (ระบุท่ตี องการพมิ พ) 5. กาํ หนดจาํ นวนสาํ เนา (Nameber of copies) 6. คลกิ ปุม ok

หนวยที่ 7 การสรางกราฟ การสรา งกราฟ สาระสําคญั ประจาํ หนวย การนาํ เสนอขอ มลู ดว ยโปรแกรม Microsoft Excel สามารถทํางานไดห ลายวิธี เชน สรางเปน ตารางสรปุ ท่ีเรยี กไว ตารางไขว (Pivot Table) สรางเปน แผนภูมิในรูปแบบตางๆ พรอมคําอธบิ ายที่เรยี กวา แผนภูมิ การสรา งตารางและสรุปแผนภูมิ น้นั เปนการสรางจากขอมูลทมี่ อี ยแู ลว ในแผนงาน แตในหนวยน้จี ะกลาวถงึ เฉพาะการนาํ เสนอขอ มูลดว ยโปรแกรม Microsoft Excel โดยการสรรา งแผนภมู ิหรือกราฟซ่ึงสามารถสรางไดหลายชนดิ เชน แผนภูมแิ ทง แผนภูมเิ สน หรอื แผนภูมวิ งกลม เปน ตน 7.1 การสรางกราฟหรอื แผนภมู ิ 7.1.1 ลกั ษณะของการสรา งแผนภมู ิ การสรา งแผนภมู หิ รอื กราฟ สามารถสรางได 2 ลักษณะ ใหญๆ ดงั นค้ี อื 1) Embedded Chart (แผนภมู ฝิ ง ) เปน แผนภูมิท่ีสรา งไวใ นแผนงานทม่ี ีขอมลู อยู เพื่อประกอบขอมูลเปนการสรา งแผนภมู ิไว ในแผนงานหรอื Worksheet อาจจะเปน แผนงานท่ีบนั ทึกขอมลู ทีน่ ําสรางแผนภูมินัน้ หรอื อาจเปน แผนภูมใิ หมท ่ีไมมีขอ มลู นํามาใชใ นการนํามาสรางแผนภมู ิกไ็ ด ภูมิท่ีถูกสรา งขึ้นในลักษณะเชนนีถ้ ือวา เปนวัตถหุ น่งึ ทีบ่ ันทึกหรือฝงไวในเเผนงาน 2) Sheet Chart (เเผนภูมิรายงาน) เปนเเผนภูมิทสี่ รางไวใ นเเผนงานใหมเฉพาะเเผนภูมเิ ทานน้ั โดยขอ มูลที่อยูในเเผนงานอน่ื 7.1.2 วธิ ีการสรางแผนภูมิ

เม่ือตอ งการนาํ ขอ มลู มาสรปุ ในรปู เเบบของเเผนภูมหิ รือกราฟ เพอ่ื ใหขอ มูล ขนั้ ตอนการสรางเเผนภูมอิ ยางงา ยทาํ ใหมคี วาม เขาใจในการใชงาน ซึ่งทุกคร้งั จัดการทาํ เเผนภูมจิ ะตองเตรียมชดุ ขอมูลใหเ รยี บรอ ยกอ น แลว จงึ ดําเนนิ การตาม ดงั ภาพที่ 7.1 1. จัดเตรียมขอมูล 2. เลอื กขอบเขตของขอมลู ท่ีจะตองจัดทํากราฟ 3. คลกิ แทบ็ lnsert 4. คลกิ ปุม Column เพื่อสรางกราฟหรือคลิกกราฟชนดิ อ่ืนๆ (ตามท่ตี องการ) 5. คลิกเลอื กรูปเเบบกราฟ 6.กราฟจะปรากฏอยบู น Worksheet เดยี วกับขอ มูล 7.2 สวนประกอบตา ง ๆ ของเเผนภูมิ เพือ่ ใหรูปเเบบของเเผนภูมทิ สี่ รา งมีความสมบูรณเ พิ่มมากข้ึน องคป ระกอบขอมลู ตาง ๆ ของเเผนภมู ิสว นประกอบสําคัญ ดังน้นั ผูใชควรทราบถึงสว นประกอบ ตาง ๆ ของเเผนภูมิ ภาพที่ 7.2 เเสดงสว นประกอบของเเผนภูมิ 1.plot Area พน้ื ท่สี ว นทแ่ี สดงแผนภมู ิ 2.Chart Title ชอ่ื แผนภูมิ 3.Grid Line เสนกรดี ใชเทยี มขอมลู 4. แกน Y แกนนอน 5.Legend คําอธิบายแผนภูมิ 6.Value Axis แสดงคา ขอ มลู 7.Category แสดงหมวดหมขู อมลู 8.Data Series ชดุ ขอมูล 9.แกน X แกนตงั้ 10. Chart Area พื้นท่ที ้ังหมดของแผนภูมิ 7.3 การปรบั เเตงขอมูลของเเผนภูมิ

การสรา งเเผนภมู ิหรือกราฟ เมอ่ื ตองการเพ่มิ ขอมูลชดุ ใหม โดยไมก ระทบกบั เเผนภมู เิ ดมิ หรอื ปรบั เปล่ียนเเปลงรปู เเบบของ เเผนภูมิใหม เพื่อใหเ เผนภูมิมีความสมบูรณเพ่ิมมากข้ึน ซ้ึงเปน กบั หัวใจหน่ึงการสราผลท่ไี ดร บั คือ ความโดดเดนทเี่ พิ่มข้ึนของ เเผนภูมิ 7.3.1 การเพิม่ ขอมูลเขา ไปในเเผนภูมิ จากขน้ั ตอนตัวอยางการสรางเเผนภมู ิ เปน การจัดทําขอ มูลในเเผนภมู ชิ ดุ เดยี ว หากตองการเพ่ิมชดุ ใหม เขาไปในเเผนภมู ิ 1. คลิกเลอื กรปู เเบบกราฟทีต่ อ งการเพ่มิ ขอมูล จะเเสดงบนขอบเขตของ กราฟ 2. คลิกแท็บ Desing 3. คลกิ ปุม Select Data 4. จะปรากฎหนา ตาง Select Data Source ใหคลกิ ปุม Add 5. คลิกปุมเพิ่มเพ่ือเรม่ิ เลือกชอื่ ของชุดขอมูล และคลิกเลอื กชอ่ื ชุดขอ มูล 6. จะปรากฏเซลลท่อี างองิ ขอมลู 7. คลกิ ปุม เพื่อเลอื กขอมูลท่จี ะเเสดงผลในกราฟของชดุ ขอ มลู ใหม 8. คลิกเลือกเซลลทเี่ ปนขอ มูลท้ังหมด 9. คลกิ ปุม เพื่อยอนไปดขู อมลู เดิม หรอื หากตอ งการเเกไขขอมลู 10. ขอมลู ใหมจะเพมิ่ เขา มาพรอมอับเดชคําอธิบายลงใน Legend 11. คลิกปุม ok 12. ขอ มูลชุดใหมจ ะเพม่ิ เขา มาในหนาตา ง Select Data Source (หากมี ขอ มูลที่ตองการ เพิ่มอีกใหท ําตาม 4-10) 13. คลิกปุม ok 7.3.2 การเปลย่ี นชนดิ ของเเผนภูมิ หากตอ งการเปลย่ี นเเผนภูมทิ ส่ี รา งขึ้นใหเปนเเผนภูมชิ นดิ อน่ื โดยท่ไี มท ํา ใหข อ มลู ศูนยห านสามารถเปลย่ี น โดยไมจําเปน เรมิ่ ใหมต้งั เเตเเรก 1. คลิกเลือกกราฟท่ีตองการเลือกเปล่ียน 2. คลิกแทบ็ Design 3. คลกิ ปุม Change Chart Type 4. จะปรากฏหนาตา ง Change Chart Type 5. คลิกปุม ok 6. กราฟจะเปล่ียนเปน ชนิดใหมต ามท่เี ลือกไว

7.4 การปรบั เเตง องคป ระกอบของเเผนภมู ิ การปรับการเเตอ งคป ระกอบของเเผนภูมิอื่นๆ นอกจากจะเลอื กรปู เเบบสาํ เร็จรูปที่มเี เลว เราสามารถปรบั แตง หรือเพิม่ สวนประกอบตาง ๆ ของเเผนภูมไิ ด 7.4.1 การปรับแตงช่ือเเผนภูมิ (Chart Title) ถา ไมม ชี อ่ื แผนภมู หิ รือถูกลบออกไป เราสามารถเพิ่มชอื่ เเผนภูมใิ หมได 1. คลิกเลอื กกราฟ 2. คลิกแทบ็ Layout 3. คลกิ ปุม Chart Titie 4. เลอื กรปู เเบบการวางขอความ Chart Title 5. ปรบั เปลี่ยนขอ ความใน Chart Titl ตามทต่ี องการ 7.4.2 การปรบั แตงคาํ อธิบายเเผนภูมิ (Legend) เพียงเเคร ะบุตําเเหนง คาํ อธบิ ายเเผนภูมทิ ีจ่ ะปรากฏในพน้ื ท่ีของเเผนภูมิ โดยสามารถเลอื กตาํ เเหนง ให เเสดงไวดา นซา ย ขวา บน หรือลาง ก็ได โดยมีวิธีการดงั น้ี 1. คลิกท่ี Legende 2. คลกิ ที่แทบ็ Layout 3. คลกิ ปุม Legend 4. เลอื กรปู เเบบการวาง เชน มุมซาย ขวา บน ลา ง 7.4.3 การปรับรายช่ือขอมลู (Data Label) การเเสดงคา ของขอมูลบนเเผนภูมิ เชน เเสดง ขอ คววาม ตัวเลข คา รอยละ ดงั ตัวอยา งการสรางเเผนภมู ิเเบบวงกลมดังตัวอยา งเเผนภูมวิ งกลม 1. คลุมขอมูลทต่ี องการสรา งกราฟ

2. คลกิ ที่แทบ็ lnsert 3. เลือกสรางกราฟเเบบ PiEe 4. จะปรากฎกราฟ เเลวคลกิ ขวาท่ชี ดุ ขอ มลู ในกราฟ 5. คลิกคาํ สง่ั Add Data Label 6. Excel จะเพิ่มตวั เลขคาของขอมูล 7. คลกิ ปุม Data labelsเเลวจัดรปู เเบบการจดั วาง Data labels ในรปู เเบบท่ีตองการ 8. คลิก Data labels ตวั ใดกไ็ ด เพื่อเลือกตัวเลขทั้งหมด 9. คลิกขวาเลือก Format Data labels 10. จะปรากฏหนา ตาง Format Data labels ใหเลอื ก Label Options คลกิ ตรงเครอ่ื งหมายถูกขางหนา Percentage 11. ขอ มลู ในกราฟจะเปล่ียนเปน เปอรเซน 12. ทดลองตกแตงโดยคลิกเคร่ืองหมายถกู หนา Category Name และ Percentage 13. ปา ยชือ้ ขอมลู พรอมตวั เปอรเ ซต การสรางเเผนภูมหิ รือกราฟ สามารถปรับแตงชนดิ รปู เเบบ และสว นประกอบตางๆ ของเเผนภูมิ ดว ยโปรเเกรม Microsoft Excel ได อยางสะดวกรวดเรว็ และสวยงามการเติมสีสันของชนิดเเผนภูมิตวั อักษร ตัวเลขก็ เปน สิ่งทีท่ าํ ใหหนาสนใจเพมิ่ มากข้นึ หากตอ งการใช งาน อน่ื ๆ ผูใ ชส ามารถศึกษาการใชง านโดยไมย ากนัก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook