Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธุรกิจดิจิทัลผ่านสื่อสังคมออนไลน-บทที่ 3

ธุรกิจดิจิทัลผ่านสื่อสังคมออนไลน-บทที่ 3

Published by tamcomed50, 2021-12-11 16:55:54

Description: ธุรกิจดิจิทัลผ่านสื่อสังคมออนไลน-บทที่ 3

Search

Read the Text Version

ธรุ กจิ ดิจิทัลผา่ นสื่อสงั คมออนไลน์ บทท่ี 3 การติดตอ่ สอ่ื สารทางธุรกิจ สาระสาคัญ ศึกษาและเรยี นรู้เก่ียวกับ ความหมาย ความสาคัญ กระบวนการ องคป์ ระกอบ รปู แบบ กระบวนการ ภาษา ของการสือ่ สารทางธรุ กิจ 1. พ้ืนฐานการสอื่ สารธุรกจิ 1.1 ความหมายของการส่อื สาร การสื่อสาร คือ กระบวนการของการถ่ายทอดขา่ วสาร (message) จากบคุ คลฝา่ ยหนงึ่ ซง่ึ เรยี กว่า ผู้สง่ สาร (source) ไปยงั บคุ คลอีกฝ่ายหนึง่ ซงึ่ เรียกว่า ผ้รู ับสาร (receiver) โดยผา่ นช่องทางหรอื สื่อ (channel or media) 1.2 ความสาคัญของการสอ่ื สาร 1) ความสาคัญต่อความเป็นสงั คม “การสอ่ื สาร” เป็นเคร่อื งมอื ทาใหม้ นุษย์รวมตวั กนั เปน็ สังคม ดารงความเปน็ สงั คม และเปลีย่ นแปลงสังคม เพอื่ ให้ เกิดความเข้าใจกนั เพ่อื สร้างกฎเกณฑ์ของสังคม เพ่ือปรับทัศนคตแิ ละพฤติกรรมของสมาชกิ สงั คมทาให้สงั คมอยู่ ร่วมกันอยา่ งสงบสขุ 2) ความสาคญั ต่อชวี ิตประจาวนั มนุษยท์ าการสื่อสารตลอดเวลาที่ตน่ื ไม่ใชใ่ นฐานะผูส้ ง่ สาร ก็ในฐานะผรู้ บั สาร ท้งั ในการทางาน และการ สมาคม ผทู้ ่มี ีทกั ษะในการส่ือสาร ยอ่ มประสบความสาเร็จในทุกด้าน 3) ความสาคญั ต่ออุตสาหกรรมและธรุ กจิ “การส่อื สาร” เปน็ เครือ่ งมือสาคัญต่ออตุ สาหกรรมและธรุ กจิ เชน่ ใชใ้ นการประชาสัมพนั ธเ์ พื่อสรา้ งความสมั พนั ธ์ กบั บคุ คลกลุ่มต่าง ๆ ใช้ในการโฆษณาเพ่ือเผยแพรส่ ินคา้ และจูงใจผ้บู รโิ ภค และใชก้ ารส่ือสารรปู แบบตา่ ง ๆ ในการ บริหารงานและการปฏิบัติงานให้สาเร็จลลุ ่วงตามเป้าหมายขององค์การ 4) ความสาคญั ตอ่ การปกครอง รฐั บาล หรอื ผ้ปู กครอง ต้องเผยแพรข่ ้อมลู ขา่ วสารใหป้ ระชาชนทราบ เพื่อใหเ้ กดิ ความเข้าใจและตอ้ งได้รับ ความร่วมมอื จากประชาชน รวมทง้ั ต้องรบั ฟังการประชาพจิ ารณ์ (Public hearing) เพ่ือให้ทราบความรู้สึกและ ความคิดเห็นของประชาชน 5) ความสาคัญต่อการเมืองระหว่างประเทศ

โลกปจั จุบันเป็นสงั คมระหว่างประเทศ มีการรวมกลุ่มเพอื่ ผลประโยชน์รว่ มกันทางเศรษฐกิจและการเมอื งซึง่ แตล่ ะ ประเทศก็ตอ้ งการให้ประเทศอืน่ ๆ สนบั สนุนประเทศของตนในดา้ นการเมืองและเศรษฐกจิ ซ่งึ จาเปน็ ตอ้ งอาศัย การสอื่ สารทีม่ ีประสิทธภิ าพเปน็ เครื่องมอื 1.3 กระบวนการของการส่ือสาร ขนั้ ตอนของการเปล่ยี นแปลงไปโดยต่อเนอ่ื งกนั ของการสอ่ื สาร ประกอบดว้ ยกระบวนการยอ่ ย คอื กระบวนการคิด กระบวนการใช้ภาษา กระบวนการส่ง – รบั และแลกเปล่ียนข่าวสาร เพอ่ื ความเขา้ ใจรว่ มกัน มีความสมั พันธก์ ับ กระบวนการทางจติ วทิ ยา สังคม วฒั นธรรม และสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพของมนุษย์“การสือ่ สาร” ไม่ได้สนิ้ สุด เพียงแต่ผู้สง่ สารส่งข่าวสาร ขอ้ มูลความคดิ เห็น ความเข้าใจความรสู้ ึกไปให้ผูร้ ับสารเทา่ นน้ั แต่ผู้รับสารสามารถสง่ ขา่ วสาร ขอ้ มูลความคิดเห็น ความเข้าใจเป็นปฏิกริ ยิ ายอ้ นกลับ (feed back) ไปให้ผูส้ ่งสารได้เช่นกนั 1.4 องคป์ ระกอบของการส่อื สาร การสือ่ สารเปน็ กระบวนการทเ่ี กิดขึ้นและดาเนนิ ไปในสังคม โดยอาศยั องค์ประกอบสาคญั 7 ประการ คือ 1. ผู้ส่งสาร (Transmitter,Source,Sender,Originator) หมายถึง แหลง่ กาเนิดของสารหรือผูท้ ี่เลอื กสรร ข่าวสารที่เก่ยี วกับความคิด หรือเหตุการณต์ ่างๆทเี่ กดิ ขน้ึ แล้วสง่ ตอ่ ไปยังผรู้ บั สาร อาจเป็นคนเดยี ว คณะ หรอื สถาบนั ก็ได้ David K Berlo ได้เสนอแนวความคิดไว้วา่ การสอ่ื สารจะบรรลผุ ล ถ้าหากวา่ ผู้ส่งสารและผู้รบั สารมี ทักษะในการส่อื สาร (Communication Skills) ทัศนคติ (Attitude) และระดับความรู้ (Level of Knowledge) ในระดบั เดยี วกัน หรอื ใกล้เคียงกันและ อยใู่ นระบบสังคม (Social System) และวัฒนธรรม(Culture) เดยี วกัน 2. สาร (Message) หมายถงึ สาระหรือเรือ่ งราวท่ผี ้สู ง่ สารส่งไปยังผู้รบั สาร ซง่ึ อาจจะเปน็ ความคดิ หรอื เรอ่ื งราว ทง้ั วจั นะภาษา และอวัจนะภาษา องคป์ ระกอบของสารมี 3 ประการ คอื สัญลกั ษณ์ของสาร (Message Code) เนอื้ หาของสาร(Message Content) การเลือกหรือจัดลาดบั ข่าวสาร(Message Treatment) คาว่า “สาร” ในความหมายท่ีใชโ้ ดยท่วั ไปมักหมายถงึ เน้ือหาสาระของสารมากกวา่ ซงี่ กค็ ือข้อความทีผ่ ู้ส่งสาร เลือกใช้เพอ่ื สื่อความหมายตามที่ตอ้ งการ ท้งั นีอ้ าจจะรวมถึงขอ้ เสนอ บทสรุป และความคดิ เหน็ ตา่ งๆท่ีผู้ส่ง สารแสดงออกมาในข่าวสารนัน้ ๆ 3. ผูร้ บั สารหรือผู้ฟงั (Receiver or Audience ,Destination) หมายถงึ ผทู้ ่ไี ด้รับข่าวสารจากผู้สง่ สาร แล้วถอดรหสั ข่าวสารน้ันออกเป็นความหมายซ่ึงเป็นจุดหมายปลายทาง และเป้าหมายของการสือ่ สาร ผรู้ บั สาร อาจจะเปน็ บุคคลคนเดยี ว กล่มุ คน หรอื หลายคนกไ็ ด้ ซ่งึ แบง่ ผู้รบั สารไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ ผ้รู ับสารตามเจตนา ของผสู้ ง่ สาร(Intened Receiver) และผ้รู ับสารท่ีมิใช่เป้าหมายในการสื่อสารของผู้ส่งสาร ( Unintened Receiver) 4. สอื่ หรือชอ่ งทางการสอื่ สาร (Channel, Media) หมายถงึ ชอ่ งทางท่สี ารจากผสู้ ง่ สารผ่านออกไปยงั ผู้รับ สาร ส่งิ ใช้สื่อสารเป็นสญั ลักษณ์ แบ่งออกได้เปน็ 3 ประเภท คือ 4.1 ท่าทาง (Gestures) การใชท้ ่าทางในการแสดงออกน้ันจะต้องเปน็ สากลและเปน็ ท่ียอมรับ มากทส่ี ุดหรอื สามารถทาให้ผูอ้ ่นื เขา้ ใจได้ 4.2 ภาษาพูด (Language Spoken) มนษุ ยท์ กุ ชนชาติต่างมีภาษาพูดเป็นของตนเองมาแต่โบราณ กาลภาษาพดู มีข้อจากัดอยู้ 2 ประการ คอื ระยะทาง (Space) กบั เวลา (Time) 4.3 ภาษาเขยี น (Language Written) ภาษาเขยี นไมไ่ ด้หมายถงึ ตัวอักษรเทา่ นนั้ แต่รวมไปถึง รูปภาพ สีเสน้ ขนาดของตวั อกั ษร หรือสัญลักษณ์ตา่ งๆท่แี สดงออกด้วยการเขียน ก็นับว่าเป็นการส่อื สาร

โดยทางภาษาเขียนทงั้ สน้ิ ดงั นั้นในการสอื่ สารผู้ส่งสารจะตอ้ งเลอื กส่ือให้เหมาะสมกับลักษณะของผรู้ ับสาร และวตั ถปุ ระสงค์ในการสื่อสารด้วย 5. เสยี งหรอื สิง่ รบกวน (Noise) หมายถึง ปัญหาเกี่ยวกบั เสยี ง หรือสง่ิ รบกวนใดๆกต็ ามท่แี ทรกเขา้ มาใน ช่องทางสือ่ สารซึ่งผูส้ ่งสารไม่ปรารถนาใหส้ อดแทรกเข้ามา ทาให้การสื่อสารดาเนนิ ไปอย่างไมร่ าบรนื่ ไม่บรรลุ เป้าหมาย หรอื ไม่มีประสทิ ธิผลเทา่ ที่ควร ส่งิ รบกวนเหลา่ นแ้ี บ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื 5.1 สิง่ รบกวนภายนอก (Physical Noise) ซง่ึ อยูเ่ หนอื การควบคมุ ของผูร้ ับสาร เชน่ เสยี งเคร่อื งจักร ทางาน เสียงเพลงท่ดี ังเกนิ ไป 5.2 สิง่ รบกวนภายใน (Phychological Noise) ซ่ึงเกิดภายในตวั ผูร้ ับสารเอง เช่น หวิ ขา้ ว การเหม่อลอย 6. ปฏกิ ิริยาตอบกลับ (Feedback) หมายถึง วธิ ีการที่ผ้รู ับสารแสดงออกมาให้ผสู้ ง่ สารได้ทราบผลของการ ส่อื สารวา่ สาเร็จแค่ไหน บรรลุเปา้ หมายและสร้างความพอใจให้ผู้รบั สารมากนอ้ ยเพียงใด เพ่ือผูส้ ่งสารจะได้นามา ปรับปรงุ แก้ไข เปลยี่ นแปลง หรือคงสภาพ วิธีการ เน้อื หาสาระของสารและการเลือกส่ือ ซงึ่ จะทาใหก้ ารสื่อสารมี ประสิทธผิ ลดีย่งิ ขนึ้ หรอื พิจารณาวา่ ควรจะสื่อสารต่อไปหรือไมเ่ พยี งใด ปฏกิ ิรยิ าตอบกลับน้อี าจจะแสดงออกทางสี หน้า การตัง้ คาถาม การพดู โต้ตอบ หรือแสดงความคิดเห็นก็ได้ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คอื 6.1 ปฏิกิริยาตอบกลบั แบบทนั ทีทนั ใด (Immediate Feedback) จะเกิดขึน้ ในการสื่อสารแบบที่ผู้ส่งสาร หรอื ผู้รบั สารสามารถเหน็ หน้ากันได้ (Face to Face Communication) หรอื การติดต่อสือ่ สารระหว่างบุคคล (Interpersonal Communication) 6.2 ปฏกิ ิริยาตอบกลับแบบช้าๆ (Delayed Feedback) ซ่งึ เป็นลกั ษณะของการส่ือสารมวลชน ปฏิกิรยิ าตอบกลับมีด้วยกัน 2 ลกั ษณะ คอื ปฏิกิรยิ าตอบกลบั เชงิ บวก (Positive) และปฏกิ ิรยิ าตอบกลับเชงิ ลบ (Negative) ในการสื่อสารน้ันปฏกิ ิรยิ าตอบกลับเชิงบวกมกั จะกอ่ ใหเ้ กดิ ผลดี เพราะทาให้ผสู้ ง่ สารสามารถ ประเมนิ ผลความสาเรจ็ ของการสอ่ื สารได้ สว่ นปฏิกริ ยิ าตอบกลับเชิงลบจะแจ้งให้ทราบวา่ การสือ่ สารน้ันผดิ พลาด ลม้ เหลว หรอื บกพร่องอย่างไร ฉะนนั้ ปฏิกิริยาตอบกลับจึงเป็นกลไกควบคุมกระบวนการสอ่ื สารดว้ ย แตบ่ างครัง้ ที่ ผู้รบั สารไม่แสดงปฏิกิรยิ าตอบกลบั ให้ผู้สง่ สารทราบ เข่น การสอ่ื สารมวลชน จะทาให้เกิดปัญหาในการสอื่ สารได้ 5 7. ประสบการณ์ (Frame of Reference/Field of Experience) หมายถึง ประสบการณข์ องผู้สง่ สาร หรือผูร้ ับสาร รวมทงั้ ความรูแ้ ละความรู้สกึ นึกคดิ อารมณแ์ ละทศั นคติ ซ่ึงทาให้ความเขา้ ใจสารของผูร้ บั สารเหมอื น หรือคลา้ ยคลึงกบั ผู้ส่งสาร ทาให้ผ้รู ับสารเข้าใจสารไดต้ ามวัตถุประสงค์ของผ้สู ง่ สาร โดยการใช้ประสบการณ์ท่ีมอี ยู่ ตีความหมายของสญั ลักษณ์ หรือสารทร่ี บั หรอื ส่งมา Wilbur Schramm กล่าววา่ มนุษยจ์ ะรับรู้และเข้าใจ ความหมายของสิง่ ตา่ งๆได้ไม่หมด จะรับสารไดแ้ ต่เพยี งเฉพาะส่งิ ท่มี ีประสบการณร์ ่วมกบั ผูส้ ่งสารเท่านั้น ในทานอง เดยี วกัน ผูส้ ง่ สารกม็ ีความสามารถจากัดที่จะส่งสารได้ภายในขอบเขตของประสบการณ์ของตนเองเทา่ นัน้ ดงั นน้ั การสือ่ สารจะสาเรจ็ หรอื ไม่ มากน้อยเพยี งใดก็ขึน้ อยกู่ ับว่าผู้สง่ สารและผรู้ บั สารมีประสบการณร์ ่วมกนั หรอื ไม่ น่ันเอง 1.5 รูปแบบของการสือ่ สาร 1. แบ่งตามลักษณะกระบวนการสื่อสารได้ 2 ประเภท คอื 1.1 การส่ือสารทางเดยี ว (One-way Communication Process) มลี กั ษณะเป็นการถา่ ยทอดสารจากผู้ สง่ สารโดยไมเ่ หน็ การตอบสนองในทนั ทีทันใด จึงดเู หมือนวา่ ผู้ส่งสารส่งข้อมลู เพยี งผเู้ ดยี วโดยไมพ่ จิ ารณาปฏิกริ ยิ า โตต้ อบของผรู้ ับสาร ความจริงแล้วการวเิ คราะห์ผู้รับสารยงั จาเป็น แต่เปน็ ลกั ษณะของการประมาณการ สมุ่ ขอ้ มูล

หรอื ศกึ ษาผู้รับสารในสภาพกวา้ งๆ ไดแ้ ก่ การร้องเพลง การโฆษณาทางวิทยหุ รือโทรทัศน์ เปน็ ต้น S = Sender ผสู้ ่งสาร M = Message สาร C = Channel ส่อื หรือชอ่ งทางในการสอื่ สาร R = Receiver ผรู้ ับสาร 1.2 การสอื่ สารแบบสองทาง (Two-way Communication Process) เมือ่ ผูส้ ง่ สารตอ้ งการทราบว่าสาร ที่สง่ ไปไดผ้ ลสมประสงคห์ รือไม่ หรอื ผูร้ ับสารอาจจะแสดงปฏกิ ริ ยิ าหรอื พฤติกรรมตอ่ สารทีไ่ ดร้ บั แล้วแสดงการ โต้ตอบกลบั มา เปน็ กระบวนการที่เคลอ่ื นไหวตอ่ เน่ือง ได้แก่ การสอื่ สารระหว่างบุคคลหรอื ในกลมุ่ การเรียนใน ห้องเรียน เป็นตน้ 2. แบง่ ตามจานวนของผทู้ าการส่อื สาร ได้ 6 ประเภท คอื 2.1 การสอ่ื สารภายในตวั เอง (Intrapersonal Communicstion) คือ ผู้ส่อื สารเป็นทั้งผสู้ ่งสารและผู้รบั สารภายในบุคคลเดยี วกนั โดยใช้สัญลักษณ์ทตี่ นใช้ในการสื่อสารกับผอู้ ่ืนมาสื่อสารกบั ตนเอง ไดแ้ ก่ การจินตนาการ การลาดับความคิด การอ่านจดหมาย เปน็ ตน้ 2.2 การสอ่ื สารระหว่างบคุ คล (Intrapersonal Person to Person /Communication) คอื การส่อื สาร ระหว่างบุคคลต้งั แต่ 2 คนขึน้ ไป เชน่ การสนทนา สามารถขยายไปเป็นการสอื่ สารของคนในกลุ่มเล็กๆ ประมาณ 3-15 คน (Small Group Communication) กไ็ ด้ เช่น การประชุมกลุม่ เป็นตน้ 2.3 การสื่อสารในกลมุ่ คนมากๆ (Large Group Communication) มักเปน็ การส่อื สารแบบทางเดียว คือ ผสู้ ง่ สารสง่ ขอ้ มูลไปยงั ผรู้ ับสารจานวนมาก เชน่ การอภิปราย การหาเสียงเลอื กตง้ั เปน็ ตน้ 2.4 การสอ่ื สารในองคก์ าร (Organizational Communication) ปญั หาตา่ งๆท่ีเกิดขึ้นในองคก์ ารมักมา จากการส่อื สารในองค์การทง้ั ส้นิ 2.5 การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) เป็นการสื่อสารทางเดยี วจากกลุม่ ผู้สง่ สารไปยงั ผู้รบั สารที่เปน็ บุคคลจานวนมากในที่ตา่ งๆกนั ได้แก่ วทิ ยุ โทรทัศน์ สงิ่ พิมพต์ ่างๆ เปน็ ต้น 2.6 การสอ่ื สารระหวา่ งชาติ (International Communication) ในปัจจบุ นั เทคโนโลยีการสอ่ื สารมี ประสิทธภิ าพสูงขึน้ ทาให้การสอื่ สารระหว่างประเทศเป็นไปไดอ้ ย่างรวดเรว็ จนทาให้ขอ้ มูลจากซีกโลกหนง่ึ สง่ มา ใหอ้ ีกซกี โลกหน่งึ ไดอ้ ย่างรวดเรว็ เช่น โทรศัพท์ระหวา่ งประเทศ อินเตอร์เนต เป็นตน้ 3. แบ่งตามลักษณะการเหน็ หนา้ ของผู้ส่งสารกบั ผู้รับสาร ได้ 2 ประเภท คอื 3.1 การสง่ สารแบบท่ีผู้สง่ สารและผู้รบั สารสามารถเห็นหนา้ กันได้ (Face to Face Communication) เช่น การสนทนา เปน็ ตน้ 3.2 การสอื่ สารแบบไม่เหน็ หน้ากัน (Interposed Communication) เช่น โทรศัพท์ จดหมาย สือ่ สารมวลชน ทาให้โอกาสท่ีจะไดร้ ับปฏิกิรยิ าตอบโต้กลบั แบบทนั ทีลดน้อยลง 4. แบง่ โดยคานงึ ถงึ ภาษาทใ่ี ช้ ได้ 2 ประเภท คือ 4.1 การสอ่ื สารโดยใช้คาหรือตัวอกั ษร (Verbal /Language Communication) ซึ่งเป็นสิง่ ท่ีควบคุมหรอื ดดั แปลงได้ เชน่ การพดู การเขียน เปน็ ตน้ 4.2 การสือ่ สารทไี่ ม่ใช้คาหรือตัวอักษร (Nonverbal Communication) ซ่ึงเปน็ สิ่งทค่ี วบคุมคอ่ นขา้ งยาก เช่น การเคล่อื นไหวรา่ งกาย เวลา ระยะหา่ งระหวา่ งผ้สู ง่ สารกบั ผู้รับสาร วตั ถุทใ่ี ช้สอื่ สาร นา้ เสียง เปน็ ต้น

5. แบง่ โดยวัฒนธรรม (Cross-cultural Communication / Intercultural Communication) คือ การ สือ่ สารระหวา่ งคนท่มี ีวัฒนธรรมแตกต่างกนั เชน่ การติดต่อสื่อสารระหว่างคนไทยในเมืองและในชนบท 1.6 กระบวนการสื่อสาร กระบวนการส่ือสาร (Communication Process) หมายถึงการสง่ สารจากแหล่งหนึง่ ไปยังอกี แหลง่ หน่ึง ซึง่ ตอ้ งอาศยั องค์ประกอบการสื่อสารขั้นต้น วิธที ่ีใชม้ ากที่สุด คือ การพูด การฟัง และการใชก้ ิรยิ าท่าทาง 7 เกยี่ วกับกระบวนการนี้ มกั มุ่งสังเกตปฏกิ ริ ิยาโต้ตอบเปน็ สาคัญ กิรยิ าโตต้ อบแบง่ ออกเป็น 2 ลักษณะ ดงั นี้ คอื 1. ปฏิกริ ยิ าโต้ตอบในทางบวก (Positive) รับแลว้ พอใจ กระตอื รือรน้ ท่จี ะส่งสารออกไป 2. ปฏิกิริยาโต้ตอบในทางลบ (Negative) จะมผี ลเกดิ ขนึ้ ใน 2 ลกั ษณะ คือ 2.1 ปฏิกิริยาต่อต้านและจะทาตอ่ ไป 2.2 ปฏกิ ริ ยิ าทจ่ี ะหยุดการส่งสารทันที การสง่ สารที่ดตี ้องอาศยั คุณสมบัติของผสู้ ง่ สาร ผู้รับสาร และสภาพแวดลอ้ ม การสือ่ สารมี 5 รูปแบบ คือ 1. การพดู ผู้พูดต้องพูดให้ผ้ฟู งั เข้าใจ ไมพ่ ดู สบั สน หรือกอ่ ให้เกดิ ความราคาญ หรอื โกรธเคือง 2. การฟงั ผู้ฟังตอ้ งฟงั อย่างตั้งใจ ไม่ทาสิง่ รบกวนผุ้พูด ต้องพยายามเขา้ ใจความหมายและความรูส้ ึกของผู้ พูด อยา่ บดิ เบือนความเขา้ ใจตอ่ สารทไี่ ด้รบั 3. การเขยี น ผเู้ ขยี นต้องเขียนให้แจม่ ชัด อักษรชดั เจน ขนาดอา่ นไดส้ ะดวก ควรใชค้ าที่แสดงความ ต้องการหรือความรูส้ กึ ให้ผ้อู ่านเข้าใจ 4. การอา่ น ผอู้ ่านตอ้ งพยายามอ่านใหเ้ ข้าใจผเู้ ขยี นโดยไม่บิดเบือนเจตนาของผ้เู ขียนและอ่านด้วยความ สุจริตใจ 5. การใช้กรยิ า ผสู้ ่งสารและผูร้ ับสารอาจจะใชท้ ่าทางประกอบการสอ่ื สารระหว่างกนั และกันเพ่ือทาให้ การส่อื สารมคี วามชัดเจนย่ิงขึ้นการพดู การฟัง การอ่าน การเขยี น ใชว้ จั นะภาษาเป็นองค์ประกอบ การใชก้ รยิ า ใชอ้ วัจนะภาษาเปน็ องค์ประกอบ 1.7 ข้ันตอนในการส่ือสาร (Stages in Communication) ในการส่ือสารจะเกดิ ข้ันตอนเรยี งตามลาดับดังนี้ 1. ระยะแรกความต้องการการสอื่ สาร คอื ส่งิ ท่ีเกดิ ขน้ึ ทาใหบ้ ุคคลตอ้ งการสอ่ื สารหรอื ทาการสอ่ื สาร ซง่ึ อาจจะเป็นส่ิงเร้าภายนอก เชน่ จดหมาย ขอ้ สงั เกตจากการสังเกตเห็นผู้อืน่ เกิดความคิดข้นึ ระยะนจี้ ะเกิด จดุ ม่งุ หมายของการสอ่ื สารและผฟู้ ังดว้ ย 2. ระยะที่สอง สารถกู สร้างขึน้ ระยะนค้ี วามคิดหรือการวิจัยค้นคว้าจะเกิดข้นึ ก่อน แล้วตามด้วยการ ตัดสนิ ใจเกีย่ วกับเน้อื หาของสาร 3. ระยะทสี่ าม การตดั สนิ ใจท่ีจะใชช้ ่องทางสื่อ และรปู แบบของการสื่อสารเกิดขน้ึ 4. ระยะทีส่ ่ี สารถกู ส่งออกไป 5. ระยะที่ห้า ผฟู้ งั ไดร้ บั สารและเขา้ ใจจุดมุ่งหมายของการสอื่ สารซงเป็นท่ีเข้าใจไดว้ ่า การสื่อสารสาเร็จ ตามวตั ถปุ ระสงค์ วงจรเช่นน้จี ะเรม่ิ ขึน้ อกี ถา้ ผฟู้ งั มกี ารสอื่ สารกลบั สิ่งสะกัดกั้นของการส่ือสาร (Barrier) หมายถงึ ส่ิงทมี่ าทาให้การสอื่ สารหยดุ ชะงักระหวา่ งการส่อื สาร (Communication Breakdown) ทาใหก้ ารส่อื สารไม่สาเร็จหรอื ไม่บรรลเุ ปา้ หมายตามที่ต้องการ ซงึ่ อาจจะมา

จากสาเหตตุ ่างๆกนั ดังน้ี 1. ผสู้ ง่ สารเอง เช่น ผูส้ ง่ สารมคี วามรู้มาก แตไ่ มส่ ามารถถ่ายทอดให้ผู้อ่นื เขา้ ใจได้ 2. ตวั สาร เช่น ข้อความในสารไมช่ ดั เจน 3. สื่อหรือชอ่ งทาง เชน่ ผู้รบั สารน่ังไกลเกนิ กวา่ จะได้รับสารไดถ้ นัด 4. ผู้รบั สาร เชน่ ผ้รู บั สารมที ัศนคติ ความรู้ และอยู่ในระบบวัฒนธรรม สงั คมทีแ่ ตกต่างจากผสู้ ่งสาร 5. สงิ่ รบกวน เช่น ผู้รับสารง่วงนอนหรือหลับใน 6. ประสบการณ์ เช่น ความแตกต่างระหว่างผูส้ ่งสารและผ้รู บั สารในเร่ือง วยั ประสบการณ์ ทศั นคติ ระบบสงั คมและวัฒนธรรม หรอื ภูมิหลัง จงึ ทาให้ไมเ่ ข้าใจซง่ึ กนั และกนั 1.8 การเลอื กใช้สือ่ ในการส่ือสาร (Media of Communication) 1. การส่ือสารด้วยการเขียน รปู แบบของการเขยี นทใ่ี ช้ทางธรุ กิจมีหลายแบบ เชน่ ข้อความสัน้ ๆ บันทกึ ข้อความ คาแถลงการณ์ ประกาศ จดหมาย รายงาน แบบสอบถาม แบบฟอร์มหนังสอื วารสาร โฆษณา ฯลฯ การ สอ่ื สารด้วยการเขียนมีข้อดีข้อเสยี ดงั น้ี ข้อดี ก. เปน็ สื่อท่มี ีความคงทนถาวร ข. ช่วยหลกี เลี่ยงการพบปะเปน็ การส่วนตวั ค. เหมาะกบั ข้อความท่ยี าวและยากซ่ึงต้องการศึกษาอยา่ งละเอียด ง. เปน็ ส่ือที่มีลกั ษณะเป็นทางการมากกว่าสื่อดว้ ยวธิ อี ืน่ ๆ ใชเ้ ป็นหลกั ฐานได้ จ. สะดวกในการตดิ ต่อกบั คนเปน็ จานวนมาก ข้อเสีย ก. ราคาแพง มีค่าใช้จ่ายสูง เช่น เลขานกุ าร เครื่องพมิ พ์ดดี คา่ ไปรษณียากร เป็นต้น ข. เสยี เวลาในการผลิต ค. มคี วามลา่ ช้าเพราะการขนส่ง ง. เสียเวลาในการเลอื กใช้ภาษา เพอ่ื ไมใ่ หผ้ ิดพลาดในการส่ือสาร จ. ความคงทนถาวร ทาใหย้ ากตอ่ การแก้ไขเมือ่ ทาผดิ พลาดไป 2. การส่อื สารด้วยวาจา ได้แก่ การพูดโทรศัพท์ การพูดในทป่ี ระชุม การใหส้ ัมภาษณ์ และการพดู ในทกุ ๆท่ี การส่ือสารดว้ ยวาจามี 2 ลักษณะ คือ การพูดแบบเผชิญหนา้ กัน และการพดู แบบไม่เผชญิ หน้ากนั การส่อื สารดว้ ย วาจามขี อ้ ดี ขอ้ เสีย ดังน้ี ขอ้ ดี ก. สะดวก รวดเรว็ เชน่ การใชโ้ ทรศพั ท์ ข. ประหยัดเงนิ การใช้โทรศัพทใ์ นท้องถ่ินเดยี วกันย่อมถกู กว่าการเขยี นจดหมาย ค. เน้นความสาคญั ของข้อความได้ โดยการเนน้ คาพูด ความดงั ของเสยี ง จงั หวะในการพูดและน้าเสยี ง ช่วยเนน้ ใหเ้ ห็นความสาคญั ของสิ่งที่พดู ได้ ง. การสื่อสารดว้ ยวาจา เปน็ วธิ ที ไ่ี มเ่ ป็นทางการทส่ี ดุ ในบรรดาวธิ ีการส่อื สารต่างๆทใ่ี ช้ เชน่ การพดู คยุ เล่น ระหว่างทาง จ. คนสว่ นมายอมรับการพูดซา้ ๆได้มากกวา่ การเขียนซา้ ๆ ทาให้การสื่อสารด้วยวาจาดูงา่ ยกวา่ เพราะไม่ ต้องคอยระมดั ระวงั มาก

ข้อเสีย ก. ผพู้ ูดต้องพดู จาให้ถูกต้องชดั เจน ข. สว่ นใหญ่ไม่มีการบันทึกเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร จึงถูกบิดเบอื นไดง้ ่าย เม่อื มีการสง่ ขอ้ ความตอ่ ๆกัน ค. คนส่วนมากมักจาสิ่งที่ไดย้ นิ เพยี งครั้งเดยี วไม่คอ่ ยได้ ง. การส่อื สารด้วยวาจาเปน็ วธิ ที ไี่ ม่ไดผ้ ลมากที่สดุ ในกรณีทีผ่ ูพดู ต้องการความแนใ่ จว่าตนไดส้ ื่อสารกบั คน กลุ่มใหญก่ ลุม่ หน่ึงเป็นพิเศษ จ. คนสว่ นใหญ่ไม่ระมัดระวงั มากเม่ือส่อื สารดว้ ยวาจา ในการส่อื สารด้วยวาจาแบบเผชญิ หน้ากัน นอกจากคาพดู แลว้ ปฏิกริ ิยาและอวยั วะต่างๆของรา่ งกายกม็ ี ส่วนเกยี่ วขอ้ งในการส่อื สารดว้ ย การแสดงออกของสีหน้า การสบตา การใชม้ ือ ทา่ ทาง ระยะหา่ งระหว่างคสู่ นทนา ตลอดจนการสมั ผสั กัน สิ่งเหลา่ นีค้ ือการสือ่ สารแบบ อวจั นะภาษา (Non-Verbal Communication) 3. การส่อื สารด้วยรูปหรือภาพต่างๆ เช่น ภาพลายเส้น ปา้ ยประกาศ ภาพถ่าย เป็นต้น รวมถงึ อปุ กรณ์ โสตทัศนศกึ ษาที่ใชใ้ นการฝึกและสอนทงั้ หมด เช่น โทรทศั นว์ งจรปิด แผ่นโปรง่ ใส ภาพยนตร์ ซง่ึ มขี อ้ ดี ขอ้ เสียดังนี้ ข้อดี 1. สามารถดึงดดู ความสนใจไดด้ ี 2. ทาให้สะดดุ ตา เชน่ ปา้ ยโฆษณา 3. ใชเ้ ป็นท่ีเข้าใจได้ตรงกนั เชน่ ป้ายจราจร ข้อเสีย 1. ใช้ไดก้ ับเฉพาะวิชาทีเ่ ปน็ รูปธรรม 2. แบบเรียบๆไม่ตกแต่งมากจะดึงดูดความสนใจไดม้ ากกว่าขอ้ ความท่ียากๆ แต่อาจต้องใชร้ ปู ภาพเปน็ ชุด ต่อๆกันในการส่ือสาร 1.9 ภาษากับการสื่อสาร ภาษาเป็นส่ิงสาคัญในการส่อื สารเนอ่ื งจากภาษาทาหนา้ ทเ่ี ป็นตวั กลางทท่ี าให้ผู้ส่งสารและผู้รับสารเขา้ ใจ ตรงกนั ในกระบวนการสอ่ื สารผูส่งสารจะต้องแปรสาร อนั ได้แก่ ความรสู้ ึกนกึ คิด ความตอ้ งการ ตลอดจน ขอ้ เทจ็ จริงตา่ งๆ ส่งผรู้ บั สารโดยทาให้เปน็ สญั ลักษณ์ ซ่ึงกค็ ือ “ภาษา” นนั่ เอง ภาษา หมายถงึ เครอื่ งมือที่ใช้สือ่ สารความเข้าใจระหว่างมนษุ ย์ ซึ่งทาได้หลายวิธีท้งั โดยใช้เสยี ง กิรยิ า ทา่ ทาง ถอ้ ยคา ฯลฯ อยา่ งไรก็ดี วธิ กี ารเหล่านต้ี อ้ งมรี ะเบียบและการกาหนดรู้ความหมายเปน็ ข้อตกลงร่วมกันจึง จะนับว่าเป็นภาษา การศึกษาเรื่องธรรมชาตขิ องภาษาเป็นการศึกษาความเปน็ ไปของภาษาว่ามลี ักษณะอยา่ งไร เพ่ือนา ภาษาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตลอดจนทาให้ผู้ศกึ ษามคี วามระมัดระวังในการใช้ภาษาอกี ดว้ ย ธรรมชาติของภาษามี หลายประการ ดงั นี้ 1. ภาษาเปน็ พฤตกิ รรมทางสงั คม ภาษาเกดิ จากการเรยี นรู้ เลยี นแบบ ถา่ ยทอดจากบุคคลในสังคม เดียวกนั มใิ ชเ่ กิดสญั ชาตญาณหรอื พันธุกรรม เช่น เดก็ ไทยไปอยูก่ ับครอบครัวชาวอังกฤษต้ังแต่เป็นทารก ก็จะพูด ภาษาองั กฤษเหมอื นบคุ คลในครอบครัวนั้น 2. ภาษาเปน็ เคร่อื งมือสอื่ สารของมนุษย์ มนุษยก์ าหนดภาษาขึน้ ใช้เพื่อความหมายระหวา่ งมนษุ ย์ ภาษา เป็นตัวกลางถ่ายทอดความรู้ ความคดิ ความรู้สึก ความตอ้ การของบุคคลหน่งึ ไปส่อู กี บคุ คลหนึ่งทาให้เกดิ ความ

เขา้ ใจกัน การส่อื สารของมนุษย์ไมว่ า่ จะเป็นการฟงั การพดู การอ่าน หรอื การเขยี นตอ้ งอาศัยภาษาทงั้ สิน้ หาก ปราศจากภาษามนษุ ย์กจ็ ะไม่สามารถติดตอ่ ส่ือสารกนั ได้ 3. ภาษามโี ครงสรา้ งที่เป็นระบบระเบยี บ มีโครงสรา้ งท่ีมีลกั ษณะเฉพาะ มรี ะบบกฎเกณฑ์ทแ่ี นน่ อนซึ่งทา ให้มนุษยเ์ ขา้ ใจและเรยี นรูภ้ าษาน้นั ๆได้ และสามารถสอื่ ความเข้าใจกับบุคคลอ่นื ได้โดยใชร้ ะบบสือ่ ความหมาย เดียวกนั การศกึ ษาโครงสรา้ งของภาษาจงึ เปน็ สิง่ จาเป็น 4. ภาษาประกอบไปด้วยเสียงและความหมาย เสียงทม่ี นษุ ยไ์ ด้ยินมที ัง้ ทม่ี ีความหมายและไม่มคี วามหมาย แตเ่ สียงทีม่ ีความหมายจึงนับวา่ เปน็ ภาษา เนอ่ื งจากความหมายเปน็ ปัจจยั สาคญั ในการกาหนดภาษา ลักษณะในขอ้ นจ้ี ะไม่รวมไปถึงภาษาสัญลักษณต์ ่างๆ เชน่ ภาษามือของคนหูหนวก หรืออกั ษรเบรลลข์ องคนตาบอด 5. ภาษาผูกพันกบั วัฒนธรรมในสังคม เนอ่ื งจากภาษาถูกกาหนดโดยคนในสังคม ดังนนั้ ภาษาจึงมลี ักษณะ สอดคล้องกบั วฒั นธรรมของสังคมนน้ั เช่น ในสงั คมไทยมีระบบอาวโุ ส ภาษาไทยจึงมเี รอื่ งระดับของภาษาเขา้ มา เกย่ี วข้อง เรียกได้ว่าภาษามคี วามผกู พันกบั วัฒนธรรมอย่างแยกกันไมอ่ อกท่เี ดยี ว 6. ภาษามีการเปล่ยี นแปลงได้ ภาษาอาจเกิดข้นึ ใหมต่ ามความนิยมตามวฒั นธรรมหรอื วิทยาการใหม่ๆ อาจเกิดจากการสร้างคา การยมื คา ฯลฯ ทาให้มคี าใชใ้ นภาษามากข้นึ และหากภาษาหรอื คาท่ีไม่มผี ู้ใช้สืบตอ่ กนั มา กจ็ ะตายไป เช่น ภาษากรีก ภาษาสันสกฤต เป็นต้น ภาษาเป็นเครือ่ งมือสือ่ ความคิดความเข้าใจระหวา่ งกัน โดยทว่ั ไปภาษามีหนา้ ทหี่ ลกั 3 ประการ คอื 1. ใหข้ ้อเท็จจริง ภาษาจะอธบิ ายสิง่ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ตามปรากฏการณท์ เี่ ปน็ จรงิ หรือไม่เปน็ จรงิ อย่าง ตรงไปตรงมาโดยคานึงถงึ เนือ้ หาเป็นหลกั และอาจมกี ารอธบิ ายหรอื ใหเ้ หตผุ ลดว้ ย เช่น การเขยี นข่าว การเขียน ตารา การเขยี นรายงาน 2. แสดงความรสู้ ึก ภาษาทท่ี าหนา้ ทนี่ จี้ ะบรรยายความรูส้ ึกต่างๆ ของมนุษย์ มลี กั ษณะการเร้าอารมณใ์ ห้ ผ้ฟู ังหรอื ผ้อู ่านคลอ้ ยตามหรือเกิดอารมณเ์ ดยี วกันกบั ผูพ้ ูดหรอื ผูเ้ ขยี น โดยไม่มจี ดุ มงุ่ หมายใหข้ อ้ เท็จจรงิ เป็นหลัก เชน่ การโฆษณา งานประพนั ธ์ 3. ใหข้ อ้ คิดเห็น ภาษาท่ีทาหนา้ ที่นมี้ งุ่ ให้เกิดการกระทาอยา่ งใดอย่างหนง่ึ หรอื ไม่ใหเ้ กดิ การกระทาอยา่ งใด อย่างหนง่ึ เชน่ การขอร้อง คาสงั่ หรือการแนะนา ตวั อย่างงานเขียนทใี่ ช้ภาษาลักษณะนี้ คือ บทความ คาขวัญ การโฆษณา คาปราศรยั หาเสยี ง ภาษาทีใ่ ชแ้ บ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. วัจนภาษา (Verbal Language) หมายถงึ ภาษาทีใ่ ช้ถ้อยคาหรอื ลายลักษณอ์ ักษรในการสอ่ื ความหมาย ภาษาพดู หรือถอ้ ยคา คือเสียงทม่ี นษุ ย์ตกลงกันให้ทาหนา้ ทีแ่ ทนมโนภาพของส่งิ ของต่างๆทม่ี นุษย์ด้วยกนั สามารถ รับรู้ไดท้ างประสาทสัมผัสตา่ งๆ อันไดแ้ ก่ ตา หู จมูก ลนิ้ และกาย และเมอื่ มนษุ ย์มีความเจรญิ มากข้นึ จึงได้คดิ เครอื่ งหมายแทนเสยี งพดู และเขียนลงไวเ้ ป็นลายลกั ษณอ์ ักษร เปน็ ภาษาเขียน ทง้ั ภาษาพูดและภาษาเขยี นจงึ จดั เป็นวัจนภาษา 2. อวัจนภาษา (Nonverbal Language) หมายถงึ ภาษาทีเ่ กิดจากกิริยาทา่ ทางตา่ งๆทีป่ รากฏออกมาทาง ร่างกายของมนษุ ย์รวมท้ังเครื่องหมายหรือสญั ญาณอ่ืนๆ ทส่ี ามารถสือ่ ความหมายได้ จงึ เรยี กอกี อยา่ งหนึง่ วา่ กาย ภาษา (Body Language) แบง่ ออกเป็น 7 ประเภท ดงั นี้ 2.1 เทศภาษา (proxemics) หมายถงึ ภาษาท่ีปรากฏขึ้นจากลักษณะของสถานทีท่ ี่บุคคลทาการสือ่ สาร กันอยรู่ วมทั้งจากชว่ งระยะเวลาที่บคุ คลทาการสอื่ สารอยู่ห่างกนั ทง้ั สถานทแี่ ละชว่ งระยะจะแสดงให้เห็น

ความหมายบางประการทอี่ ยู่ในจิตสานึกของบคุ คลผูก้ าลังสอ่ื สารน้ันได้ เช่น การต้อนรับเพอื่ นสนทิ ในหอ้ งนอนแต่ ต้อนรับบคุ คลอ่ืนในหอ้ งรบั แขก หรอื การน่ังชิดกับเพ่ือน แต่นัง่ หา่ งจากอาจารย์พอสมควร 2.2 กาลภาษา ( chonemics) หมายถงึ การสือ่ สารทเ่ี กิดจากการใชเ้ วลาเพ่อื แสดงเจตนาของผู้ส่งสารทจี่ ะ ก่อใหเ้ กิดความหมายเปน็ พิเศษแก่ผูร้ ับสาร เชน่ การท่นี ักศึกษาเขา้ เรียนตรงตามเวลาแสดงถึงความสนใจเรยี น และให้เกียรติแก่อาจารย์ผู้สอน หรือการทชี่ ายหนุ่มนงั่ รอหญงิ สาวเป็นเวลานานยอ่ มแสดงวา่ เขาให้ความสาคัญแก่ หญงิ สาวนน้ั มาก 2.3 เนตรภาษา (oculesics) หมายถงึ อวจั นภาษาที่เกดิ จากการใช้ดวงตาหรือสายตาเพ่อื สือ่ อารมณ์ ความรู้สกึ นกึ คิด ความประสงคแ์ ละทัศนคตบิ างประการในตัวผ้สู ่งสาร เช่น การสบตา การจ้องหน้า การหลบ สายตา การชาเลอื ง 2.4 สมั ผัสภาษา (haptics) หมายถงึ การใช้อาการสัมผัสเพอ่ื สื่อสารความรูส้ กึ และอารมณ์ตลอดจนความ ปรารถนาทฝ่ี งั ลกึ อยู่ในใจของผูส้ ง่ สารไปยังผูร้ ับสาร เช่น การจบั มือ การคล้องแขน การโอบกอด การจมุ พติ 2.5 อาการภาษา (kinesics) หมายถึง อวจั นภาษาท่ีอย่ใู นรปู ของการเคลื่อนไหวร่างกายเพอ่ื สอื่ สาร อัน ไดแ้ ก่การเคลอื่ นไหวศีรษะ แขน ขา และลาตัว เช่น การกม้ ศีรษะ การไหว้ การน่งั ไขวห้ ้าง การหมอบคลาน 2.6 วัตถุภาษา (obiectics) หมายถึง การใชแ้ ละเลอื กวัตถมุ าใช้เพือ่แสดงความหมายบางประการให้ ปรากฏ เชน่ เครอ่ื งแต่งกาย การจัดแตง่ บ้าน การเลือกใช้เคร่อื งประดับ ซง่ึ วัตถเุ หลา่ นจ้ี ะทาหนา้ ทเ่ี ป็นสารบอก กจิ กรรม ภารกจิ สถานภาพ รสนยิ ม ตลอดจนนิสัยของบคุ คลได้ 2.7 ปรภิ าษา (vocalics) หมายถงึ การใช้น้าเสยี งประกอบถอ้ ยคาท่พี ูดออกไป เชน่ การเนน้ เสียงพดู ความดัง ระดบั ความท้มุ แหลม ความเรว็ จงั หวะความชัดเจน และคุณภาพของนา้ เสยี ง นา้ เสยี งท่เี ปล่งออกไปน้ี ไม่ใชถ่ ้อยคา แตแ่ นบสนทิ อยูโ่ ดยรอบถอ้ ยคาและมคี วามสาคัญมากในการส่ือความหมาย ในการสอื่ สารยอ่ มใช้ทั้งวัจนภาษาและอวจั นภาษาประกอบกัน ซึ่งจะมีความสัมพันธ์กนั เป็น 5 ลักษณะ ดงั น้ี 1. ตรงกัน การแสดงออกโดยไม่ใช้คาพูดอาจทาใหเ้ กิดความหมายซ้ากับคาพูดได้ เชน่ การพยักหนา้ ยอมรับพร้อมกบั พดู วา่ “ใช”่ 2. แยง้ กัน บางครั้งพฤติกรรมของบคุ คลอาจจะแยง้ กบั คาพูดของบุคคลผูน้ ้นั เอง เช่น ลาไยชภู าพให้เพือ่ น ดูแลว้ ถามว่า “สวยไหม” เพื่อนตอบวา่ “สวยดี” แต่ไม่ได้จับตาดูภาพนนั้ เลยกลบั ชาเลืองไปทางอืน่ 3. แทนกัน บางครั้งอวจั นภาษาทาหน้าทีแ่ ทนวัจนภาษาได้ เช่น การกวักมือแทนการเรียกให้เข้ามาหา การปรบมอื แทนการชมเชยหรอื ความพงึ พอใจ 4. เสรมิ กนั อวจั นภาษาเพม่ิ หรือเสริมน้าหนักใหแ้ ก่คาพดู ได้ โดยเฉพาะคาพูดท่ีผู้ใช้ต้องการแสดงอารมณ์ หรอื แสดงภาพให้เหน็ จรงิ เหน็ จงั เช่น เดก็ เล็กๆท่ีผูกพันกบั แม่ และพูดว่า “รกั แมเ่ ท่าฟา้ ” พรอ้ มทั้งกางแขนออก กว้างเพื่อยืนยันหรอื เสริมความชดั เจนของคาพูดนน้ั 5. เนน้ กนั การพดู โดยรู้จกั เน้นในท่ีทคี่ วรเนน้ การเน้นใหม้ นี ้าหนักแตกตา่ งกนั จะช่วยเพิ่มนา้ หนกั ใหแ้ ก่ คาพูดได้ เช่น การบงั คบั เสยี งให้ดังหรอื ค่อยกว่าปกติ การเคล่อื นไหวของมอื แขน และศรี ษะ ตวั อยา่ งเช่น การพดู วา่ “ฉันเกลียดแก” โดยเน้นคาว่า “เกลยี ด” และยกมือชหี้ น้า ในขณะทพ่ี ูดว่า “แก” เป็นการเน้นย้าอารมณแ์ ละ ความรูส้ ึกของผู้พูด การใชภ้ าษาเพอ่ื การสื่อสารนนั้ จะต้องใช้วัจนภาษาและอวจั นภาษาประกอบกนั ซึ่งมีความสมั พนั ธ์การ

สอ่ื สารในฐานะรหัส หรอื สัญลักษณ์ที่ใช้แทนสาร การทีจ่ ะเขา้ รหสั คอื สง่ สารหรอื ถอดรหัสคือรับสารได้ดีน้ัน จะต้อง ใชท้ ักษะทางภาษาซึง่ เกดิ ข้ึนจากการฝึกฝนเปน็ ประจา เมือ่ คนไมส่ ามารถหลกี เลยี่ งจากการมสี ่วนรว่ มใน กระบวนการส่ือสารไดจ้ ึงจาเป็นตอ้ งเรยี นรูท้ กั ษะการใชภ้ าษาใหเ้ ชียวชาญเพื่อจะได้แปรสารเป็นรหัสทางภาษาท่ี แจ่มแจ้งชัดเจนเมื่อเปน็ ผู้ส่งสาร และเม่อื เป็นผูร้ บั สารก็สามารถถอดรหสั ได้อยา่ งถูกต้อง มีวจิ ารณญาณไตรต่ รองวา่ สารน้นั สมควรจะยอมรบั หรอื ปฏบิ ตั ิตามหรอื ไม่ หากเรยี นรูถ้ ึงกระบวนการสือ่ สารและนามาใชป้ ระโยชนใ์ นการ แสวงหาความรูท้ ั้งในระบบการศกึ ษาและในชีวติ ประจาวัน ท่ีมา : http://pctcbusinesscommunication.blogspot.com/2014/12/1.html 2. การตดิ ตอ่ สอ่ื สารทางอินเทอรเ์ นต็ อินเทอรเ์ น็ต (Internet) นัน้ ยอ่ มาจากคาวา่ International network หรอื Inter Connection network หมายถึง เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ขนาดใหญท่ เี่ ช่อื มโยงเครือข่ายระบบคอมพิวเตอร์ทว่ั โลกเขา้ ไวด้ ว้ ยกัน โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคมเปน็ ตวั เช่อื มโยงดว้ ย TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) เดยี วกันเปน็ ข้อกาหนด เพือ่ ให้เกิดการสื่อสารและการแลกเปลยี่ นขอ้ มูลรว่ มกนั วธิ ีการติดต่อสือ่ สาร ระหวา่ งคอมพิวเตอรใ์ นระบบเครอื ขา่ ยดว้ ยโปรโตคอลน้ีจะชว่ ยให้คอมพวิ เตอรท์ ี่มฮี าร์ดแวร์ทแ่ี ตกต่างกันสามารถ ติดต่อถึงกนั ได้ ประวตั อิ นิ เทอรเ์ น็ต เปน็ การศึกษาความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต ความคดิ เร่ืองเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ เครือขา่ ยเดยี วท่สี ามารถให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ตา่ งระบบกันสามารถส่อื สารกันไดน้ ้ันได้มกี ารพัฒนาผา่ นขน้ั ตอนหลาย ข้ันตอนด้วยกนั การหลอมรวมกนั ของการพฒั นาเหลา่ นัน้ ได้นาไปสเู่ ครอื ข่ายของเครอื ข่ายท้ังหลายท่รี จู้ ักกนั ในชื่อ ว่า อนิ เทอร์เน็ต การพฒั นาเหล่าน้ันมีทัง้ ในแง่การพฒั นาเทคโนโลยี และการรวมโครงสร้างพนื้ ฐานของเครอื ข่าย และระบบโทรคมนาคมท่ีมอี ยูเ่ ดมิ เข้าดว้ ยกนั ความคดิ เร่ืองนี้ในคร้งั แรก ๆ ปรากฏขนึ้ ในปลายคริสต์ทศวรรษ 1950 หากแต่การนาแนวคดิ เหล่านไี้ ป ปฏบิ ตั ไิ ด้จริงน้ันเรม่ิ ขึ้นในปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 และ 1970 เมอ่ื ถึงครสิ ต์ทศวรรษ 1980 เทคโนโลยซี ึ่งนบั ได้ ว่าเปน็ พืน้ ฐานของอนิ เทอรเ์ น็ตสมัยใหม่นัน้ ไดเ้ ร่ิมแพรห่ ลายออกไปทั่วโลก ในคริสต์ทศวรรษ 1990 การมาถึงของ เวิลด์ไวด์เวบ็ ได้ทาให้การใช้อินเทอร์เนต็ กลายเปน็ สิง่ ท่ีพบเห็นไดท้ วั่ ไป พ้นื ฐานการทางานของระบบอินเทอร์เนต็ การสอ่ื สารทางเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์น้ันเป็นการรบั -ส่งข้อมูลหรอื ทเ่ี รยี กวา่ การสือ่ สารข้อมลู ระหวา่ ง เครือ่ งคอมพิวเตอร์ดว้ ยกัน ซึง่ เครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ่เี ชอื่ มตอ่ และต้องการส่อื สารขอ้ มูลกับเครอ่ื งคอมพิวเตอรอ์ ่ืนๆ ในเครอื ข่าย อาจจะมฮี าร์ดแวร์ ซอฟต์แวรท์ ่แี ตกต่างกนั ดงั น้นั เพือ่ ให้สามารถสอ่ื สารข้อมูลถึงกันและแปล ความหมายได้ตรงกัน จึงต้องมีการกาหนดระเบยี บวิธีการติดต่อให้ตรงกนั ซงึ่ เรียกวา่ โพรโทคอล (Protocol) โพรโทคอล คือ ระเบยี บวิธีทีก่ าหนดขึน้ สาหรับการสอ่ื สารข้อมูล โดยสามารถสง่ ข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ไปยงั ปลายทางได้อย่างถกู ต้อง โดยโพรโทคอลนนั้ มีหลายชนิด เชน่ โพรโทคอล IPX/SPX โพรโทคอล NetBEUI และโพรโทคอล Apple Talk ซึ่งออกแบบมาเพือ่ ใชง้ านตา่ งกัน ดงั นัน้ การสือ่ สารระบบอินเทอร์เนต็ ซงึ่ เปน็ การส่อื สารทางเครือข่ายคอมพิวเตอรจ์ ึงตอ้ งใช้ข้อตกลงโพรโทคอลเช่นเดยี วกันซึ่งโพรโทคอลท่ีนยิ มใชใ้ นการ สื่อสารทางอินเทอร์เนต็ ในปัจจุบัน เปน็ โพรโทคอลทีซไี อพี (TCP/IP : Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เปน็ หลกั จุดเด่นของโพรโทคอล ทีซีพไี อพี (TCP/IP) คอื เมื่อการเชื่อมต่อเครอื่ งคอมพวิ เตอร์หรืออุปการณ์ใดๆ เขา้ สู่

ระบบเครือข่ายทเ่ี ป็นทีซีพีไอพี (TCP/IP) นนั้ คอมพิวเตอร์ทกุ เครอื่ งหรอื อปุ กรณท์ ต่ี ดิ ต่อสือ่ สารรว่ มกันจะต้องมี หมายเลขทใี่ ช้ในระบบเครือข่ายกากับเสมอ เพ่ือระบุแหล่งที่มาของขอ้ มูลตน้ ทางและนาขอ้ มูลไปยงั เครือข่ายเคร่ือง ปลายทางท่ถี ูกตอ้ ง ดงั นั้น เครือ่ งคอมพิวเตอร์ทส่ี ื่อสารจะตอ้ งมีการระบหุ มายเลขขอเครอื่ งตา่ งๆทไ่ี มซ่ า้ กนั ไม่เช่นนั้นขอ้ มูลก็อาจจะไมถ่ งึ ทีห่ มายปลายทางได้ หมายเลขของเครอ่ื งหรืออุปกรณ์นี้เรียกวา่ ไอพี (IP) โดย หมายเลขกากบั ท่ีเป็นหมายไอพี จะเป็นเลขฐาน 2 ขนาด 32 บิต เลขแต่ละชุดจะถกู คนั่ ด้วยจุด ดังนนั้ เลขแต่ละ ชุดจงึ สามารถมคี ่าตง้ั แต่ 0-255จากหมายเลขไอพี ขนาด 32 บติ ทใี่ ชใ้ นปัจจุบัน เป็นไอพีเวอรช์ นั 4 สามารถใช้ อปุ กรณใ์ นการเชอ่ื มตอ่ สือ่ สารในระบบอนิ เทอร์เนต็ ไดม้ ากถงึ ส่พี นั ล้านเครอ่ื งโดยประมาณซง่ึ เปน็ จานวนที่มาก หมายมหาศาลจากในอดตี แต่ปัจจุบนั ความเจรญิ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมากข้ึน จึงทาใหห้ มายเลขไอพที ี่ใช้ใน ปจั จบุ นั เริ่มไม่เพยี งพอเนอ่ื งจากการขยายตัวของระบบเครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ตทีม่ ีจานวนเคร่อื งคอมพิวเตอร์และอุ กรณ์เพม่ิ ข้ึนอยา่ งรวดเร็ว จงึ ไดม้ ีการพัฒนาเป็นไอพีเวอร์ชัน 6 ซ่ึงกาหนดโดยมาตรฐานไอพีเวอร์ชนั 4 และ มาตรฐานไอพเี วอรช์ ัน 6 นี้จะใชร้ ะบบ128 บิต ในการระบุหมายเลขไอพี ระบบโดเมนเนม (Domain Name System) เป็นการต้งั ชือ่ เป็นตวั อักษรเพือ่ ใชแ้ ทน IP Address ทาให้งา่ ยตอ่ การจดจา เช่นหมายเลข IP Address 203.146.15.9 แทนท่ดี ้วยโดเมนเนมชอื่ moe.go.th เรยี กการแทนที่ IP ด้วยโดเมนเนมว่า Name-to-IP Address Mapping ซงึ่ ชว่ ยให้สามารถเรยี กชื่อเว็บไซต์ไดส้ ะดวกข้นึ โดยไม่ตอ้ งจาตวั เลข กลไก Name-to-IP Address มีการ กาหนดฐานขอ้ มลู สว่ นกลางในการจัดการแก้ไขฐานข้อมูลให้ เพือ่ ปอ้ งกนั การตั้งช่ือซ้ากันการตงั้ ช่อื โดเมนเนม แบบเดิมเป็น แบบไมม่ ีลาดับช้ัน คอื ไม่สามารถแยกย่อยเปน็ ส่วน ๆ ได้ เรยี กวา่ Name Space ทาให้มีปญั หามาก เน่ืองจากฐานขอ้ มลู มีขนาดใหญ่ขน้ึ เรอ่ื ย ๆ ทาให้การคน้ หายาก จงึ ไดม้ ีการพัฒนาขอ้ มลู แบบ Name Space ใหม่ ให้เป็นแบบลาดับชัน้ (Hierarchical Structure) ที่เรียกวา่ Domain Name System (DNS) ซ่งึ เปน็ โครงสร้างทม่ี ี การบอกประเภทขององคก์ าร หรอื ชอ่ื ประเทศที่เครือข่ายต้ังอยู่ DomainName System (DNS) จึง หมายถึงระบบจดั การแปลงชื่อไปเปน็ หมายเลข IP โดยมีโครงสร้างฐานขอ้ มูลแบบลาดบั ชัน้ กลไกหลักของระบบ DNS ทาหนา้ ที่แปลงช่อื และหมายเลข IP Address หรือทากลบั กันได้ โดยระบบ DNSจะมกี ารกาหนด Name Space ทม่ี ีกฎเกณฑ์อยา่ งชัดเจน มีการเกบ็ ข้อมลู เปน็ ฐานข้อมูลแบบกระจาย และทางานในลักษณะไคลแอนด์ / เซริ ์ฟเวอร์ (Client / Server) โดยมี DNS Server ทาหน้าท่ีใหบ้ รกิ ารคน้ ชือ่ และแปลงข้อมูลให้ตามทีเ่ ครื่องลกู ขา่ ย (DNS Client) รอ้ งขอมา การทางานแบบไคลแอนด์ / เซริ ฟ์ เวอร์ (Client / Server) นท้ี าใหเ้ ครื่องคอมพวิ เตอร์ที่ทาหน้าท่ีเป็น DNS สามารถเปน็ ได้ทง้ั เครอ่ื งเซิร์ฟเวอร์ และไคลแอนด์ของ DNS ใน เครอ่ื งเดียวกัน การบรกิ ารบนอนิ เทอร์เนต็ 1. จดหมายอิเลคทรอนกิ ส์ (Electronic Mail) จดหมายอเิ ลคทรอนกิ สห์ รือทเ่ี รียกกันวา่ E-mailเปน็ การส่ือสารที่นยิ มใชก้ นั มากเนื่องจากผู้ใช้สามารถ ตดิ ต่อสื่อสารกบั บุคคลทตี่ อ้ งการได้รวดเร็ว ภายในระยะเวลาอนั สนั้ ไมว่ า่ จะอยู่ในทีท่ างานเดียวกันหรืออย่หู ่างกัน คนละมมุ โลกกต็ ามนอกจากนยี้ งั สิน้ เปลอื งค่าใชจ้ ่ายนอ้ ยมาก องคป์ ระกอบของ e-mail address ประกอบด้วย 1. ชือ่ ผู้ใช้ (User name) 2. ชือ่ โดเมน Username@domain_name การใชง้ านอเี มล สามารถแบง่ ไดด้ ังนี้ คอื

1. Corporate e-mail คอื อเี มล ทีห่ นว่ ยงานต่างๆสรา้ งข้นึ ใหก้ บั พนักงานหรือบุคลากรในองคก์ รนน้ั เช่น [email protected] คอื e-mail ของนักศกึ ษาของสถาบนั ราชภฏั สวนดุสิต เปน็ ตน้ 2. Free e-mail คอื อีเมล ท่ีสามารถสมคั รได้ฟรตี าม web mail ตา่ งๆ เชน่ Hotmail, Yahoo Mail, Thai Mail และ Chaiyo Mail 2. การสืบคน้ ขอ้ มลู แบบเครอื ขา่ ยใยแมงมุม (Wold Wide Web : WWW) เปน็ การสื่อสารที่เตบิ โตเรว็ ท่สี ดุ ในอินเตอรเ์ นต็ ด้วยเหตผุ ลท่ีสาคญั คอื งา่ ยตอ่ การใช้งานและสามารถ นาเสนอข้อมลู กราฟกิ ได้ การใช้ World Wide Web เปรียบเสมือนการเข้าไปอา่ นหนังสอื ในห้องสมุดโดยหนงั สอื ที่ มีใหอ้ า่ นจะสมบรู ณม์ ากกวา่ หนังสอื ท่ัวไป เพราะสามารถฟงั เสยี งและดภู าพเคลอ่ื นไหวประกอบได้ นอกจากน้ียัง สามารถโต้ตอบกบั ผ้อู ่านได้ดว้ ย ลักษณะเด่นอกี ประการหนง่ึ คือข้อมลู ตา่ ง ๆ จะมกี ารเชอ่ื มโยงถึงกันไดด้ ว้ ย คณุ สมบตั ขิ อง HyperText LinkWWW คืออะไร การใช้งานอนิ เตอร์เน็ตแบบ WWW (World Wide Web) เป็น เครอ่ื งมือในการให้บริการขอ้ มลู ข่าวสารบนอินเตอรเ์ น็ตท่ีใชไ้ ดง้ า่ ย สามารถชมได้ท้ังภาพน่ิง เสียง VDO แม้แต่ส่ง Pager หรือจะสั่งPizza ก็ได้ในปจั จบุ นั มโี ปรแกรมในลักษณะของ WWW อยหู่ ลายตวั และหลายเวอร์ชั่นมากมาย แตล่ ะตัวจะเหมาะกบั เครอื่ งคอมพวิ เตอรห์ ลากหลายชนิด โปรแกรมทีจ่ ะพาผ้ใู ชเ้ ขา้ ถงึ บรกิ ารในลักษณะของ WWW เรียกวา่ “บราวเซอร์” (Browser) ตามลักษณะของการใช้บริการดงั กล่าวทีด่ ูเสมือนการเปดิ หนงั สือดู ไปที ละหน้า เหมือนการใช้ Online Help น่นั เอง 3. การโอนยา้ ยข้อมลู (File Transfer Protocol : FTP) การโอนยา้ ยข้อมลู หรือทีน่ ยิ มเรยี กกันว่า FTP เป็นการสอื่ สารอีกรูปแบบหน่งึ ที่ใช้กนั มากพอสมควรใน อินเตอรเ์ น็ต โดยอาจใช้เพือ่ การถ่ายโอนขอ้ มลู รวมถงึ โปรแกรมต่าง ๆ ทัง้ ทเี่ ปน็ freeware sharewareจากแหลง่ ข้อมลู ทัง้ หลายมายังเครือ่ งคอมพวิ เตอร์สว่ นบคุ คลท่ีใช้งานอยู่ ปจั จุบันมหี น่วยงานหลายแห่งทกี่ าหนดให้ Server ของตนทาหน้าทเี่ ปน็ FTP site เก็บรวบรวมขอ้ มูลและโปรแกรมต่าง ๆ สาหรบั ให้บรกิ าร FTP ทีน่ ิยมใชก้ ันมาก ไดแ้ ก่WS_FTP, CuteFTP การโอนย้ายไฟลส์ ามารถแบง่ ได้ดังนี้ คือ 1. การดาวนโ์ หลดไฟล์ (Download File ) การดาวนโ์ หลดไฟล์ คอื การรบั ข้อมลู เข้ามายังเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ของ ผ้ใู ช้ ในปจั จบุ นั มีหลายเว็บไซตท์ ี่จัดให้มีการดาวนโ์ หลดโปรแกรมได้ฟรี เช่น http://www.download.com 2. การอัพโหลดไฟล์ (Upload File) การอพั โหลดไฟล์คอื การนาไฟล์ขอ้ มลู จากเครอ่ื งของผู้ใช้ไปเกบ็ ไวใ้ น เครือ่ งท่ีให้บริการ (Server) ผา่ นระบบอนิ เทอรเ์ น็ต เชน่ กรณีที่ทาการสร้างเว็บไซต์ จะมกี ารอัพโหลดไฟล์ไปเกบ็ ไว้ ในเคร่ืองบริการเวบ็ ไซต์ (Web server ) ที่ขอใช้บรกิ ารพื้นท่ี (web server) โปรแกรมท่ชี ่วยในการอัพโหลดไฟล์ เช่น FTP Commander 4. การแลกเปลี่ยนขา่ วสาร (USENET) การส่ือสารประเภทน้มี าที่มาจากกระดานประกาศข่าว หรอื Bulletin Board กลา่ วคือ ผทู้ มี่ ีความสนใจในเรือ่ ง เดยี วกัน จะรวมกล่มุ กนั ต้งั เป็นกลุ่มขา่ วของแตล่ ะประเภท เมอ่ื มขี ้อมลู ใหม่ที่จะเป็นประโยชน์ตอ่ สมาชกิ ผ้อู ืน่ หรือ มีปัญหาหรอื คาถามท่ีตอ้ งการความชว่ ยเหลอื หรอื คาตอบ ผ้นู ้นั ก็จะส่งขอ้ มูลของตนเข้าไปติดประกาศไว้ใน อินเตอร์เนต็ โดยเครื่องท่ที าหนา้ ท่ตี ิดประกาศ คือ News Server เมือ่ สมาชิกอ่นื อ่านพบ ถ้ามขี ้อมูลเพม่ิ เติมหรือมี บางอย่างไมถ่ ูกต้อง หรือมคี าตอบทีจ่ ะช่วยแก้ปัญหาให้ได้ สมาชกิ เหลา่ นน้ั กจ็ ะสง่ ขอ้ มลู ตอบกลบั ไปตดิ ประกาศไวเ้ ช่นกนั

5. การเขา้ ใช้เครอ่ื งระยะไกล (Telnet) Telnet เป็นการขอเข้าไปใช้เคร่อื งคอมพิวเตอรเ์ คร่อื งอ่ืน ที่เชอ่ื มต่อกับอินเตอร์เนต็ จากระยะไกล โดยผู้ใชไ้ ม่ จาเปน็ ตอ้ งไปน่งั อยู่หน้าเครอื่ ง เครอื่ งคอมพิวเตอร์ดังกลา่ วนี้อาจอย่ภู ายในสถานท่ีเดยี วกบั ผู้ใช้ หรอื อยหู่ า่ ง กันคนละทวปี ก็ได้ แต่ท้ังน้ีผใู้ ชต้ อ้ งมี account และรหัสผ่านจงึ จะสามารถเข้าใชเ้ คร่ืองดังกลา่ วไดสว่ นคาสั่งในการ ทางานนั้นขน้ึ อยู่กับระบบปฏิบัติการของเคร่อื งทเ่ี ข้าไปขอใช้ 6. การสนทนาผา่ นเครอื ขา่ ย (Talk หรือ Chat) เปน็ การติดต่อสื่อสารแบบ 2 ทาง คอื สามารถสือ่ สารโต้ต อบกันได้ทันทีเหมือนการใช้โทรศัพท์ ในการ สนทนาผา่ นเครือข่ายน้สี ามารถทาได้ทงั้ แบบ Text-based และ Voice-based โดยในระยะแรกจะจากัด เฉพาะ Text-based คือใช้วธิ ีการพมิ พ์เป็นขอ้ ความในการสอื่ สารโตต้ อบระหวา่ งกัน โปรแกรมท่นี ิยมใชค้ ือ Talk และ IRC (Internet Relay Chat) ตอ่ มาเมอื่ มีการพฒั นามากข้ึนทัง้ ดา้ น Hardware และ Softwareทาให้ปัจจบุ นั สามารถสทาอสารกนั ทาง Voice-based ได้ด้วย โปรแกรมท่ีใช้ในการสอื่ สารประเภทน้ี เชน่ NetMeeting ของ ไมโครซอฟต์ หรอื Inter Phone ของ Vocaltec ฯลฯ การเชอ่ื มต่ออนิ เทอร์เนตสามารถเชอ่ื มต่อได้สองลักษณะด้วยกนั ได้แก่ 1) การเช่อื มตอ่ โดยหมนุ โมเด็ม (Remote Access) และ 2) การเชอื่ มตอ่ แบบระบบ LAN การใช้งานจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-mail) ทาความรจู้ กั กับ อเี มล์ (E-mail) และวิธีการใช้งานในเบอื้ งต้น อีเมล์ (E-mail) หรอื Electronics Mail หรอื ไปรษณีย์อิเล็กทรอนกิ ส์ เป็นเครื่องมอื สาหรับติดตอ่ ส่ือสารระหว่างกันประเภทหนงึ่ คล้ายกบั การสง่ จดหมาย ผ่านทางไปรษณยี ์ แต่อเี มล์น้ีเป็นบริการท่ีสามารถทาการส่งขอ้ ความ ไฟลเ์ อกสารของคอมพวิ เตอร์ หรอื รูปภาพ ตา่ งๆ ไปยังผรู้ ับปลายทาง (ที่ใชบ้ รกิ ารอีเมล์) ได้ผา่ นทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จงึ ทาให้เพิ่มความสะดวกสบายได้ มากขน้ึ ประเภทของอีเมล์ทีใ่ ห้บรกิ ารฟรี เว็บไซตท์ ่ีให้บริการอเี มล์ทใ่ี ห้บรกิ ารฟรมี ีอยมู่ ากมาย แตถ่ ้าจะแยก ประเภทของการใชง้ าน สามารถแยกออกไดเ้ ป็น 2 แบบดังนี้ 1. Web Base Mail เชน่ อเี มล์ของ hotmail.com, yahoo.com, chaiyo.com หรือ email.in.th หาก ต้องการใช้งานอเี มลเ์ หล่าน้ี จะต้องใช้งานโดยผ่านทางหน้าเวบ็ เพจเท่านน้ั ข้อดคี ือ สามารถใช้เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ เคร่อื งใดเปดิ อ่านอเี มล์นนั้ กไ็ ด้ โดยไม่ต้องทาการต้งั คา่ ต่างๆ ในเครอื่ งใหย้ งุ่ ยาก และไม่จาเป็นตอ้ งใช้โปรแกรมใน การอ่านหรือรบั ส่งอีเมลโ์ ดยเฉพาะอีกด้วย เพราะสามารถใช้โปรแกรมเบราเซอรท์ ีม่ อี ยู่ได้เลย ทาให้ไมเ่ ปลืองพน้ื ท่ี ของฮารด์ ดสิ กใ์ นการติดต้ังโปรแกรมเพ่ิมเตมิ แตข่ ้อเสียของ Web Base Mail คืออาจจะชา้ และเสียเวลานานใน การอ่านหรือรับสง่ อเี มลไ์ ดถ้ า้ ความเรว็ ของอนิ เทอรเ์ นต็ ไม่มากพอ 2. POP Mail เชน่ yahoo.com ซงึ่ เปน็ ผู้ใหบ้ ริการอเี มล์ ทม่ี ีบรกิ ารการอ่านอเี มล์แบบ POP Mail ดว้ ย ในกรณที เ่ี ลือกใชง้ านอเี มล์ท่เี ป็นแบบ POP Mail ผู้ใช้จะต้องทาการติดต้งั โปรแกรมสาหรบั รบั -สง่ อีเมลล์ งไปท่ี เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ดว้ ย เชน่ โปรแกรม Microsoft Outlook เพ่อื ใช้สาหรบั จดั การกบั อเี มล์ แต่ตอ้ งทาการตง้ั ค่า ต่างๆ ของโปรแกรมทใ่ี ชร้ บั -สง่ อีเมลก์ ่อนจึงจะใชง้ านได้ แต่การใช้ POP Mail จะสะดวกกวา่ การใชง้ านแบบ Web Base Mail ในกรณที ต่ี ้องการอ่านอเี มล์ของเกา่ เพราะเม่ือทาการเปิดโปรแกรมสาหรบั การอา่ นอีเมล์แลว้ โปรแกรมจะทาการดาวน์โหลดอีเมล์ทงั้ หมดมาเก็บไวใ้ นฮารด์ ดิสกข์ องเครอื่ งคอมพวิ เตอรก์ อ่ น ทาใหส้ ามารถอา่ น อีเมล์ไดแ้ ม้วา่ จะไมไ่ ดเ้ ช่อื มต่ออนิ เทอร์เน็ตแลว้ ก็ตาม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook