Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์

การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์

Published by tamcomed50, 2020-06-21 03:34:53

Description: การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ วิชาการเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ รหสั 20204 - 2107 (Programming Computer language) จุดประสงค์รายวิชา เพือ่ ให้ 2–2-3 1. เข้าใจเกยี่ วกบั หลักการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 2. สามารถวเิ คราะห์ และเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ 3. สามารถสร้างชุดคาส่ังตามข้นั ตอนการแกป้ ัญหา (Algorithm) 4. มีเจตคตแิ ละกจิ นิสยั ท่ีดีในการปฏิบัตงิ านคอมพวิ เตอรด์ ว้ ยความละเอียดรอบคอบ และถูกตอ้ ง สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรูเ้ ก่ียวกบั หลกั การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ 2. เขียนโปรแกรมภาษา ในงานธรุ กิจ คาอธิบายรายวิชา ศกึ ษาและปฏบิ ัติเกย่ี วกบั หลักการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของโปรแกรมภาษา คอมพิวเตอรก์ ารแก้ไขปัญหา (Algorithm) กระบวนการเขียนโปรแกรมคาส่งั ควบคุมการทางานของโปรแกรม และ การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ ทีเ่ ปดิ ใชไ้ ด้ในระบบปฏบิ ตั ิการทห่ี ลากหลาย

หลกั การพัฒนาการเขยี นโปรแกรม หลักการพัฒนาการเขียนโปรแกรม ขน้ั ตอนหรือวิธีการพฒั นาโปรแกรมประกอบด้วย 6 ข้ันตอน ดังนี้ 1.การวิเคราะหป์ ญั หา (Problem Analysis) คอื การวิเคราะห์ปัญหา ประกอบด้วยข้นั ตอนตา่ งๆ ดังนี้ 1.1 กาหนดวตั ถุประสงคข์ องงาน เพื่อพจิ ารณาวา่ โปรแกรมต้องทาการประมวลผลอะไรบ้าง1.2 พจิ ารณาข้อมูลนาเข้า เพือ่ ให้ทราบวา่ จะตอ้ งนาขอ้ มูลอะไรเข้าคอมพิวเตอร์ (Input) ข้อมลู มคี ุณสมบัตเิ ปน็ อย่างไร ตลอดจนถงึ ลกั ษณะและ รูปแบบของขอ้ มูลที่จะนาเขา้ 1.3 พจิ ารณาการประมวลผล (Process) เพ่อื ให้ทราบว่าโปรแกรมมีขน้ั ตอนการประมวลผลอยา่ งไรและมเี งอ่ื นไขการ ประมวลผลอะไรบา้ ง 1.4 พิจารณาขอ้ มูลนาออก (Output) เพอ่ื ให้ทราบว่ามีข้อมูลอะไรทจี่ ะแสดง ตลอดจนรปู แบบและสอื่ ท่ีจะใชใ้ นการ แสดงออก เช่น การแสดงออกทางจอภาพ การแสดงออกทางเคร่ืองพิมพ์ 2. การออกแบบโปรแกรม (Design) คอื การออกแบบขน้ั ตอนการทางานของโปรแกรมเปน็ ขัน้ ตอนทใ่ี ช้เปน็ แนวทางในการ ลงรหัสโปรแกรม อาจใช้เครอ่ื งมอื ต่างๆ ช่วยในการออกแบบ เชน่ คาสั่งจาลอง (Pseudo code) หรอื ผังงาน (Flow chart) การออกแบบโปรแกรมนน้ั ไมต่ อ้ งกงั วลกับรูปแบบคาสัง่ ภาษาคอมพวิ เตอร์ แตม่ ุง่ ความสนใจไปทลี่ าดบั ขั้นตอนในการ ประมวลผลของโปรแกรมเท่าน้ัน 3. การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming) คือ การเขียนโปรแกรมเป็นการนาเอาผลลัพธ์ของการ ออกแบบโปรแกรม มาเปล่ียนเปน็ โปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอรภ์ าษาใดภาษาหนึง่ ผ้เู ขียนโปรแกรมจะตอ้ งให้ความสนใจต่อ รูปแบบคาสงั่ และกฎเกณฑ์ของภาษาทใี่ ช้เพอ่ื ให้การประมวลผลเป็นไปตามผลลัพธ์ท่ีได้ออกแบบไว้ 4. การทดสอบและแกไ้ ขโปรแกรม (Testing) การทดสอบโปรแกรมเป็นการนาโปรแกรมท่ีลงรหัสแล้วเข้าคอมพวิ เตอร์ หรอื การตดิ ตั้งโปรแกรมเพื่อตรวจสอบการทางานของโปรแกรมวา่ ถกู ต้องหรอื ไม่ โปรแกรมทเี่ ขียนมี Error หรอื ไม่ หรือ ทางาน ไดต้ ามท่ตี อ้ งการหรือไม่ ถ้าพบว่ายงั ไม่ถกู ก็แกไ้ ขใหถ้ ูกตอ้ งต่อไป 5. การทาอกสารประกอบโปรแกรม (Documentation) การทาเอกสารประกอบโปรแกรม หรอื คูม่ ือการใชง้ านโปรแกรม เป็นงานที่สาคญั ของการพฒั นาโปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรมชว่ ยใหผ้ ใู้ ชโ้ ปรแกรมเขา้ ใจวตั ถุประสงค์ ขอ้ มลู ท่ีจะต้อง ใช้กบั โปรแกรม ตลอดจนผลลัพธท์ ี่จะได้จากโปรแกรมการทางานโปรแกรมทกุ โปรแกรมจงึ ควรตอ้ งทาเอกสาร 6. การบารุงรกั ษาโปรแกรม (Maintenance) ตอ้ งมีผ้คู อยควบคุมดแู ลและคอยตรวจสอบการทางาน การบารุงรักษา โปรแกรมจงึ เปน็ ขั้นตอนที่ผเู้ ขยี นโปรแกรมตอ้ งคอยเฝ้าดูและหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมในระหวา่ งทผ่ี ู้ใช้งานโปรแกรม และปรบั ปรงุ โปรแกรมเม่อื เกิดขอ้ ผิดพลาดข้ึน

รปู ขน้ั ตอนการพฒั นาโปรแกรม ความรู้เบื้องต้นเกยี่ วกับ Java ภาษา Java เป็นภาษาสาหรับเขยี นโปรแกรมท่ีสนบั สนุนการเขยี นโปรแกรมเชงิ วัตถุ (OOP : Object- Oriented Programming) โปรแกรมทเ่ี ขยี นข้ึนถูกสรา้ งภายในคลาส ดังนน้ั คลาสคือท่เี ก็บเมธอด (Method) หรือ พฤติกรรม (Behavior) ซง่ึ มีสถานะ (State) และรูปพรรณ (Identity) ประจาพฤติกรรม (Behavior) สาหรบั การ เขยี นโปรแกรมภาษาจาวา มอี งค์ประกอบต่างๆ ท่ีควรรูด้ ังน้ี การเปรยี บเทียบภาษาคอมพวิ เตอร์สมยั กอ่ นกับภาษาจาวา ในการเขียนโปรแกรมภาคอมพิวเตอรใ์ นสมัยกอ่ นมีข้อจากัดมากมาย อีกทง้ั เครื่องคอมพวิ เตอร์ก็มีราคาสูง ดังนัน้ การจะเลอื กภาษาคอมพิวเตอร์ภาใดภาษาหน่งึ เพอ่ื นามาใชง้ านจึงมคี วามสาคญั เป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม ภาษาคอมพวิ เตอรส์ มยั ก่อนกับสมยั ก่อนกับภาจาวากม็ ีความแตกต่างกนั ซงึ่ พอจะจาแนกได้ดงั นี้ 1.1 ภาษาคอมพิวเตอรส์ มัยก่อนแปล Source Code เปน็ ภาษาเครื่องเม่อื มีการเปลีย่ น Chip จะตอ้ ง Compile โปรแกรมใหมท่ าให้ความน่าเช่อื ถอื ของโปรแกรมลงลง 1.2 ภาษาจาวาแปล Source Code เปน็ ภาษาเคร่ืองที่ไม่ขึ้นกบั Platform คาสงั่ น้นั จะถูกแปลอีกคร้งั ในชว่ ง Run-time โดย Java Virtual Machine (JVM) ทางานในลกั ษณะ Interpret สามารถจาลองสภาพแวดลอ้ มบน อุปกรณ์ที่เขยี นได้ เชน่ จาลองเคร่ืองโทรศัพทบ์ นเคร่อื งคอมพิวเตอร์เพอื่ ทดสอบการทางานของโปรแกรมเปน็ ภาษา ที่เหมาะกับงานอนิ เทอรเ์ นต็ และงานโปรแกรมทัว่ ไป

เทคโนโลยีจาวา (Java Technology) จาวาเป็นภาษาคอมพวิ เตอร์ภาหนงึ่ ทีม่ ีการพัฒนาตง้ั แตป่ ี พ.ศ.2534 (ค.ศ.1991) โดยเป็นสว่ นหนึง่ ของ โครงการกรนี (the Green Project) และสาเรจ็ ออกสสู่ าธารณะในปี พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) และได้มกี ารจดั กลุ่มการทางานออกเป็น 3 กลุ่ม ไดแ้ ก่ 1. J2SE (Standard Edition) สาหรับใช้เขียนโปรแกรมบนเครอื่ งคอมพิวเตอร์สว่ นบุคคล (Personal Computer : Pc) และเครอ่ื งสถานงี านวศิ วกรรม (Work Station) 2. J2EE (Enterprise Edition) สาหรับทางานบนเครอ่ื งแม่ข่าย (Server) และรองรับการทางานของเซริ ์ฟเลต (Servlets) เจเอสพี (JSP) และเอกซเ์ อ็มแอล (XML) 3. J2ME (Micro Edition) สาหรบั เขยี นโปรแกรมบนอุปกรณ์ไรส้ ายทีม่ ีหน่วยความจาจากดั เช่น โทรศัพทม์ อื ถอื , เคร่ืองปาลม์ , หรอื เครอื่ งพดี ีเอ ซึ่งการเริ่มศกึ ษาภาษาจาวาน้ันแนะนาให้เริม่ จาก J2SE จากน้ันกจ็ ะสามารถเรยี นรู้ J2EE และ J2ME ได้ไม่ยากนกั นอกจากน้ีการเลือกเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษาจาวายังมคี วามสอดคลอ้ งกบั แนว ทางการพฒั นาซอฟต์แวร์ในปัจจุบนั อกี ดว้ ย องคป์ ระกอบเทคโนโลยีจาวา องคป์ ระกอบหลกั แบง่ เปน็ 3 สว่ น ดังนี้ 1.Java Virtual Machine (JVM) เป็นส่วนทที่ าหน้าที่เปน็ ตัวอินเตอรพ์ รเี ตอร์ (interpreter) คอื จะต้องทาการ แปลจาวาไบต์โค้ด ให้เป็นภาทเ่ี คร่ืองเขา้ ใจ จาวาไบต์โคด้ สามารถรันไดห้ ลายแพลตฟอร์มถ้าแพลตฟอรม์ น้ันมี JVM 2.Java Runtime Environment (JRE) เปน็ ส่วนท่ีใช้ในการรนั โปรแกรมภาษาจาวาโดยจะทางาน 3 ข้ันตอน ดังนี้ โหลดไบต์โค้ดโดยใช้ Class loader คอื การโหลดคลาสทุกคลาสท่เี ก่ียวข้องในการรนั โปรแกรม ตรวจสอบไบต์โค้ด โดยใช้ Bytecode Verifier คอื การตรวจสอบวา่ โปรแกรมจะตอ้ งไม่มีคาสั่งท่ที าให้เกิดความผดิ พลาดกับระบบ เชน่ การแปลงขอ้ มูลท่ีผิดพลาด หรอื มกี ารแทรกแซงเข้าสู่ระบบภายใน เปน็ ตน้ รันไบต์โค้ด โดยใช้ Runtime Interpreter 3.Java2 Software Developer Kit (J2SDK) เปน็ ชดุ พัฒนาโปรแกรมภาษาจาวา ประกอบไปด้วยโปนแกรม ต่างๆ แตไ่ ม่มีโปรแกรม Editor รวมอย่ดู ว้ ย เชน่ -โปรแกรมคอมไพเลอร์ -โปรแกรมอินเตอร์พรีเตอร์ เปน็ การรบั และแสดงผลข้อมลู ในโหมดกราฟกิ ด้วย Swing โดยการใช้ Dialog Boxes สาหรบั รบั คา่ ข้อมลู และแสดงผลข้อมลู ที่เรยี กวา่ Graphical User Interface (GUI) อย่ใู นคลาสทีช่ ่อื ว่า J0ptionPane ซง่ึ คลาสน้ีอยู่ ในเพ็กเกจ (Package) ท่ชี อ่ื วา่ javax.swing.*; จุดเด่น-จุดดอ้ ยของภาษาจาวา ภาษาคอมพวิ เตอรแ์ ต่ละภาษา มีจุดเดน่ จุดด้อยแตกตา่ งกัน ดังนน้ั ในหวั ขอ้ นี้จะศกึ ษาถึงจุดเด่น-จดุ ด้อย ของภาษาจาวา เพอื่ นาไปใชใ้ นการพฒั นาโปรแกรมใหเ้ หมาะสมตอ่ ไป

จุดเด่นของภาษาจาวา Simple : ภาษาจาวาง่ายในการเขียนโปรแกรม คือ ไม่มพี อยนเ์ ตอร์ มกี ลไกในการจดั การหนว่ ยความจา ให้อัตโนมัติ Portable : ข้อกาหนดของภาษาจาวาไม่ขึ้นกบั ระบบปฏิบตั กิ าร สามารถนาไปทางานไดบ้ น ระบบปฏิบัติการอืน่ ๆ ได้ คณุ สมบตั นิ เ้ี รยี กว่า Write Once Run Anywhere Object Oriented Programming : เป็นภาษาท่ีออกแบบมาเพอื่ ใช้ในการเขียนโปรแกรมเชิงวตั ถุ เชน่ การสบื ทอดคุณสมบตั ิ การซอ่ นรายละเอยี ด และการใชง้ านไดห้ ลายรปู แบบ เปน็ ตน้ Dynamic : ออกแบบมาเพ่ือสามารถปรบั เปลี่ยนหรือเพม่ิ เติมไลบารตี ่างๆ ไดง้ า่ ย Multithread : สามารถทางานไดห้ ลายๆ งานพรอ้ มกัน Code Security : ตรวจสอบจาวาไบตโ์ ค้ด วา่ โปรแกรมถกู ตอ้ งตามข้อกาหนดหรือไม่ โดยมกี ารตรวจสอบ ความผดิ พลาดท่ีอาจเกิดขน้ึ ในกระบวนการตา่ งๆ อาทิ เชน่ การคอมไพล์ และการรนั โปรแกรม จดุ ด้อยของภาษาจาวา -ทางานได้ชา้ กว่า native code (โปรแกรมท่ี compile ใหอ้ ยู่ในรปู ของภาษาเครือ่ ง) หรอื ปรแกรมที่เขียน ข้ึนด้วยภาษาอื่น เชน่ C หรือ C++ ทั้งนี้กเ็ พราะวา่ โปรแกรมท่ีเขยี นขึน้ ดว้ ยภาษาจาวาจะถกู แปลงเปน็ ภากลางกอ่ น แล้วเม่อื โปรแกรมทางานคาสัง่ ของภาษากลางนจี้ ะถูกเปลีย่ นเป็นภาษาเครอื่ งอีกทีหน่งึ ทลี ะคาส่ัง (หรือกลมุ่ ของ คาส่งั ) ณ runtime ทาให้ทางานช้ากว่า native code ซง่ึ อยู่ในรูปของภาษาเครอ่ื งแล้วตั้งแต่ Compile โปรแกรม ทีต่ ้องการความเร็วในการทางานจงึ ไม่นยิ มเขียนดว้ ยจาวา -tool ท่ีมกี ารใช้พฒั นาโปรแกรมจาวามกั ไม่คอ่ ยเก่ง ทาใหห้ ลายอยา่ งโปรแกรมเมอร์จะต้องเปน็ คนทาเอง ทาใหต้ อ้ งเสยี เวลาทางานในส่วนที่ tool ทาไม่ได้ ถา้ เราดู tool ของ MS จะใชง้ านไดง้ า่ ยกว่า และพฒั นาได้เร็วกวา่ (แต่เราต้องซ้อื tool ของ MS และก็ต้องรนั บน platform ของ MS) การทางานของภาษา Java เม่ือมีการเขียนโปรแกรมภาษาจาวาและตอ้ งการทดสอบการทางานของโปรแกรม โปรแกรมจาวาจะมกี ารเปล่ียนคาส่งั ทง้ั หมดเป็น Bytecode ซงึ่ สามารถนาไปใชง้ านบนอปุ กรณ์ใดก็ไดท้ ่ีมสี ภาวะแวดล้อมที่เหมาะกับการทางานของภาษาจาวา ดังภาพ

จากภาพเมอ่ื มีการเขยี นคาส่ัง คาส่ังทง้ั หมดจะถกู เปลยี่ นเปน็ Bytecode ด้วย Java runtime ซ่งึ Bytecode สามารถ นาไปประมวลผลและทางานบนเคร่อื งท่มี ีระบบปฏิบตั ิการอ่ืนได้ เช่น Unix, PC, Macintosh ตลอดจนอปุ กรณม์ อื ถอื ตา่ งๆ ท่ีมีสภาวะแวดล้อมท่ีเหมาะสมกับการทางานของภาษาจาวาทเี่ รียกวา่ Java Runtime Environment (JRE,Java Runtime)

หลกั การวิเคราะหง์ าน เพอื่ เขยี นโปรแกรม จงวเิ คราะหง์ าน เพ่ือเขียนโปรแกรมคานวณการแปลงค่า เวลาชั่วโมงเปน็ นาทโ่ี ดยทผี่ ้ใู ช้ โปรแกรมปอ้ นเวลาชั่วโมง เข้าไปในโปรแกรม แล้วแสดงผลเปน็ นาที 1.วัตถปุ ระสงค์ของการเขยี นโปรแกรม เพอื่ คานวณการแปลงค่า เวลาชั่วโมงเป็น นาที่โดยท่ีผ้ใู ชโ้ ปรแกรมป้อนเวลาช่วั โมง เข้าไปในโปรแกรม แลว้ แสดงผลเป็นนาที 2.รูปแบบผลลพั ธท์ ตี่ ้องการ *** Input *** Enter your number of time : …. 3.ขอ้ มลู นาเข้า *** Output *** Time of minute is …… จานวนที่เปน็ ตัวเลขท่เี ป็นช่ัวโมง (time) 4.ตัวแปลทตี่ ้งั ขน้ึ เพอื่ ใช้ในโปรแกรม time_ho = ตวั แปลทใ่ี ช้เกบ็ คา่ เวลาชวั่ โมงเป็นจานวนเตม็ time_mi = ตัวแปลที่ใชเ้ กบ็ คา่ เวลานาทเี ป็นจานวนเต็ม โดยการคานวณตามสูตร

time_mi = time_ho*60 5.ข้นั ตอนการทางานของโปรแกรม 5.1 เร่มิ ต้นทางาน 5.2 รบั ขอ้ มลู เวลาเปน็ ช่ัวโมง 5.3 คานวณเวลาตามสูตรทก่ี าหนด 5.4พิมพ์ขอ้ ความแสดงผลเวลาเป็นนาที ที่คานวณไดต้ ามสูตร 5.5 จบการทางาน อัลกอรทิ ึมด้วยรหัสเทยี ม (Pseudo code) Input คือ คา่ เวลาทีเ่ ปน็ ชั่วโมง Process คือ คา่ เวลาทีเ่ ปน็ ชวั่ โมง * 60 Output คอื คา่ เวลาที่เป็นนาที COMPUTE _Time BEGIN INIT time_ho, time_mi : INTERGER READ time_ho time_mi = time_ho*60 Print time_mi END flowchart

การเขียนโปรแกรมแบบมีโครงสรา้ งหรอื การเขียนโปรแกรมโครงสรา้ ง คือ การกาหนดขัน้ ตอนใหเ้ ครือ่ งคอมพวิ เตอรท์ างาน โดยมี โครงสรา้ งการควบคมุ พ้นื ฐาน 3 หลักการ ไดแ้ ก่ การทางานแบบตามลาดับ(Sequence) การเลือกกระทาตามเงอ่ื นไข (Decision) และ การทาซ้า (Loop) ดงั นี้ 1. การทางานแบบตามลาดบั (Sequence) คือการเขียนให้การทางานจากบนลงล่าง เขยี นคาสั่งเป็นบรรทดั และทาทลี ะบรรทัด จากบรรทัดบนสดุ ลงไปจนถึงบรรทดั ลา่ งสดุ สมมตุ ิใหม้ ีการทางาน 3 กระบวนการ ไดแ้ ก่ อ่านขอ้ มลู คานวณ และพิมพ์ โดยเขียนเปน็ ผงั งาน(Flowchart) ไดด้ ังภาพ

ตวั อยา่ งเชน่ การไปซ้อื ของทต่ี ลาดและการหาคา่ พื้นทข่ี องวงกลม

2. การเลือกกระทาตามเงอ่ื นไข (Decision) คือการเขียนโปรแกรมเพือ่ นาค่าไปเลือกกระทา โดยปกตจิ ะมีเหตุการณ์ให้ทา 2 กระบวนการ ไดแ้ ก่ เงื่อนไขเป็นจริงจะทากระบวนการหน่ึง และเปน็ เทจ็ จะกระทากระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขนึ้ จะต้อง ใช้เงอื่ นไขหลายชั้น เช่น การตดั เกรดนักเรียน เป็นต้น ตัวอย่างผงั งานน้ีจะแสดงผลการเลือกอยา่ งง่าย เพอ่ื กระทากระบวนการเพียง กระบวนการเดียว ดังภาพ

ตวั อยา่ ง เชน่ การจา่ ยเงนิ คา่ สินคา้ ในรา้ นสะดวกซ้ือหรอื หา้ งสรรพสนิ คา้ และการคดิ อตั ราดอกเบี้ย 3. การทาซ้า (Repeation or Loop) คือการทากระบวนการหน่ึงหลายครัง้ โดยมเี งอ่ื นไขในการควบคมุ การทาซ้าเป็นหลักการ ทาความเข้าใจไดย้ ากกวา่ 2 รูปแบบแรก เพราะการเขียนโปรแกรมแตล่ ะภาษา จะไมแ่ สดงภาพอยา่ งชัดเจนเหมอื นการเขียนผงั งาน (Flowchart) ผเู้ ขียนโปรแกรมต้องจนิ ตนาการถึงรปู แบบการทางานและใชค้ าส่ังควบคุมดว้ ยตนเอง ตวั อย่างผงั งานที่นามาแสดงนี้เปน็ การแสดงการทาซ้า ซง่ึ หมายถึง การทาซา้ ในขณะทเ่ี ปน็ จริง และเลิกทาซ้าเมอ่ื เงอื่ นไขเป็นเท็จ ดังภาพ

ตวั อย่าง เชน่ การตกั น้าใหเ้ ตม็ ต่มุ และการตรวจสอบตวั เลข

***หมายเหตุ ผงั งาน(Flowchart) กาหนดขนึ้ โดย ANSI (The American National Standard Institute) เป็นสญั ลกั ษณม์ าตรฐานสากลเพื่อความสะดวกในการสอื่ ความหมายใหเ้ ขา้ ใจ ตรงกนั ผงั งาน(Flowchart) คอื รปู ภาพ หรือสัญลักษณท์ ่ีใชเ้ ขียนแทนขน้ั ตอน คาอธิบายข้อความหรือคาพดู ท่ีใช้ในการนาเสนอขันตอน ของการทางานใหเ้ ขา้ ใจตรงกันระหวา่ งผู้ทเ่ี กี่ยวข้อง

ค่มู ือการใช้งาน Eclipse เบ้อื งตน้ วิธีใช้ ECLIPSE เบื้องต้น Eclipse คือ IDE(Integrated Development Environment) หรอื Editorตวั หนึง่ ซึง่ ได้รบั ความนยิ มในการใชพ้ ัฒนาโปรแกรม Eclipseสนบั สนนุ การพัฒนาโปรแกรม ในหลายภาษา มี GUI ทด่ี แู ละเข้าใจง่าย นอกจากนี้ Eclipse ยงั สามารถdownload plugIn ต่างๆมาใช้งานรว่ มกบั ตวั Eclipse เองด้วย ยกตัวอย่างเช่น การใช้ Eclipse ในการพฒั นาโปรแกรมบน Android ก็จะมีสว่ น plugIn ให้ใช้รว่ มกับEclipse เลย ที่สาคญั ท่สี ดุ Eclipse เปน็ Freeware นั่นคือสามารถ download มาใช้ กันแบบฟรีๆไดเ้ ลยครับ กอ่ นเรม่ิ ใชง้ าน Eclipse กอ่ นทีจ่ ะเริม่ ใชง้ าน Eclipse แนน่ อนว่าจะต้องมีตวั โปรแกรม Eclipse โดยสามารถdownload ตวั โปรแกรม Eclipse ได้ ท่ี http://www.eclipse.org/downloads/ โดย Eclipse มีหลาย version เราสามารถเลือก download ไดต้ ามความเหมาะสมของโปรแกรมที่จะพฒั นาได้เลยครับ ขนาดของแต่ละ version ก็จะมีขนาดของ file แตกตา่ งกนั ไป เม่ือทาการ download มาแลว้ จะไดเ้ ปน็ .zip file ซงึ่ เราสามารถทาการ Extract fileไปยัง directory ทีต้องการจะทาการ install ไดเ้ ลย เมือ่ Extract file .zip แลว้ จะได้file ต่างๆดังภาพ

เราสามามารถเข้าโปรแกรม Eclipse โดยเข้าที่ file “eclipse.exe” ในทน่ี ้ีเราจะทาการพัฒนาโปรแกรมดว้ ยภาษา JAVA เพราะฉะน้นั จะตอ้ งทาการdownload ตัว JDK หรอื Java Development Kit เสยี ก่อน สามารถ downloadได้ ที่http://www.oracle.com/technetwork/java/javase/downloads/index.html เมื่อ download JDK แล้วก็ต้องทาการ Set class path เพอื่ ให้สามารถ Compileและ Run Java ได้ โดยวิธีทาสามารถติดตามได้จาก Link ด้านล่างเลยครบั http://archive.oracle.in.th/2008/02/set-path-class-path-j2se-dos.htmlหรอื http://www.dominixz.com/blog/software-tips/set-java-to-compile-and-run-all-places-in-dos/

เริม่ ใชง้ าน Eclipse เม่ือกดเขา้ โปรแกรมแลว้ จะมหี น้าตา่ งข้ึนมาถาม workspace ที่จะให้ Eclipse ใช้พืน้ ทใี่ นการทางาน เหมือนเปน็ การ Set default พื้นท่ใี นการทางาน เราสามารถ กาหนดworkspace เองได้แล้วแตผ่ ใู้ ชง้ านครบั หนา้ จอหลักของ Eclipse จะแบ่งออกเปน็ 5 ส่วนใหญ่ๆดงั นค้ี รบั

เปน็ ส่วนของแถบเมนู และ Tool ตา่ งๆ เปน็ สว่ นทแี่ สดงและจดั การ Project ตา่ งๆ เหมือนเปน็ การ Browse ดู Projectหรอื File ตา่ งๆ เป็นสว่ นที่ใช้ในการเขียน Code เป็นสว่ นท่ีแสดงถงึ โครงสรา้ งหรอื สว่ นประกอบของ Class เช่น attribute method และดา้ นบนสดุ เปน็ สว่ นทใ่ี ชจ้ ัดการกับ plugIn ตา่ งๆ เป็นส่วนที่ใชใ้ นการแสดงผลการทางานต่าง เม่ือทาการ Run โปรแกรม และยังมสี ่วนของการ debug โปรแกรมดว้ ย เมอื่ รูจ้ กั หน้าตาหรอื GUI แบบครา่ วๆของ Eclipse กนั แลว้ ตอ่ ไปกม็ าลองเขยี นโปรแกรมง่ายกันครบั โดยเร่มิ จากการ New Project ใหมข่ ึ้นมา โดยการเลอื กที่ File >> New >> Java Project

จากนัน้ จะมหี น้าตา่ งใหก้ าหนดค่ารายละเอยี ดตา่ งๆของ Project โดยจะบังคบั ใหใ้ ส่ Project Name ในทนี่ ี้จะตงั้ ชื่อ Project วา่ EclipseTutorial เม่อื กาหนดค่า รายละเอยี ดต่างๆแลว้ กด Finish

เราจะได้ Project ทีช่ ือ่ ว่าEclipseTutorial ข้นึ มา แตเ่ ป็น Project ทว่ี ่างเปล่า เพราะฉะนัน้ เราจะทาการสรา้ งClass ที่ช่ือ MainClass ขึ้นมา โดยการคลกิ ขวาที่ Project แลว้ เลอื ก New >> Class ในการ New Classขึ้นมากจ็ ะสามารถตัง้ รายละเอียดตา่ งๆเกีย่ วกบั Classทีจ่ ะสร้างนัน้ ได้ เมอื่ กาหนดคา่ ตา่ งๆเรยี บรอ้ ยแล้วให้กด Finish เราจะได้ MainClass.class ขนึ้ มา ตอ่ ไปเราจะลองสร้าง class TestObj ขนึ้ มา เพอ่ื ลองใช้ Funtion บางอยา่ งของ Eclipse ครับ ภายใน class TestObj จะมี code ดังนค้ี รับ public class TestObj { private String firstName; private String lastName; public void showName() { System.out.println(\"THIS IS METHOD showName()\"); System.out.println(\"My name is \"+firstName+\" \"+lastName); } } Tip&Trick

ในการ code คาส่งั System.out.println(); นน้ั สามารถใชว้ ิธลี ัดโดยการพมิ พว์ ่าsysout แลว้ กด CTRL+SpaceBar ตัว Eclipse จะสรา้ งคาส่ังSystem.out.println(); ให้ทันที จะเห็นได้ว่า Attribute ใน Class TestObj เปน็ private ฉะนั้นกจ็ ะตอ้ งมี Getter and Setter เราสามารถทีจ่ ะส่งั ให้ Eclipse สรา้ ง Getter and Setter จาก Attribute ทมี่ ีอยไู่ ด้โดยการคลกิ ขวาท่หี นา้ จอท่ใี ชเ้ ขยี น code แล้วเลอื ก Source >> Generate Getters and Setters.. หน้าตา่ งสาหรบั การ Generate Getters and Setters จะข้ึนมา ใหเ้ ราทาการเลือกว่าจะสรา้ งGetters and Setters ให้กบั Attribute ใดบา้ ง และยังสามารถปรบั รายละเอยี ดต่างๆไดเ้ ล็กนอ้ ย เมอ่ื เลอื กเสร็จเรยี บรอ้ ยใหก้ ด OK เราจะได้ code ของ class TestObj ดังน้ี public class TestObj { private String firstName; private String lastName;

public void showName() { System.out.println(\"THIS IS METHOD showName()\"); System.out.println(\"My name is \"+firstName+\" \"+lastName); } public String getFirstName() { return firstName; } public void setFirstName(String firstName) { this.firstName = firstName; } public String getLastName() { return lastName; } public void setLastName(String lastName) { this.lastName = lastName; } } นอกจากการ Generate Getters and Setters แลว้ เราสามารถคลกิ ขวาเพื่อดูFunction อืน่ ๆท่ี Eclipse สามารถช่วยจดั การให้การทางานของเราง่ายขึน้ ครบั เมอ่ื ได้ class TestObj แล้ว ต่อไปเราก็ทาการแกไ้ ข code ของ MainClass ใหเ้ ป็นดงั นี้ public class MainClass { public static void main(String[] args) { TestObj temp = new TestObj(); temp.setFirstName(\"Itthi\"); temp.setLastName(\"Kruenarongkul\"); temp.showName(); temp.setFirstName(\"Monthinee\"); temp.setLastName(\"Buntawee\"); temp.showName(); } } Tip&Trick ในการ code คาสงั่ ต่างๆ เราสามารถกด CTRL+SpaceBar เพือ่ เรยี กดูได้วา่ สามารถใช้ method หรอื เรียก Attribute ใดมาใช้ไดบ้ ้าง หรือบางที Eclipse ก็จะขนึ้ สว่ น นี้มาให้เอง

เมอื่ ทาการแกไ้ ข Code เสรจ็ เรยี บรอ้ ย เราจะลองทาการ Run โปรแกรมนี้ดู โดยการกดปมุ่ สเี ขียวทีอ่ ยดู่ ้านลา่ งแถบเมนู จะเห็นได้ว่า จะมีการเตือนให้ทาการ Save ก่อนทุกครง้ั ท่ีจะทาการ Run โปรแกรม หากต้องการ Save และทาการ Run ตอ่ ไปใหก้ ด OK แตถ่ า้ กด Cancel จะไม่ Save และไมท่ าการ Run โปรแกรม เมื่อ Run โปรแกรมแล้วให้ดูสว่ นดา้ นลา่ งทจ่ี ะแสดงผลในการ Run โปรแกรมน้ัน โปรแกรมท่ี 1 โปรแกรมท่ี 2

งานที่ 3 งานที่ 4

งาน 5 งาน 6

งาน 7 งาน 8

งาน 9 งาน 10

งาน 11

งาน 12



งาน 13

งาน 14


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook